วันพฤหัสบดีที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Laos - Phutai Language group II

               คงจะไม่มีขาติพันธุ์ไทกลุ่มไหนที่มีความสับสนในการเรียกชื่อ ตลอดจนประวัติศาสตร์ของตนเองเหมือนผุ้ไท (ภูไท) ที่บริเวณสองฝั่งโขงบย่อยครั้งที่เข้าใจผิดว่าเป็นกลุ่มที่คล้ายคลึงกับไทที่เวียดนามเหนือและจีนตอนใต้ คำว่าผู้ไทมีสองความหมายชื่อชาติพันูะ์ของผุ้ไทและผุ้คนหรือคนไททั่วไป เนื่องจากที่ผ่านมามีนักเขียนหลาท่านใช้คำว่าผ "ผุ้ไท" ในการเรียกชื่อกลุ่มชาติพันธ์ต่างๆ เช่น กลุ่มตะวันตกเแียงใต้ ในเวียดนาม ได้แก่ "ผู้ไทดำ" ผู้ไทขาว" ผู้-ไทแดง" และกลุ่มกลางในจีนตอนใต้ เช่น "บู้ได่" ฯลฯ ว่าเป้นกลุ่มชาติพันูะ์เดียวกันหรือคล้ายๆ กันกับผุ้ไท ซึงสร้างความสับสนแก่ผุ้ศักษาภายหลัง ดังนั้นในบทความนี้จึงขออธิบายความหมาย ของผุ้ไท ซึ่งสร้างความสับสนแก่ผุ้ศึกษาภายหลัง ดังนั้นในบทความนี้จึงของอธบายความหมารยของผุ้ไท ซึ่งแบ่งเป้ฯ 2 ความหมาย คือ
              ความหมายแรก เป้นชื่อเแพาะของกลุ่มชาติพันู์สองกลุ่มที่ไม่มีความเกี้วข้องกัน ได้แก่ ผู้ไท ในภาคตะวันออเแียงเหนือของไทยและตอนกลางของสปป.ลาว และ สองเป้ฯทราบกันมานานกว่าร้อยปีแล้วว่ามีกลุ่มไท(ไต่) ต่างๆ ในบริวเณชายแดนเวียดนาม-จีน ที่เรียกตัวเองว่า "บู้ได่" เหล่านี่มีภาษา รประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ ศาสนา แตกต่างกันมากกับผุ้ไทบริเวณสองฝั่งโขชง ศึ่งต่อมา ปราณี กลุลวนิชย์ และธีระพันธ์? เหลืองทองคำ นักภาษาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ ได้ศึกษาเปรีบเทียบภาษาผุ้ไทสองฝั่งโขงกับภาษา "บุ้ได่" แล้วได้ข้อสรุปว่า ผุ้ไทและบู้ได่ เป้นคนละกลุ่มกัน และเขาได้เสนอว่า ผุ้ไทและบู้ได่น่่าจะแยกจากันมาประมาร 1,200 ปี แล้ว
             ความมหายที่สอง "ผู้ไท" คือผุ-ไท หมายถึง คน-ไท หรือผุ้คนของกลุ่มไทต่างๆ เช่น (ุ้-ไทดำ/ไตดำ" แทน "ผู้ไทดำ" เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนในการเรยกชื่อชาติพันธ์ุ ในปัจจุบันนี้นักวิชการรุ่นใหม่ใช้คำว่า "ไทดำ/ไตดำ" ถ้าหากถามตนไตดำ ไตขาว ไตแดง ฯลฯ "เจ้าเป้นผุ้ไทบ่อ" จะไ้รับคำตอว่า "แม่นอยู่ ข้อยเป้นผุ้ไท" จากการสำรวจภาคสนามของผุ้เขียนที่เมืองดซโปน สปป.ลาว ได้พบผุ้หญิงที่พุดสำเนียงผุ้ไทจึงถามเธว่า "เจ้าเป็นผุ้ไทบ่อ" ได้รับคำตอบว่า "แม่น" ครั้นถามต่อไว่า "ผุ้ไทคือคนเซโปนนี้บ่" (ผู้ไทเหมือนคนเซโปนหรือไม่) จะได้รับคำตอบว่า "บ่อข้อยเป็นไทแดง มาเอาผัวผุ้ไทอยู่พ้"  เธอบอกว่าภาษาของเธอแตกต่างจากผุ้ไทมาและไม่ได้นับถือศาสาพุทธแต่นับถือผี เธอยังบอกต่อีกว่า อยู่ที่เซโปนไม่ได้พุดภาษาไตแดงเพราะคนที่นี่ไม่เข้าใจนอกจากนี้ผุ้เขียนยังได้รับผระสบการณืเดียวกันเมื่อพบกับคนไตดำที่แขวงเซียงขวาง ทางตอนเหนือของสปป.ลาว และนักวิชาการท่านอื่นก้เกิดความสับสนเช่นกันเมื่อเขาสัมภาษณ์ ไทขาว ไทดำและลาวน้อย จาเวียดนามเหนือ
         
ภาษาผุ้ไท พบแค่บริเวณสองฝั่งโขงคือภาคอีสานของไทยและสปป. ลาวตอนกลาง บริเวณแขวงคำม่วนและแขวงสะหวันนะเขต ภาษาผุ้ไทนั้นอยุ่ในกลุ่มเดียวกันกับภาษาไทย ลาว แสก โย้ย ญ้อ พวนและภาษาอื่นๆ อีกเกือบร้อยภาษา ซึงอยุ่ในตระกุลไท-กได ถิ่นกำเนิดเดิมของภาษาตระกุลไท-กะได ราวๆ สามพันปีที่แล้วอยุ่ที่กวางสีและกวางตุ้งบริเวณจีนตอนใต้ คนที่ใช้ภาษาไท-กะไดนีน่าจะป็นผุ้วาดภาพเขียนสีที่ผาเขาฮัวซาน ในมณฑลกวางสี เมื่อประมาณ สีพันถึงสองพันสี่ร้อยปีี่แล้วและต่อมาน่าจะเป็นผุ้ผชิตกลองมโหระทึกในสมัยของ ไป่เย่ว์ ราวๆ สองพันปีที่แล้วในปัจจุบันนี้ยังพบภาษาไท-กะได ในบริวณจีนตอนใต้ลงไปจนจรดชายแดนลาว-เขมร ภาคใต้ของไทยและทางตอนเหนือของพม่าไปจนถึงรัฐอัสสัมทางตะวันออกของอินเดีย
            ภาษาผุ้ไทนั้นใกล้ชิดกับภาษาพวนและญ้อมากที่สุด ตัวอย่างเช่น "ไปสิเลอ" (ไปไหน) ภาษาพวน "ไปกะเลอ" และคำที่ใช้ใระใอไม้ม้วนในภาษาไทยภาษาพวนและผุ้ไทออกเสียง เออ เช่น "ส้งเม่อ" (กางเกงใหม่" น้ำเสอ" (น้ำใส) และ "ข" ผุ้ไทและพวนใช้ "ห" เช่น "แขน มะขาม " ฯลฯ ผุ้ไทและพวนออกสเียง "แหน มะหาม" ส่วนไทยและลาว ออกเสียง "แขน มะขาม" ทั้งภาษาพวน ญ้อและผุ้ไๆทจัดอยู่ในกลุ่มภาษาเดียวกันคือ กลุ้มธนิต (ดูคำอธิบายด้านล่าง)
            นอกจากนั้นยังมีข้อเสนอของ เจมส์ อาร์ ชามเบอเลียน นักภาษาศาสตร์ ได้แบ่งกลุ่มภาษาตระกุลไทในกลุ่มตะวันตกเแียงใต้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มสิถิล และกลุ่มธนิต ผุ้ไทอยุ่กลุ่มะนิต สวนไทดำอยุ่กล่มสิถิล และจากการศึกษาของ อรพันธ์ บวรรักษา เปรียบ เที่ยบภาษาผุ้ไท จังหวัดกาฬสินธุ์และภาษาลาวโซ่ง (ไทดำ) ที่ จังหวัดเพชรบุรี พบว่าข้อมูลการศึกษาสอดคล้องกัน ผุ้ศึกษาได้เสนอไว้อย่งน่ารับฟังว่า "ความแตกต่างระหว่างภาษาถ่ินต่างๆ และความแตกต่างจากภาษาที่มาจากภาษาดั้งเดิมเดียวกันเกิดขึ้นเพราะเวลาที่ผ่านไปและการอพยพเคลื่อนย้ายถ่ินฐาน ตลอดจนการติดต่อสัมพันธ์กับผุ้ใช้ภาษา"
           มีนักเขียนหลายท่านได้เสนอว่าผุ้ไทที่บริเวณต่อนกลางขอแม่น้ำดขงเป้นชาติพันธุ์เดียวกันกับไทดำ แต่ผุ้เขียนมีความเห้นขัอแย้ง เพราะนอกจากข้อมูลที่กล่าวข้างต้นแล้ว ยังพบว่าผุ้ไทและไทดำสื่อสารกันไม่รู้เรื่องนอกจากนั้นยังพบว่าไทดำนั้นมีภาษาเขียน แต่ผุ้ไทมไม่มี ระบบความเชื่อ การนับถือสษสนา ลักษณะของสถาปัตยกรรมการสร้างบ้านเรือน และการแต่าางกาย แตกต่างกันกับผุ้ไท
           คนผุ้ไๆทน่าจะอพยพมาจากสิบสองจุไททางภาคเหนือของเวียดนาม มาตั้งรกรากอยุ่ที่ลาวตอนกลางบริเวณที่ราบสุงนากายแขวงคำเกิด ราวๆ พันปีที่แล้ว ในปัจจุบันนี้คนผุ้ไทสองฝั่งดขงและคนไตต่าง ๆ ในสิบสองจุไท สามารถสื่อสารกันได้เพียงเล็กน้อยด้วยภาษาของตนเอง
          ในงานผุ้ไทนานาชาติที่ อ. เขาวง จ.กาฬสินธุ์ เมื่อต้นปี 2556 ที่ผ่านมา หลังการแสกงจบลงพิธีกรกลางได้ประกาศว่า "พวกเราเป้นผุ้ไทดำทั้งหมด" มีเด็กหยิงน่ารักคนกนึ่งถามผุ้เขียนว่า "หนูฟังเพลงของไทดำ ไทขาว ไทแดง จากเวียดนามไม่เข้าใตแต่ผุ้ไทจากลาวฟังเข้าใจดี ทำไมถึงบอกว่าเราเป้นผุ้ไทดำทั้งหมด" ผุ้เขียนยิ้มแล้วตอบไปว่า "คนไทจากเวียดนามเหนือ เป้นคนละกลุ่มกันกับผุ้ไทสองฝั่งโขง แต่เคยมีบรรพบุรุษที่มีความใกล้ชิดกันนอดีตเมื่อพันกว่าปีที่แล้ว แต่ผุ้ไทเหมืทอนเราพบแค่ทีภาคอีสานของไทยและในลาวตอนกลางเท่านั้น" ภายใต้รอยยิ้มนั้นผุ้เขียีนกลับเพิ่มความกังวลในใจมากย่ิงขึ้น "ในอนาคตคนรุ่นใหม่จะมีความเข้าใจชาติพันธุ์ของตนเองเป็นเช่นไร"sakonnakhonguide.com/index.php?name=knowledge&file=readknowledge&id=3#.WXnVvYTyjIU
            ภาษาไทยถิ่นอีสาน ภาษาท้องถิ่นภาคอีสาน ภาค อีสานเป็นเขตหรือภาคหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของไทย อยู่บนที่ราบสูงโคราช มีแม่น้ำโขงกั้นเขตทางตอนเหนือและตะวันออกของภาค ทางด้านใต้จรดชายแดนกัมพูชา ทางตะวันตกมีเทือกเขาเพชรบุรณืและเทือกเขาคงดงญาเย็นเป้นแนวกั้นแยกจากภาค เหนือและภาคกลางการเกษตรนับเป้นอาชีพหลักของภาค แต่ด้วยสภาพอากาศที่ร้อนและแห้งแล้ง รวมถึงปัจจับอื่นๆ ทางด้านสังคมเสรษบกิจ ทำให้มีผลผลิตที่น้อยกว่าภาคึอื่นๆ
         
ภาษาหลักของ ภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน แต่ภาษาไทยกลางก็นิยมใช้กันแพร่หลายโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมร ที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ยังมีภาษาถิ่นอื่นๆ เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทยโคราช เป็นต้น
           ภาคอีสานมีเอกลักษณ์ทงวัฒนาธรรมที่โดดเด่น เช่น อาหาร ภาษา ดนตรีหมอลำ และศิลปะการฟ้อนรำที่เรียกว่าเซิ้ง เป็นต้น ภาคอีสาน มีเนือที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ แสนเจ็หมื่น ตารางกิโลเมตร หรือมีเน้อที่หนึ่งในสามของ พื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทย มีเทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูหลวง และภูกระดึง เป้นต้นกำเนิดของแม่น้ำ เช่น ลำตะคอง แม่น้ำชี แม่น้ำพอง แม้น้อเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล
          ภาษาไทยถ่ินอีสาน เป็นภาษาไทยถ่ินที่ใช้พุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใกล้เคียงกับภาษาลาว ในอดีตเคยเขียนด้วยอักษรธรรมล้านช้างหรืออักษรไทยนอย ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรไทย มีพยํยชนะ 20 เสียง สระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 2-3 เสียง บางท้องถิ่นไม่มีเสียงสระเอือ
         ภาษา ถิ่นอีสาน หมายถึง ภาษาถ่ินที่มีคนส่วนมากใช้พุดจากันในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาษาถิ่นอีสาน นอกจากจะใช้พุดจากันในภาคตะวันออกเแียงเหนือแล้ว ยังมีการพูดจากันในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวอีกด้วย
          ฟังไกว ลี ได้แบ่งกลุ่มภาษาตระกุลไทย สาขาตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งประกอบด้วยภาษาในประเทศไทย ลาว อินเดีย และเวียนาม ภาษาตระกุลไทนั้น ใช่ว่าจะใช้เฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น ยังมีการใช้ภษาาตระกุลไท ในต่างประเทศอีกหลายแห่ง แต่ละแห่งก็ได้ชื่อว่า เป้ฯภาษาถิ่นไททั้งนั้น  เมื่อประมาณ 40 กว่าปีที่แล้วมา ท่านรองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ จากมณฑลยูนานกับคณะ ได้มาเยี่ยมวัิทยาลัยครุมหาสารคาม ท่านได้บรรยายต่อที่ประชุมอาจารย์ด้วยภาษาถ่ินไท มณฑลยูนนาน ท่าได้แสดงอักษรไทยยูนนาน ให้พวกเราได้ดูได้อ่่าน คณะครูอาจารย์ และนักศึกษาในสมัยนั้น ใามารถังและอ่านได้อย่างเข้าใจด้วย
            ภาษาถิ่นไทย ยูนนาน มีความลบะม้ายคล้ายเหมือนกับภาษาถิ่นอีสานมาก โดยเฉพาะคำศัพท์ต่างฟ สำหรับตัวอักษรยูนาน ก็คือ "อักษรไทลื้อ" นั่นเอง ลักษณะของอักษรไทลื้อ มีลักษณะใกล้เคียงกับอักษรไทยล้านนา และอักษรธรรมอีสานมาก กล่าวได้วา ผุ้ที่อ่านอักษรไทล้านนาและอ่านอักษรธรรมอีสานได้ ก็สามารถที่จะอ่านอักษรไทลื้อได้ เปฯที่น่าสังเกตว่า คนไทยสวนมากจะสามาถเข้าใมจกัน ด้วยภาษาต่างถิ่นได้ เนื่องจาก มีศัพม์ร่วมตระกุลกัน เช่น ชื่อที่เรียกเครือญาติกน พ่อ แม่ พี่ น้อง ศัพท์เกี่ยวกับร่างกาย มีเสียงปฎิภาค ของระบบเสียงพยัญชนะ และเสียงวรรณยุกต์ จะออกเสียงแตกต่างกันอย่างมีกฎเกณฑ์ และเงื่อนไข ระหว่างภาษาถ่ินด้วยกัน sakonnakhonguide.com/index.php?name=knowledge&file=readknowledge&id=3#.WXnVvYTyjIU
             
ภาษาพูดของคนอีสานในแต่ละท้องถิ่นนั้นจะมีสำเนียงที่แตกต่างกันออกไป ตามสภาพทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตติดต่อกับภิ่นใดรวมทั้งบรรพบุรุษของท้องถิ่นนั้นๆ ด้วย เช่น แถบจังหวัดศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ มีชายแดนติดกับเขชมร สำเนียงและรากเหง้าของภาษาก็จะมีคำของภาษาเขชมรปะปนอยฦุ่ด้วย ทางด้านจังหวัด สกลนคร นครพนม มุกดาหาร หมองคาย เลย ที่ติดกับประเทศลาวและมีชาวเวียดนามเข้ามาอาศยอยุ่ค่อนข้างมากกจะมีอีกสำเนียงหนึค่ง ชนเผ้าดั้งเดิมที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นๆ ก็จะมีสำเนียงที่มีเอกลักษณ์เป้นของตนเองและยังคงรักษาเอกลักษณ์นั้นไว้ ตราบจนปัจจุบัน เช่น ชาวภูิไทในจังหัดมุกดาหารและนครพนม
              ถึงแม้ชาวอีสานจะมีภาษาพูดที่มีความแตกต่างกันในแต่ละท้องถ่ิน แต่ในภาษาอีสานก็มีสิ่งหนึ่งที่ยังคงมีความคล้ายกันก็คือ ลักษระของคำและความหมายต่างๆ ที่ยังคงสื่อความถึงกันได้ทั่วทั้งภาค ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ชาวอีสานต่างท้องถิ่นกันสามารถสื่อสารกันได้เป็นอย่างดี
              ถ้าจะถามว่าภาษาถิ่นแท้จริงขงชาวอีสานใชกันอยู่ที่ใดคงจะตอบไม่ได้ เพราะภาษาที่จนในท้องถ่ินต่างๆ ใช้กันก็ล้วนเป็นภาษาอีสานทั้งนั้น ถึงแ้จะเป้นภาษาที่มีความแตกต่างกัน แต่ก็มีรากศัพท์ในการสื่อความหมายทีคล้ายคลึงกัน
              ในปัจจุบันชาวอีสานตามเมืองใหญ่ โดยเฉพาะเด็กวัยรุ่นได้หันมาใช้ภาษาไทยกลางกันมากขึ้น เพราะวัยรุ่นเหล่านี้ส่วนใหย่ได้รับการศึกษาที่ดีเที่ยบเท่ากับงคนในภาคกลางหรือกรุงเทพมหานคร ทำให้ภาษาอีสานเริ่มลดความสำคัญลง เช่นเดียวกันกับภาษาพื้นเมืองของภาคอื่นๆ แต่ผุ้คนตามชนบทและคนเฒ่าคนแก่ยังใช้ภาษาอีสานกันเป้ฯภาษาหลักอยุ่ ทั้งนี้คนอีสานส่วนใหญ่จะสามารถสื่อสารได้ทั้งภาษที่มา http://student.nu.ac.th/isannu/isanculture/language1.htm
อีสานของท้องถ่ินตนเองและภาษาไทยกลาง หากท่านเดินทางไปในชนบทของอีานจะพบการใช้ภาษาถ่ินที่แตกต่างกันไปดังกล่าวมาแล้ว แต่คนอีสานเหล่านี้ดดยเฉพาะวัยรุ่นหนุ่มสาวก็จะสามารถสื่อสารกับท่านเป้นภาษาไทยกลางได้อีกด้วยทั้งนี้เพราะวัยรุ่นชาวอีสานส่วนใหญ่จะเข้ามาหางานทำในกรุงเทพฯ และปรมณฑล เมื่อก่อนจะไปหางานทำเฉพาะหลังฤดูทำนา แต่ในปัจจุบันวัยรุ่นสวนใหญจะเข้ากรุงเทพฯ และทำงานที่นั่นตลอดทังปี ชาวอีสานที่ไปต่างถิ่นนอกจากจะหางานทำแล้ว ก็ยังมมีการเผยแพร่วัฒนธรรมรวมทั้งภาษาของตนเองไปในตัว จะเห้นได้จากในปัจจุบันชาวไทยจำนวนมากเร่ิมเข้าใจภาษาอีสาน ทั้งจากเพลงลูกทุ่งภาษาอีสานที่ได้รับความนิยมกันทั่วประเทศและจากคนรอบตัวที่เป้นคนอีสาน ทำให้ภาษาอีสานยังคงสาารถสืบสานต่อไปได้อยุถึงแม้จะมีคนอีสานบางกลุ่มเลิกใช้ - ที่มา http://student.nu.ac.th/isannu/isanculture/language1.htm
           

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...