- นักภาษาศาสตร์เชื่อว่าภาษาตระกูลไท-กะได มีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลจีน-ทิเบต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ภาษาตระกูลไท-กะได เป็นตระกูลย่อยของภาษาตระกุลจีน-ทิเบต เนื่องจากข้อค้นพบที่ว่าคำในภาษาไทยและคำในภาษาจีนมีความใก้เคยงกันมาก จึงสันนิษฐานว่าภาาาไทยและภาษาจีนอาจมีต้นกำเนิดมาจากตระกูลภาษาเดียวกัน
- นักภาษาศาสตร์เชื่อว่าภาษาตระกูลไท-กะได มีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน โดยนักภาษาศาสตร์ที่ชื่อว่า พอล เค เบเนดิกต์ ให้ข้อคิดว่า ภาษาไทยและภาษาจีนไม่ได้มีความคล้ายคลึงเพราะมีเชื่อสายภาษาเดียวกันแต่ความคล้ายคลึงนั้นอาจเกิดมาจากการยืมภาษานั่นเอง
อย่างไรก็ดี พอล เค เบเนดิกต์ เชื่อว่าภาษากะได ซึ่งเขาให้คำนิยามเป้ฯคนแรกว่า หมายถึงกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาลักกยา (พูดในอำเภอจิ่นซิ่ว มณฑลกวางสี) ละควา/ละซา เก้อหล่าว ละจี๊ และหลี(ฮไล) (พูดในเกาะไหหลำ) เป็นภาษาที่เป็นสะพานเชื่อมระหวว่างภาษาตระกูลไทกับภาษาออสโตรนีเซียน เนื่องจากภาาากลุ่มกะไดเป็นภาษาคำโดดและใช้เสียงวรรณยุกต์เหมือนภาาาตระกูลไท และมีบางอยาเหมือนภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน คือ มีคำขยายตามหลังคำหลัก ซึ่งภาษาจีนไม่มีระบบไวยากรณ์
การเชื่อมสัมพันธ์ทางเชื้อสายนี้จึงใช้เป็นหลักฐานในการพิสูจน์สมมติฐานได้ว่าภาาาตระกูลไท-กะได สัมพันธ์กับภาษาตระกูลออสโตรรีเซียน และแตกมาจากภาษาตระกูลออสโตร-ไท ร่วมกัน
นักภาษาศาสตร์เชื่อว่าภาษาตระกูลไท-กะได มาจากภาษาตระกูลออสโตร-ไท ซึงรวมภาษาออสโตรนีเซียน และแม้ว-เย้า ในกลุ่มตระกูลภาษานี้ด้วย
จากสมมติฐาน จะเห็นว่านักภาษศาสตร์มีความเห็นว่า ภาษาตระกูลไท-กะไดน่าจะมีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลจีน-ทิเบต ภาษาตระกูลออสโตนีเซียนรวมไปถึงภาษาตระกูลแม้ว - เย้า ด้วย อย่างไร ก็ดีภาาาตระกูลไท -กะได ไม่มีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกเลย
ภาษาตระกูลไท ศ.ดร. พัง กวย ลี ได้เสนอว่าภาษาตระกูลไทแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม โดยใช้คำศัพท์และวิวัฒนาการของเสียงบางเสียงเป็นหลัก ดังนี้
1. กลุ่ม ทางเหนือ ภาษาไทถ่ินต่่างๆ ในประเทศจีน เช่น โป-เอย, วูมิง เป็นต้น
2. กลุ่มกลาง ได้แก่ ภาษาไทถิ่นซึ่งอยู่ตามชายแดนระหว่างประเทศจีนกับประเทศเวียดนาม เช่น โท้ ไทบลัง นุง เป็นต้น
3. กลุ่มทางตะวันตกเฉียงใต้ ได้ แก่ ภาษาไทถิ่นในประเทศไทยประเทสลาง มาเลเซีย เขมร พาม่าและอินเดีย
-
การแบ่งกลุ่มภาษาตระกูลไท |
ระบบเสียงพยัญชนะ มีทั้งพยัญชนะเดี่ยวและพยัญชนะควบกล้ำ แต่ส่วนใหญ่จะใช้พยัญชนะเดี่ยวขึ้นต้นคำมากกว่าส่วนพยญชนะตัวสะกดไม่มีพยัญชนะควกลุ้มเลย
ระบบเนียงสระ มีทั้งสระเดียวและสระผสม ในภาษาไทยเสียงสั้นยาวของสระเป็นเรื่องสำคัญที่ทำให้คามหมายของคำแตกต่างกันได้ เช่น วัน วาน ปัก ปาก เป้นต้น ดดยในภาษาไทยสระเสียงยาวสามารถเกิดขึ้นท้ายพยางค์ได้ทุกเสียง เช่น หมุ่ ป่า มือ เป้นต้ัน ส่วนสระเสียงสั้นจะมีพยัญชนะเกิดขึ้นท้ายพยางค์ เรียกว่า พยั๙นะเสียงคอหอยหยุด/?/ (Glottal shop) เป็นตัวสะกด (ยกเว้นคำที่ออกเสียวเร็วและคำที่มีหลายพยางค์)
ระบบเสียงวรรณยุกต์ ภาษาตระกุลไท ให้ความสำคัญกับระบบเสียงวรรณยุกต์เป็นอย่างมาก คำทุกคำหรือพยางค์ต้องมีเสียงวรรณยุกต์กำกับ เพราะเสียงวรรณยุกต์สามารถทให้ความหมายของคำเปลี่ยนแปลงได้ เชน ขา ข่า ข้า เป็นต้น
- ด้านระบบคำ ภาาาตระกุลไท มีัลักาณะเป้นคำโดด คือเ้นคำพยางค์เดียว เช่น กิน นั่ง นอน พือ แม่ ลูก ฯลฯ ส่วนคำหลายพยางค์ในภาษาไทยเกิดจากการยืมคำจากภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาลาลี - สันสกฤต ภาษาเขมร เป็นต้น
- ด้านระบบไวยากรณ์ มีลักาณโครงสร้างของประโยค คือ ประธาน + กริยา + กรรม ถ้าทีคำขยาย คำขยายนั้นจะวางไว้หลังคำหลัก เช่น กินจุ หมาดุ หรือถ้าในกรณีนามวลีที่มีลักาณะนาม จะเรียงคำแบบ นามหลัก + จำนวน + ลักษณนาม เช่น หมู่ 3 ตัว, บ้าน 5 หลัง เป็นต้น
ลักษณะของภาษาไทย
- ภาษาไทยมีตัวอักษรเป็นของตนเอง ซึ่งตัวอักษรไทยเริ่มปรากฎมาแต่ครั้งสุโขทัย ในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง ราว พ.ศ. 1826
- ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีพยางค์เดียว กล่าวคือ ภาษาไทยเป้นภาษาที่เป้นคำโดด ซึ่งมีความหมายที่ผู้ฟังเข้าใจในทันที่
- ภาษาทไยมีตัวสะกดตรงตามมาตร
- ภาษาไทยมีรูปสระวางไว้หลายตำแหน่ง
-ภาษาไทยมีหลายความหมายในคำเดียว ภาษาไทยถือว่าเป็นภาษาคำโดด เมื่อคำหนึ่งมีหนาที่ปลเี่ยนไป ความหมารย่อมเปลี่ยนไปเป็นอีกอย่างหนึ่งด้วย
- ภาษาไทยเป็นภาษาคำเรียง การเรียงคำในภาษาไทยนั้นถือว่าเป็นเรื่องสำคญอย่างยิ่ง เพราะหากมีการเรียงคำเปลี่ยนที่ไป ความหมาย่อมเปลี่ยนไปด้วย
- ภาษาไทยไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคำเมื่อเข้าประโยค นั้นคือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรุปคำเพื่อแสดงเพศ พจน์ การก กาล มาลา วาจก โดยภาษาไทยสามารถแสดงออกด้วยวิธีการต่างเช่น การแสดงเพศ ภาษาไทยมีวิะีการแสดงพหูพจน์ บอกเวลา เป็นต้น
- คำในภาษาไทยมีเสียงัมพันธ์กับความหมาย
- ภาษาไทยเป็นภาษาดนตรี
- ภาษาไทยเป้ฯภาษาที่มีลักษณนาม
"ความเป็นมาภาษาไทย" บทที่ 1, อ.กฤติกา ชูผล
ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย เป็นลักษณะที่ทำให้ภาษาไทยแตกต่างจากภาษาอื่น เป้ฯลักษระเด่นของภาษาที่ปรากฎอยฝุ่ตลอดมานับพันปี คู่กบชนชาติไทยทำให้ภาษาไทย เป็นภาษาที่มีชีวิต เจริญงอกงามและอุดมสมบูรณ์ด้วยถ่อยคำที่สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับกาลเทศะและวัตถุปรสงค์ ักาณะต่างๆ เหล่านี้ได้แก่
- ลกษระการสร้างคำโดยการผันเสียงสุงต่ำ เสียงสุงต่ำในภาษาไทยมี 5 ้เสียง คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา โดยวิธีนี้ภาษาไทยสามารถสร้างคำใหม่จากคำมุคำเนียวได้ถึงคราวละ 5 อาทิ
ทอง หมายถึง ธาตุชนิดหนึ่ง
ถอ่ง หมายถึง งาม อร่าม แจ่มใส
ท่อง หมายถึง เดินก้าวไป ว่าซ้ำๆ ให้จำได้
ท้อง หมายถึง ส่วนของร่างกายด้านหน้าตั้งแต่ลิ่นปีจนถึงบริเวณต้นขา
ถอง หมายถึง กระทุ้งด้วยศอก เป็นต้น
- ลักษณะการจำแนกพยัชนะออกเป็น ไตรยางค์ กับการจำแนกพยัญชนะออกเป็นเสียงสุง เสียงกลาง เสียงต่ำ การจำแนกลักษณะนี้เป็ฯการจำแนกโดยสมมติ เพราะดดยธรรมชาติของเสยงพยัญชนะไม่มีเสียงสูงต่ำ "ไตรยางค์" เป้นลักษณะที่ทำให้เกดประดยชน์ 2 ด้านในภาษาไทย คือ ด้านความประหยัด และด้านที่เป้ฯความวอกงามของภาษา
ด้านความประหยัด ทำให้ไม่ต้องกำกับรูปวรรยุกต์ในคำพื้นเสียงที่ประสมด้วอักษรทั้ง 3 ประเภท คำเป้ฯที่ประสมด้วยอักษรสูง ไม่ต้องกำกับรุ)วรรยุกต์จัตวา ให้คำว่า หมา สวย สนาม ฯลฯ คำตายที่ประสมด้วยอักษรลกลางไม่ต้องกำกับรูปวรรณยุกต์เอก ในคำว่า กลับ จัด ตาก ปาป บีบ ฯลฯ คำตายสระเสียงสั้นที่ประสมด้วยอักษรต่ำไม่ต้องกำกับรูปวรรณยุกต์โท ในคำว่า พระ ปัด ริบ นก ฯลฯ และคำตายสระเสียงยาวที่ประสมด้วยอักษรต่ำไม่ต้องกำกับรูปวรรณยุกต์เอก ในคำว่า วาด ลาก รีบ เป็นต้น
ด้านความงอกงามของภาษา การจำแนกพยัญชนะตามวิธีไตรยางค์ทำำให้ภาษาไทยมีคำใช้เพิ่มขึ้นอีก 2-3 จากคำเสียงเดียวกัน ที่เกิดจากคำประสมด้วยอักษรสุง วรรณยุกต์โท กับคำประสมด้วยอักษรต่ำ วรรณยุกต์เอก เชน ข้า กับค่า และ ฆ่า หรือ เหล้รา กับ เล่า หรือ หว้า กับ ว่ เป็นต้น
- ลักษณะการเล่นเสียงเล่นคำ เป็นลักษณี่ปรากฎอยุ่ในภาษาไทยตั้แชงแต่อดีตถึงปัจจุบัน ลักษระการเล่นเสียง เล่นคำในภาษาไทยนี้อาจแบ่งเป็นประเภทย่อยดังนี้
ลักษระการใช้เสียงค้องจอง ปรากำอยุ่ในคำร้อยกรองและถอ่ยคำธรรมดาคำประพันธ์ของไทยทุกชนิด อาจต่างกันด้วยจำนวนคำ ครุ ลหุ เอก โท แต่จะมีลักษณะบังคับ ชนิดหนึ่งซึงคำประพันธุทุก
ประเภทต้องมี คือ บังคับเสียงสัมผัส แม้ในคำประพันธ์ประเทภฉันท์ ซึ่งเป้ฯคำประเพันธ์ที่เรารับมาจากอินเดีย เราก็ยังนำมาเพ่ิมสัมผัสเข้าไป ส่วนในถ้อยคำธรรมดา ร่องรอยของการใช้คำเสียงคล้องจองปรากฎอยุ่ทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นภาษาสมัยเก่า เช่น ศิลาจารึก สำนวน คำพังเพย บทร้งอเล่นปริศนาคำทาย หรือภาษา สมัยใหม่ เช่น สำนวน คำโฆษณา คำขวัญ เป็นต้น
ลักษณะการใช้คำเสริมสร้อย เป็นการเล่นเสียวให้คล้องจองกัน เพื่อให้กระทบกระทั่งฟังไพเราะ สร้อยคำที่นำมาเสริมมักไม่มความหมาย เช่น ใต้ถุนรุนช่อง ร้องแรกแหกกระเชอ วุ่นวายขายกะปิ เซ่นวักตั๊กกะแตน ฯลฯ
ลักษระารผวนคำ ภาษาไทยน่าจะเป็นภาษาเดียในโลกที่รู้จักใช้คำยวนเ็ฯเครืองแสดงปฏิภาณของผุ้ใช้ภาษา ความนิยมในการผวนคำ ของภาษาไทยมีมากจนถึงกับกวีนำคำผวนมาผูกเป็นเื่องราว ได้แก่ วรรณกรรม "สรพพลี้หวน" และ "สรรพล้อกวน" ของภาคใต้ เนื้อความเป็นคล้ายเรื่องชาดก แต่ใช้คำฝวนตลอดเรื่อง
เราอาจกล่าวได้วา การผวนคำเป็นอัจฉริยภาพเชิงปฏิภาณของผุ้ใช้ภาาไทยเป็นลักณะการฝึกออเสียงคำต่างๆ ให้ถูกต้องตามระดับเสียงที่เกิดตามธรรมชาติของการสับเสยง ทำให้เกิดเสียงคล้องจองขึ้นในใจของผุ้พุดเ ช่น หมายตาย หมายตา ขานี้ ยี้หมา เสือกระบาง กสากระเบือ เป้นต้น คำผวนเป็นจำนวนมากที่มีความหมายในทางหยาบโลน แต่หากพิจารณาให้ดีแล้จะเห้ฯว่าเป้นคำหยาบในใจของผู้พูดเท่านั้น มิได้ปรากฎออกมาเป้นถ้อยคำตรงๆ อาจกล่าวในเชิงบวกว่า คำผวนช่วยลดความหยาบโลนของถ้อยคำก็น่าจะได้
ลักษณะของการใช้ถ้อยคำที่แสดงถึงความประณีตของภาษา ความประณีตในการดำรงชีวิตของมนุษย์ได้แก่ แบบแผนการกินอยุ่หลับนอน การแต่งกาย วัฒนธรรม และระเบียบประเพณี เป็นเครื่องแสดงความเจริญของมนุษยชาติฉันใด ความประณีตของถ้อยคำก็เป็นเครื่องแสดงความเจริญของภาษาฉันนัน ลักษณะแสดงถึงความประณีตของภาษา ได้แก่
การใช้ถ้อยคำเป็นเชงิชั้นลดหลั่นกันตามกาล เทศะ และบุคคล มีทั้งภาษาหยาบ ภาษาละเอียด และภาษาคะนอง
การเลี่ยงใช้คำแนคำทีไีต้องการพุด คำที่ควรเลี่ยงได้แก่คำที่อาจผวนเป็นคำหยาบ การพูดถึงความตาย หรือสิ่งที่เป็นอัปมงคล เรื่องไม่ควรเปิดเผย ภาษาไทยร่ำรวยกับคำที่อาจเลือกใช้มาแทนคำที่ไม่เป็นที่นิยมเหล่านั้
การใช้ลักษณะนาม เป้นลักษระที่ไม่ปรากฎในภาษาอื่น ลักษณนามในภาษาไทยเป็นเครื่องแสดงความละเอียดของภาษา คำนามเพยงคำเดียว หากแสดงลักษรที่ต่างกัน ลัการะนามที่ใช้ก้จะต่างกันออกไปตามสภาพ
- ลักษรการสร้างคำทหยโดยการนำภาษาต่างประเทศมาปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตมระบบของภาษาไทย นอกเหนือจกาการใช้รูปภาษาเดิม เพื่อให้ได้รูปคำใช้ในภาษามาย่ิงขึึ้ และเพื่อให้อ่านเขียนสะดวกขึค้น ตลอดจนเพื่อแยกความหมายองคำอีกเหตุหนึ่งด้วย อัจฉริยลักษรนี้ทำให้ภาษไทยเจริยงอกงามอย่างยิ่ง นับเป็นอัจฉริยลักษรที่สำคัญที่สุดของภาษาทไทย เพราะเป็นวิธีที่เปมาสมกับสถาณการณืของภาษาทไยปัจจุบัน ...
การสร้างคำแบบใหม่ ใช้วิธี ปรับประกอบด้วยการตัดพยางค์ ในคำยืมมากพยางค์ การเพ่ิมพยางค์ เพิ่มสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ เพื่อประโยชน์ทางนันทลักาณ์เพื่อให้ออกเสียงสะดวก, การปรุง ได้แก่การนำคำเหล่านั้มาสร้างตมวิธีการสร้งคำของไทยนำมาประสม ซ้ำ และซ้อน ตลอดจนนำมาเล่นเสียง เล่นคำ, การเปลี่ยน มีทั้งการเปลี่ยนสระและพยัญชนะ เพื่อให้ได้รูปคำมากขึ้น , การแปลง ได้แก่การนำคำยือมเหล่านั้นมาแสดงเป็นรูปต่างๆ ตามอักขรวิธี
จะเห็นได้ว่า ลักษณะการสร้างคำโดยการนำคำเป็นภาษาต่างประเทศมาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับระบบของภาษาไทย มีผลทำให้คำยืมเหล่านั้นมีลักาณะหลมกลืน กับคำไทย งายแก่การใช้ สะดวกแก่การออกเสียง ใช้ได้สนิทปากสนิทใจนไทยทำให้คำยืมเหล่านั้น "ติด" อยุ่ในภาษาไทย ด้วยบักาณการสร้างคำตามวิธีที่กล่าวมาภาษาไทยจึงมีคำใหม่เพิ่มขึค้นไม่หยุดยั้งเป็นภาษาที่มีชีิวิต มีวิวัมนาการ อุดมสมบูรณืด้วยถ้อยคำอันผุ้ใช้ภาาาสามารถเลือกสรรได้ดังประสงคือย่งราบรื่อนแนบเนียน
ลักษณะต่างที่กล่าวข้างต้น เป็นลักษณะพิเศษที่ไม่ปรากฎเด่นชัดในภาษาอื่น เป็นลักษณะเฉพาะของภาษาไทย จึงเป็นลักษณะที่คนไทยผุ้ใช้ภาษาไทยทุกคน พึงตระหนัก พึงอนุรักษ์ และพึงพัฒนาให้งอกงาม เพื่อเป็นเครื่องแสดงเอกลัษณ์ของชาติไทย....
- บทความ "อัจฉริยลักษณะของภาษาไทย" ผศ. สุภาพร มากแจ้ง
- ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีพยางค์เดียว กล่าวคือ ภาษาไทยเป้นภาษาที่เป้นคำโดด ซึ่งมีความหมายที่ผู้ฟังเข้าใจในทันที่
- ภาษาทไยมีตัวสะกดตรงตามมาตร
- ภาษาไทยมีรูปสระวางไว้หลายตำแหน่ง
-ภาษาไทยมีหลายความหมายในคำเดียว ภาษาไทยถือว่าเป็นภาษาคำโดด เมื่อคำหนึ่งมีหนาที่ปลเี่ยนไป ความหมารย่อมเปลี่ยนไปเป็นอีกอย่างหนึ่งด้วย
- ภาษาไทยเป็นภาษาคำเรียง การเรียงคำในภาษาไทยนั้นถือว่าเป็นเรื่องสำคญอย่างยิ่ง เพราะหากมีการเรียงคำเปลี่ยนที่ไป ความหมาย่อมเปลี่ยนไปด้วย
- ภาษาไทยไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคำเมื่อเข้าประโยค นั้นคือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรุปคำเพื่อแสดงเพศ พจน์ การก กาล มาลา วาจก โดยภาษาไทยสามารถแสดงออกด้วยวิธีการต่างเช่น การแสดงเพศ ภาษาไทยมีวิะีการแสดงพหูพจน์ บอกเวลา เป็นต้น
- คำในภาษาไทยมีเสียงัมพันธ์กับความหมาย
- ภาษาไทยเป็นภาษาดนตรี
- ภาษาไทยเป้ฯภาษาที่มีลักษณนาม
"ความเป็นมาภาษาไทย" บทที่ 1, อ.กฤติกา ชูผล
ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย เป็นลักษณะที่ทำให้ภาษาไทยแตกต่างจากภาษาอื่น เป้ฯลักษระเด่นของภาษาที่ปรากฎอยฝุ่ตลอดมานับพันปี คู่กบชนชาติไทยทำให้ภาษาไทย เป็นภาษาที่มีชีวิต เจริญงอกงามและอุดมสมบูรณ์ด้วยถ่อยคำที่สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับกาลเทศะและวัตถุปรสงค์ ักาณะต่างๆ เหล่านี้ได้แก่
- ลกษระการสร้างคำโดยการผันเสียงสุงต่ำ เสียงสุงต่ำในภาษาไทยมี 5 ้เสียง คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา โดยวิธีนี้ภาษาไทยสามารถสร้างคำใหม่จากคำมุคำเนียวได้ถึงคราวละ 5 อาทิ
ทอง หมายถึง ธาตุชนิดหนึ่ง
ท่อง หมายถึง เดินก้าวไป ว่าซ้ำๆ ให้จำได้
ท้อง หมายถึง ส่วนของร่างกายด้านหน้าตั้งแต่ลิ่นปีจนถึงบริเวณต้นขา
ถอง หมายถึง กระทุ้งด้วยศอก เป็นต้น
- ลักษณะการจำแนกพยัชนะออกเป็น ไตรยางค์ กับการจำแนกพยัญชนะออกเป็นเสียงสุง เสียงกลาง เสียงต่ำ การจำแนกลักษณะนี้เป็ฯการจำแนกโดยสมมติ เพราะดดยธรรมชาติของเสยงพยัญชนะไม่มีเสียงสูงต่ำ "ไตรยางค์" เป้นลักษณะที่ทำให้เกดประดยชน์ 2 ด้านในภาษาไทย คือ ด้านความประหยัด และด้านที่เป้ฯความวอกงามของภาษา
ด้านความประหยัด ทำให้ไม่ต้องกำกับรูปวรรยุกต์ในคำพื้นเสียงที่ประสมด้วอักษรทั้ง 3 ประเภท คำเป้ฯที่ประสมด้วยอักษรสูง ไม่ต้องกำกับรุ)วรรยุกต์จัตวา ให้คำว่า หมา สวย สนาม ฯลฯ คำตายที่ประสมด้วยอักษรลกลางไม่ต้องกำกับรูปวรรณยุกต์เอก ในคำว่า กลับ จัด ตาก ปาป บีบ ฯลฯ คำตายสระเสียงสั้นที่ประสมด้วยอักษรต่ำไม่ต้องกำกับรูปวรรณยุกต์โท ในคำว่า พระ ปัด ริบ นก ฯลฯ และคำตายสระเสียงยาวที่ประสมด้วยอักษรต่ำไม่ต้องกำกับรูปวรรณยุกต์เอก ในคำว่า วาด ลาก รีบ เป็นต้น
ด้านความงอกงามของภาษา การจำแนกพยัญชนะตามวิธีไตรยางค์ทำำให้ภาษาไทยมีคำใช้เพิ่มขึ้นอีก 2-3 จากคำเสียงเดียวกัน ที่เกิดจากคำประสมด้วยอักษรสุง วรรณยุกต์โท กับคำประสมด้วยอักษรต่ำ วรรณยุกต์เอก เชน ข้า กับค่า และ ฆ่า หรือ เหล้รา กับ เล่า หรือ หว้า กับ ว่ เป็นต้น
- ลักษณะการเล่นเสียงเล่นคำ เป็นลักษณี่ปรากฎอยุ่ในภาษาไทยตั้แชงแต่อดีตถึงปัจจุบัน ลักษระการเล่นเสียง เล่นคำในภาษาไทยนี้อาจแบ่งเป็นประเภทย่อยดังนี้
ประเภทต้องมี คือ บังคับเสียงสัมผัส แม้ในคำประพันธ์ประเทภฉันท์ ซึ่งเป้ฯคำประเพันธ์ที่เรารับมาจากอินเดีย เราก็ยังนำมาเพ่ิมสัมผัสเข้าไป ส่วนในถ้อยคำธรรมดา ร่องรอยของการใช้คำเสียงคล้องจองปรากฎอยุ่ทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นภาษาสมัยเก่า เช่น ศิลาจารึก สำนวน คำพังเพย บทร้งอเล่นปริศนาคำทาย หรือภาษา สมัยใหม่ เช่น สำนวน คำโฆษณา คำขวัญ เป็นต้น
ลักษณะการใช้คำเสริมสร้อย เป็นการเล่นเสียวให้คล้องจองกัน เพื่อให้กระทบกระทั่งฟังไพเราะ สร้อยคำที่นำมาเสริมมักไม่มความหมาย เช่น ใต้ถุนรุนช่อง ร้องแรกแหกกระเชอ วุ่นวายขายกะปิ เซ่นวักตั๊กกะแตน ฯลฯ
ลักษระารผวนคำ ภาษาไทยน่าจะเป็นภาษาเดียในโลกที่รู้จักใช้คำยวนเ็ฯเครืองแสดงปฏิภาณของผุ้ใช้ภาษา ความนิยมในการผวนคำ ของภาษาไทยมีมากจนถึงกับกวีนำคำผวนมาผูกเป็นเื่องราว ได้แก่ วรรณกรรม "สรพพลี้หวน" และ "สรรพล้อกวน" ของภาคใต้ เนื้อความเป็นคล้ายเรื่องชาดก แต่ใช้คำฝวนตลอดเรื่อง
เราอาจกล่าวได้วา การผวนคำเป็นอัจฉริยภาพเชิงปฏิภาณของผุ้ใช้ภาาไทยเป็นลักณะการฝึกออเสียงคำต่างๆ ให้ถูกต้องตามระดับเสียงที่เกิดตามธรรมชาติของการสับเสยง ทำให้เกิดเสียงคล้องจองขึ้นในใจของผุ้พุดเ ช่น หมายตาย หมายตา ขานี้ ยี้หมา เสือกระบาง กสากระเบือ เป้นต้น คำผวนเป็นจำนวนมากที่มีความหมายในทางหยาบโลน แต่หากพิจารณาให้ดีแล้จะเห้ฯว่าเป้นคำหยาบในใจของผู้พูดเท่านั้น มิได้ปรากฎออกมาเป้นถ้อยคำตรงๆ อาจกล่าวในเชิงบวกว่า คำผวนช่วยลดความหยาบโลนของถ้อยคำก็น่าจะได้
ลักษณะของการใช้ถ้อยคำที่แสดงถึงความประณีตของภาษา ความประณีตในการดำรงชีวิตของมนุษย์ได้แก่ แบบแผนการกินอยุ่หลับนอน การแต่งกาย วัฒนธรรม และระเบียบประเพณี เป็นเครื่องแสดงความเจริญของมนุษยชาติฉันใด ความประณีตของถ้อยคำก็เป็นเครื่องแสดงความเจริญของภาษาฉันนัน ลักษณะแสดงถึงความประณีตของภาษา ได้แก่
การใช้ถ้อยคำเป็นเชงิชั้นลดหลั่นกันตามกาล เทศะ และบุคคล มีทั้งภาษาหยาบ ภาษาละเอียด และภาษาคะนอง
การเลี่ยงใช้คำแนคำทีไีต้องการพุด คำที่ควรเลี่ยงได้แก่คำที่อาจผวนเป็นคำหยาบ การพูดถึงความตาย หรือสิ่งที่เป็นอัปมงคล เรื่องไม่ควรเปิดเผย ภาษาไทยร่ำรวยกับคำที่อาจเลือกใช้มาแทนคำที่ไม่เป็นที่นิยมเหล่านั้
การใช้ลักษณะนาม เป้นลักษระที่ไม่ปรากฎในภาษาอื่น ลักษณนามในภาษาไทยเป็นเครื่องแสดงความละเอียดของภาษา คำนามเพยงคำเดียว หากแสดงลักษรที่ต่างกัน ลัการะนามที่ใช้ก้จะต่างกันออกไปตามสภาพ
- ลักษรการสร้างคำทหยโดยการนำภาษาต่างประเทศมาปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตมระบบของภาษาไทย นอกเหนือจกาการใช้รูปภาษาเดิม เพื่อให้ได้รูปคำใช้ในภาษามาย่ิงขึึ้ และเพื่อให้อ่านเขียนสะดวกขึค้น ตลอดจนเพื่อแยกความหมายองคำอีกเหตุหนึ่งด้วย อัจฉริยลักษรนี้ทำให้ภาษไทยเจริยงอกงามอย่างยิ่ง นับเป็นอัจฉริยลักษรที่สำคัญที่สุดของภาษาทไทย เพราะเป็นวิธีที่เปมาสมกับสถาณการณืของภาษาทไยปัจจุบัน ...
การสร้างคำแบบใหม่ ใช้วิธี ปรับประกอบด้วยการตัดพยางค์ ในคำยืมมากพยางค์ การเพ่ิมพยางค์ เพิ่มสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ เพื่อประโยชน์ทางนันทลักาณ์เพื่อให้ออกเสียงสะดวก, การปรุง ได้แก่การนำคำเหล่านั้มาสร้างตมวิธีการสร้งคำของไทยนำมาประสม ซ้ำ และซ้อน ตลอดจนนำมาเล่นเสียง เล่นคำ, การเปลี่ยน มีทั้งการเปลี่ยนสระและพยัญชนะ เพื่อให้ได้รูปคำมากขึ้น , การแปลง ได้แก่การนำคำยือมเหล่านั้นมาแสดงเป็นรูปต่างๆ ตามอักขรวิธี
จะเห็นได้ว่า ลักษณะการสร้างคำโดยการนำคำเป็นภาษาต่างประเทศมาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับระบบของภาษาไทย มีผลทำให้คำยืมเหล่านั้นมีลักาณะหลมกลืน กับคำไทย งายแก่การใช้ สะดวกแก่การออกเสียง ใช้ได้สนิทปากสนิทใจนไทยทำให้คำยืมเหล่านั้น "ติด" อยุ่ในภาษาไทย ด้วยบักาณการสร้างคำตามวิธีที่กล่าวมาภาษาไทยจึงมีคำใหม่เพิ่มขึค้นไม่หยุดยั้งเป็นภาษาที่มีชีิวิต มีวิวัมนาการ อุดมสมบูรณืด้วยถ้อยคำอันผุ้ใช้ภาาาสามารถเลือกสรรได้ดังประสงคือย่งราบรื่อนแนบเนียน
ลักษณะต่างที่กล่าวข้างต้น เป็นลักษณะพิเศษที่ไม่ปรากฎเด่นชัดในภาษาอื่น เป็นลักษณะเฉพาะของภาษาไทย จึงเป็นลักษณะที่คนไทยผุ้ใช้ภาษาไทยทุกคน พึงตระหนัก พึงอนุรักษ์ และพึงพัฒนาให้งอกงาม เพื่อเป็นเครื่องแสดงเอกลัษณ์ของชาติไทย....
- บทความ "อัจฉริยลักษณะของภาษาไทย" ผศ. สุภาพร มากแจ้ง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น