ฺBahasa

            "ภาษามลายูเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มมลาโย - โพลลีเซียนเป็นกลุ่มย่อยของภาษาตระกูลออเคสตร้าเซียนภาษามลายูเป็นภาษาราชการและภาษาประจำชาติของมาเลเซียมาเลเซียและสิงคโปร์"
              รัฐธรรมนูญของประเทศมาเลเซียมีประชากรหลายเชื้อชาติที่จะเรียกใช้ภาษาประจำชาติว่าภาษามลายูเป็นภาษาของชนชาติมลายูจะดูไม่เป็นคนธรรมดาอีกต่อไปกลุ่มชนกลุ่มน้อยคือการพูดคุยกับชนกลุ่มน้อยและอื่น ๆ ภาษาอังกฤษ จึงขึ้นด้วยเหตุผลดังกล่าว
              ขณะที่อินโดนีเซียนเรียกภาษามลายูว่า ภาษาอินโดนีเซีย เพราะภาษาอินโดนีเซียนั้นเป็นภาษาใหม่ กำเนิดขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1945 มีรากฐานมาจากภาษามลายูเช่นเดียวกับภาษามาเลเซีย แต่ต่างกันที่สำเนียงการพุดและคำศัพท์บางคำ เนื่องจากอนโดนีเซียเคยเป็นอาณานิคมของดัตช์ ถึง 3 ศตวรรษ
             นากนี้ภาษาอินโดนีเซียยังได้รับอิทะิพลจากภาษาชวา ฮินดู บาลี อาหรับ อังกฤษ เปอร์เชีย ดปรตุเกสพัฒนาเรื่อยๆ มาจนมีการเปลี่ยนแปลงการสะกดคำที่ทันสมัยและง่ายขึ้นอย่างที่ใช้ในปัจจุบัน
             ส่วนบรูไนกับสิงคโปร์เรียกภาษามลายูว่า ภาษามลายุ ตามชื่อเดิม และใช้ภาษามลายูเป็นภาษาประจำชาติ แต่สิงคโปร์ยังมีภาษาประจำชาติอีก 3 ภาษา คือ อังกฤษ จีน และทมิฬ ด้วยความหลากหลายทางเชื้อชาติของประชากรในประเทศนั้นเอง
               โดยสรุปภาษามลายู ภาษามาเลเซีย และภาษาอินดดนีเซียก็คื อภาษามลายูที่ใช้เป้ฯภาษาประจำชาติในประเทศต่างๆ ดังกล่าวมาแล้ว ละยังเป้ฯภาษาหนึ่งที่พุดันในภาคใต้ของประเทศไทย โดยเฉพาะใน 5 จังหวัดภาคใต้ (สงขลาปัตตานีสตูลและนราธิวาส.) อีกด้วย แต่ส่วนใหญ่เป้นภาษามลายูมีรูปแบบต่าง ๆ จากภาษามลายูกลางที่ใช้ในประเทศ
 satapornbooks.co.th/SPBcommunity/novels_episode/4862/8/ ตอนที่ -8- ความเข้าใจเกี่ยวกับบาฮาซาและยาวี /
               ประวัติศาสตร์ความความสัมพันธุ์ระหว่างอาหรับกับมลายูพอจะหล่าวได้ว่า เริ่มตั้งแต่สมัยของการเข้ามาของศาสนาอิสลาม พระปรเมศวรในฐานะสุลต่านองค์แรกแห่งมะละกาที่ทรงรับศาสนาอิสลาม และได้ทรงเปลี่ยนพระนามเป็นสุลต่านมูฮัมหมัดชาห์ ซึ่งคำว่าสุลต่านเป็นช่อเรียกตำแหน่งพระมหากษัตริย์ที่ดั้งเดิมมาจากภาษาอาหรับ
              นับตั้งแต่ที่ศาสนาอิสลามเร่ิมเข้ามาสู่หมู่เกาะมลายู ภาาาอาหรัยกลับได้รับความสนใจ และภาษาอาหรับได้รับการตอบรับอย่างแพร่หลาย เป็นภาษาที่ใช้สำหรับการอ้างอิงที่สำคัญในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับศาสนาอิสลาม ในยุคของการเร่ิมต้นการจักตั้งดรงเรียน และดรงเรียนประจำ (ระบบปอเนาะ)โรงเรียนศาสนา-อาหรับ เมื่อต้นปี 1970 พบว่าภาษาอาหรัีบถูกใช้เป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการจัดทำหลักสูตรเกือบทุกดรงเรียน
              ตามทัศนะของเจแอนโทนีมองว่าการเข้ามาของพรรดาพ่อค้าวานิชชาวอาหรับในภูมภาคเอเดชียตะวันออกเฉียงใต้นั้นเข้ามาในฐานะผุ้เผยแพร่ศาสนาอิสลามทำให้คำในภาษาอาหรับได้แทรกซึมเข้าสู่ภาษา มลายูอย่างที่กำลังเป้นอยุ่ในวันนี้ซึ่งการเผชิญกันระหว่างสองภาษาและสองวัฒนธรรมที่แตกต่างกันนั้นได้ก่อให้เกิดพลวัตรทางวัฒนธรรมซึ่งโดยปกติแล้ววฒนธรรมที่มีความเจริ มีรสนิยมสูงกว่าวัฒนธรรมที่ยังไม่เติบโตเหมือนสังคมที่มีวัฒนธรรมที่เรียบง่ายต้องมีการปรับตัวด้วยความเต็มใจและวัฒนธรรมของสังคมที่มีความเจริญกว่า
             ภาษาอาหรับที่ผ่านการเขียนด้วยภาษาอาหรับได้ทำให้ภาษามลายูมีความย่ิงใหญ่ขึ้นไม่เพียง แต่เป็นภาาาประจำชาติของประเทศมาเลเซียเท่านั้น แต่ยังเป้ฯ ภาษาหลักของคในมู่เกาะมลายูกว่า 250 ล้านคนอีกด้วยดด ประเทศกัมพูชาและกัมพูชา
         
 การออกเสียงภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษในภาษาจีนกลางและภาษาละติน ในเรื่องนี้มีการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนเกี่ยวกับการจัดงานแถลงข่าวการจัดงานแถลงข่าว ีเซียในปี 1945 และในประเทศมาเลเซียในปี 1957
            ชาวมุสลิมส่วนใหญ่ในหมู่ชาวมาเลเซียที่อาศัยอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติและหมู่เกาะคุกได้รับการรับรองว่าเป็นผู้มีส่วนร่วมในการดำเนินการตามกฎหมายของประเทศพม่า ของประเทศในเช็กนี้จะมีพัฒนาการสูงโดยอิงจากสังคมปัจจุบันที่มีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้น ... pataniforum.com/single.php?id=562
             นักปราชญ์ชาวปัตตานีชื่อว่าคานอะฮ่ามัคอัลลอฟ - ฟะฎนีย์ได้วางระบบการใช้ข้อมูลอย่างเป็นทางการในการจดบันทึก เรื่องราวทางศาสนาและการสื่อสารต่างๆนักเรียนในโรงเรียนปรมาณูหรือโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในเขตพื้นที่ภาคใต้ "เด็ก ๆ ทุกคนคิดว่าการใช้ยาเสพติดและยาเสพติดในโรงพยาบาลมีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ชุมชนที่พุดภาษาไทยมลายูปัตตานีมาช้านานตัวอย่างเช่น
         อักษรไทย / อักษรยาวี / อักษรรูมี / คำอ่าน
         วันจันทร์   / نينثا         / Isnin       / อิสมิน
         วันอังคาร / ثالث        / Selasa     / ซลาซา เป็นต้น
         ตัวอย่างบทสนทนา
         อะฮาหมัด : สวัสดครับ เป็นอย่างไร้าง คุรลุงสบายดีไหม / อัซซาลามูอาลัยกุม อาปอกาบา เปาะจิ แซฮะ?
          ลุอาตัน : สวัสดี ก็สบายดี ขอบใจนะ แล้วคุณละ / วาลัยกุมมุซซาลาม กาบา บาเวาะ ลากุ เอะตือรีมอ กาเซะฮ อา มานอ?

          อะฮาหมัด : ผมก็สบายดีครับ / ขอบคุณครับ / ซายอ ยูเกาะ แวฮะ ตือรีมอกาเซะฮฺ...
          ตัวอย่างคำทักทายและกล่าวลา
          สวัสดี - ซลามะ / ฉัน- อามิ, ซายุอฺ อากู / มี - อาดอ
          สวัดีตอนเช้า - ซลามะ + ปาฆี / คุณ - แดมอ. อาเวาะ / ไม่มี - ตะเด๊าะ
          สวัสดีตอนเที่ยง  - ซลามะ + ตือเงาะฮารี / เรา - กีตอ / ขอพูดกับ - เนาะกาเจะดืองา
          สวัสดีตอนเย็น - ซลามะ + ปือแต / ฉันรักคุณ - ซายอกาเซะห์แดมอ / เรียวิชาอะไร - งายี มาดะกะปอ
          สวัสดีตอนค่ำ - ซลามะ + มาแล / ชื่ออะไร ? - นามออาปอ / เงิน - ดูวิ
          อัสสาลามูอลัยกุม เป็นทัีกทายแบบอิสลาม หมายถึง ของความสันติสุขหรือความสุข จงมีแด่ท่าน คนที่ได้ยินคำจะตอบรับว่า "วาอาลัยกุมมุสลาม" ซึ่งแปลว่า ขอความสันติสุข หรือความสุข จงมีแด่ท่านเช่นกัน"...
            http://lakmuangonline.com/?p=3422
     
       
        
          
                  -

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)