เทือกเขาอัลไต |
มีรายงานตีพิมพ์เมื่อปี 2004 นักภาษาศาสตร์ตั้งสมมติฐานว่าภาษาไท-กะไดเร่ิมแรกกำเนิดจากภาษาออสโตนีเซียน ซึ่งผู้อพยพนำติดตัวจากไต้หวันไปถึงจีนแผ่นดินใหญ่ หลังจากนั้นภาาานี้ก็ด้รับอิทธิพลอบย่างมากจากภาษาพื้นเมืองต่างๆ ตั้งแต่ซิโน-ทิเบตัน, ม้ง -เมี่ยน จนถึงตระกูลภาษาอื่นๆ โดยรบคำศัพท์ฺเข้ามาจำนวนมากและค่อยๆ กลายโครงสร้างภาษามาคล้ายกัน ปัจจุบันเมื่อไม่นามมานี้กลุ่มคนบางกลุ่มที่พูดภาษาไทได้อพยพไปทงทิศใต้ผ่านเทือกเขาต่างๆ เข้าสู่เอชยตะวันอกเแียงใต้ อาจจะทันที่ดดยการถึงของชาวจีนฮั่นไปจีนตอนใต้
มรดกทางภาษาไม่ได้เชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับมรดกทางพันธุกรรมเนื่องจากการเปลี่ยนภาษาเมือประชากรต่างๆ เรียนรู้ภาษาใหม่ๆ ชาวไทมีแนวโน้มที่จะมีอัตราการปรากฎของ Y-DNA Haplogroup O2a สูงมากและอัตราการปรากฎของ O2a1และ O1 ปานกลาง อย่างไรก็ตามเชื่อว่า วาย ดีเอ็นเอ ฮาโพรกรุ๊ป โอวัน มีความสัมพันธ์กับทั้งผุ้ที่พูดภาษาออสโตนีเซียนและผุ้ที่พุดภาษาไท ความแพร่หลายของ วาย ดีเอนเอฯ ในหมู่ผู้ที่พูดภาษาออสโตนีเซยนแลฃะผุ้ที่พูดภาษาไทยังบ่งบอกถึงบรรพบุรุษร่วมกันกับผุ้ที่พุดภาษาซิโน-ทิเบตตัน, ออสโต-เอเซียติก และม้ง-เมี่ยนเมื่อประมาณ 35,000 ปีก่อนในจีน, วายดีเอนเอฯ ถูกพบด้วยอัตราการปรากฎสูงในหมูคนไทส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นคนลัุกาณที่คนไทมีร่วมกับกลุ่มชาติัพันธุ์ที่อาศัยใกล้เคียงนั่นคือผุ้ที่พูดภาษาออสโต-เอเซียติกในมณฑลยูนนานของจีนตอนใต้ วาย ดีเอนเอฯ โอวัน และโอทูเอ เป็นกลุ่มย่อยของ โอ ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของ เค อีกที่ซ่งเป้นการกลายพันธุ์ซึ่งเชื่อกันว่าได้เกิดขึ้นเือง สีหมื่นปีกอน ณ ที่ใดที่หนึ่งระหว่างอิหร่านกับจีนตอนกลาง
แสดงความหนาแน่นของ Y-DNA Haplogroup O2a |
การแบ่งกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได ทำได้หลายวิธี อาทิ
แบ่งตามวัฒนธรรม การแบ่งตามวัฒนธรรม เป็นการแบ่งตามหลักมานุษยวิทยา โดยใช้เกณฑ์ด้านวัฒนธรรมแลประเพณี ซึ่งสามารถแบ่งได้ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ไทน้อย ไทใหญ่ และไทยสยาม
ไทน้อย ตระกูลชาติพันู์ไทยน้อย หมายถึงกลุ่มชาติพันธ์ที่มีถิ่นฐานเดิม อยุ่บลริวณฝั่งตะวันออกเขงอแม่น้ำโขง ประกอบด้วยในลาว จนถึงลุ่มแม่น้ำดำแดง ในเวียดนาม แล้วเลบไปจนถึงตอนใต้ของจีนเอกลักษณ์ตระกูลชาติพันธุ์ไทน้อย คือ มการปลูกเรือนแบบบาวลึกเขาไป แลไม่มีการเล่นระดับที่ซับซื้อนมาก ในสถาปัตยกรรมชั้นสุงมีการประดับตกแต่งที่ค่อนข้างน้อย เน้นความอ่นอช้อยของศิลปะ แต่เสื้อผ้าอาจจะมีเครืองประดับมากกว่า โดยกลุ่ม ชาติพันธุ์ในตระกูลนี้ ได้แก่พวก ไทลาว ไทดำ ไทขา ไทแดง ไทพวน (ภาษาไทยมักจะเรียกว่าลาวพวน) ไทฮ่างตง ตูลาว หลี เจียมาว เกลาว ลาติ ลาคัว ลาฮา จาเบียว เบ ไทแสก (ลาวใช้ไทแซก) ลักเกีย คำ สุย มู่หล่าว เมาหนาน ไทญ้อ ภูไท ต้ง จ้วง คัง นุง โท้ เป็ฯต้น กลุ่มนี้เป้นกลุ่มที่มีความหลากหลายกว่าไทใหญ่ โดยเฉพาะด้านภาษา ซึงมีกลุ่มภาษาทั้ง 3 กลุ่ม รวมถึงภาษากะได ด้วย
ไทใหญ่ ตระกุลชาติพันู์ไทใหญ่ หมายถึงกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีถิ่นฐานดั้งเดิม อยู่บริเวณฝังตะวันตกของแม่น้ำโขง เลยไปถึงลุ่มน้ำสาละวิน อิระวดี และพรหมบุตร เอกลักษณ์ของตระกูลชาติพันธุ์ไทใหญ่ คือ มีระบบการปลูกบ้านสร้างเรือนที่ซับซ้อนกว่าไทน้อย โดยบ้านมักจะมีการกั้นห้องแบ่งระดับยกหลังคา ที่สลับซับซ้อนกว่า นอกจากนี้ในสถาปัตยกรรมชั้นสูง มักจะมีการประดับตกแต่างมากกว่าโดยกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกุลนี้ ได้แก่พวก ไทใหญ่ (ำทใหญ่เรียกตัวเองว่าไตหรือไตโหลง(ไทหลวง) ส่วนคำว่าไทใหญ่นั้นเป้นชื่อในภาษาไทยเท่านั้น ไม่ใช่ชื่อที่เขาเรียกตัวเอง) ไทเหนือ ไทขึ้น ไทลื้อ ไทยวน (ภาษาไทยแต่ก่อนเรียกว่าลาวยวนป อาหม อ่ายตน คำยัง คำตี่ พ่าเก นะเร จันหารี และตุรุง เป็นต้น
ภาษาไทน้อย |
แบ่งตามกลุ่มภาษา
กลุ่มภาษาไหล-เกยน หมายถึงผุ้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไหล และกลุ่มภาษาเกยัน ซึ่งประกอบด้วย หลี เจียมาว เกลาว ลาติ ลาติขาว จาเบียว ลาคัว และลาฮา เป็นต้น
กลุ่มภาษาลักเกีย-กัม-สุย หมายถึงผุ้ที่ใช้ภาษาอื่นๆ ในกลุ่มภาษกัม-ไท ยกเว้นภาษาไท ซึ่งประกอบด้วย เบ แสก ลักเกีย อ้ายจาม ต้ง คัง มู่หลาม เหมาหนาน และสุย เป็นต้น
กลุ่มภาษาไท หมายถึงกลุ่มชนที่ใช้ภาษาไท เช่น ไทดำ (ลาวโซ่ง) ไทยวน (ลาวยวน) ไทขาว ไทยสยาม ไทฮ่างตง ไทแดง ไทพวน (ลาวพวน) ตุลาว ไทลาว (ลาว) ไทญ้อ ผุ้ไท ไทยอีสาน (ลาว) อาหม อ่ายตน คำตี่ คำยัง พาเก ไทขึ้น ไทใหญ่ (ฉาน) ไทลื้อ ไทเหนือ ปายี ไทถาน ไทยอง ไทหย่า จ้วง นุง ต่าย (โท้) ตุรุง นาง และปูยี เป็นต้น
แบ่งตามประเทศในปัจจุบัน
ประเทศไทย ในประเทศไทย กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได โดยเฉพาะไทยสยาม เป็นประชากรหลักของประเทศ ซึงกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดประกอบด้วย ไทใหญ่ (ฉาน เงี้ยว) ไทลื้อ ไทขีน ไทยอง ไทย วน ไทดำ (ลาวโซ่ง) ไทยสยาม ภูไท (ญ้อ โย้ย) ไทพวน (ลาวพวน) ไทอีสาน (ไทลาว) ลาวแง้ว ไทแสก ลาวครั่ง ไทกลา ไทหยา ลาวตี้ ลาวเวียง ลาวหล่ม และคำตี่
ประเทศลาว ในประเทศลาวก็เช่นเดียวกันกับไทย ที่มีกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได เป็นประชากรกลุ่มหลักของประเทศ ประกอบด้วย ไทลาว ลาวตั้ ลาวเวียง (ภาษาลาวเรียกว่าไทเวียงและแค่เป้นคำสำหรับเรียกคนไทลาวที่มาจากเวียงจันทน์ ไม่ใช่ไทอีกหลุ่มหนึ่งอย่างแท้จริง) ลาวหล่ม ผุ้ไท ชาวไทขาว ชาวไทดำ (ลาวโซ่ง) ชาวไทแดง ชาวไทเหนือ ชาวผุ้เอิน ชาวไทยวน (ลาวยวน) ชาวไทลื้อ ชาวไทพวน (ลาวพวน) ชาวไทกะเลิง ชาวไทญ้อ และ ชาวไทแสก (ลาวใช้ไทแซก)
ประเทศจีน กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได ในประเทศจีน ถือเป็นกลุ่มชาวไท-กะได นอกประเทศไทย-ลาว ที่มีจำนวนมากที่สุด โดยมากอาศัยในมณฑลยูนนาน กวางสี กวางตุ้ง กุ้ยโจว และไหหลำ ประกอบด้วย ชาวจ้วง ไทใหญ่ ชาวหลี ชาวไทลื้อ ชาวไทปายี่ ชาวไทย้อย (จุงเจีย ตฺเยน ตฺเรน หรือไดออย) ชาวตุลา (ตฺเรน) ชาวปุลาจีน ชาวปูลฺงจี ชาวไทเหนือ(ไทนู้) ชาวไทลาย(ไทน้ำ) ชาวไทหย่า ชาวไทนุง ชาวไทไขหัว ชาวไทชอง ชาวไทเขิน ชาวไทลื้อ ชาต้ง (อ้ายก๊า ปู้ก๊า ผู้คำ) ชาวสุย ชาวมูหล่าว ชาวเมาหนาน ชาวเก๋าหล่าว ชาวไทเอวลาย ชาวผู้ใย่ ชาวโท้ ชาวไทหย่า ชาวอูเอ ชาวไซ ชาวเดาลาว ชาวอี้ ชาวเอน ชาวฟูมะ ชาวตุเชนชาวเปเมียว ชาวปาเชน (กลุ่มเลือดผสมจีนป และ ขาวมิงเกีย (กลุ่มเลือผสมจีน)
ประเทศพม่า กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได แบ่งออกเป็นสองสวน คือ ส่วนเหนือ และส่วนใต้ โดยส่วนใต้เป็นชาวไทยสยาม ที่อาศัยอยู่ในเขตตะนาวศรี โดยเฉพาะบริเวณชายแดน และจังหวัดเกาะสอง ซึงยังเป็นปัญหาไทยพลัดถิ่นอยู่ สำหรับส่วนเหนือ เป็นชาติไท-กะได กลุ่มอื่นๆ และไม่ได้มีปัญหาเรื่องชีวิตบนเส้นแบ่งเขตแดน โดยกลุ่มนี้ประกอบด้วย ชาวไทยใหญ่ ชาวไทลื้อ ชาวไทเขิน ชาวไทยอง ชาวไทเมา ชาวไทแลง ชาวไทคำตี่ ชาวไทพ่าเก ชาวไทยโยเดีย ชาวไทผิ่ว ชาวนะรา ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี
ประเทศเวียดนาม ส่วนมากอาศัยบริเวณลุ่มแม่นำ้ดำ-แดง ประกอบด้วย ชาวปูยี ชาวเกี๋ยน ชาวลาว ชาวไทลื้อ ชาวไทคำ ชาวไทขาว ชาวไทแดง ชาวไทนุง (ผู้นุง) ชาวไทใหญ่ (สานเชย์) ชาวถาย ชาวไทย ชาวม่าน ชาวโท้ ชาวเกลาว ชาวลาชิ ชาวละหา ชาวนาง ชาวไทญัง (ไส) ชาวไทไต่ ชาวไทชอง ชาวไทท้าวลาว ชาวไทลักกะ (ละเกีย) ชาวข่าลาว ชาวตูลาว ชาวควาเบียว (จาเบียว) ชาวโต๋ ชาวไทหล้า ชาวไทโส ชาวไทลา ชาวไทเชียง ชาวไทลาย ชาวไทฮ่างตง
ประเทศอินเดีย ชาวไทในอินเดีย ส่วนมากอาศัยในรัฐอัสสัม และอรุณาจัลประเทศ ได้แก่ ชาวไทอาหม ชาวไทพาเก่ ชาวไทคำตี ชาวไทอ่ายตน (ไทอ้ายตน อ้ายตอน) ชาวไทคำยัง ชาวไทตุรง ชาวนะรา และชาวไทจันหารี
นอกจากนี้ ในกัมพูชา และมาเลเซีย ยังมีกลุ่มชาติพันธู์ไท-กะได อาศัยอยู่ ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ก่อนตั้งแต่ก่อนการเสียดินแดน เช่น ในพระตะบอง เสียมราฐ ศรีโสภณ เกาะกง ไทรบุรี ประลิส กลันตัน และตรังกานู โดยกลุ่มนี้ประกอบด้วย ชาวลาว ไทยสยาม ไทยเกาะกง ไทยกลันตัน ไทย ประลิศ ไทยไทรบุรี ไทยเประ ไทยลังกาวี และยังมีชาว แซมแซม ซึงเป้ฯคนไทยผสมมลายู และนับถือศาสนอิสลาม อยุ่ทางตอนเหนือของมาเลเซีย และทางใต้ของไทยth.wikipedia.org/wiki/กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น