สำเนียงภาษาถิ่น ของภาษาลาวสามารถแบ่งได้ 6 สำเนียง
- สำเนียงลาวเวียงจันทน์ เวียงจัน บอลิคำไซ
- ภาษาลาวเหนือ หลวงพระบาง ไชยบุรี อดมไซ หลวงน้ำทา
- ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนือ เชียงขวาง หัวพัน
- ภาษาลาวกลาง คำม่วน สุวรรณเขต
- ภาษาลาวใต้ จำปาศักดิ์ สาละวัน เซกอง อัตตะปือ
- ภาษาลาวตะวันตะวันตก ร้อยเอ็ดในประเทศไทย
ทางการประเทศลาวไม่ได้กำหนดให้สำเนียงถิ่นใดเป้นสำเนีนงภาษากลาง แต่การใช้ภาษาลาวอย่่างเป็นทางการ เช่น ทางสถานี้โทรทัศน์แห่งประเทศลาว สถานีวิทยุแห่งประเทศลาว จะใช้สำเนียงเวียงจันทน์ซึ่งเป็นสำเนียงของคนเมืองหลวง สามารถเข้าใจกันได้ทั่วประเทศ การเรียนภาษาลาวในประเทศลาวนั้น รัฐบาลลาวไม่ได้บังคับให้ใช้สำเนียงเวียงจันทน์ แต่ให้สามารถใช้สำเนียงท้องถิ่นต่างๆ ได้ แต่การเรียนภาษาลาวสำหรับชาวต่างประเทศ รัฐบาลลาวแนะนำให้ใช้สำเนียงเวียงจันทน์ฉะนั้นประชาชนในประทเสลาวจึงพุดอ่านภาษาลาวเป็นสำเนียงท้องถิ่นของตนแต่ประชาชนก็สามารถฟังเข้าใจได้ทุกสำเนียงทั่วประเทศ แม้จะพุดภาษาต่างสำเนียงกันก็ตาม
ส่วนในประเทศลาว นอกจากสำเนียงถิ่นใหญ่แล้วยังมีสำเนียงแตกออกไปอีหลายสำเนยงย่อย ชเ่น ภาษาลาวใต้ถิ่นสาละวัน ภาษาลาวกลางถิ่นสุวรณเขต สำเนียงย่อยถ่ินเมืองอาดสะพังทองถิ่นเมืองจำพอน ภาษาเวียงจันทน์ถิ่นเมืองปากงึม ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีผุ้พุดภาษาลาวใต้ถิ่นจำปาศักดิ์ในจังหวัดพระวิหาร สตึงแตรง และรัตนคีรีของประเทศกัมพูชาด้วย
ภาษาญ้อ หรือ ภาษาไทย้อ เป็นภาษากลุ่มไท-ลาว ที่พุดกันหม่ชาวไทญ้อ ซึงมีอยุ่ในประเทศไทยประมาณ ห้าหมื่นคน ในจ. สกลนคร หนองคาย นครพนม มหาสารคาม ปราจีนบุรีและสระบุรีสวนใหญ่อพยพมาจากประเทศลาว เป้ฯชาวไทญ้อส่วนใหญ่พูดภาษาลาวอีสานได้ด้วย
ภาษาญ้อจัดอยุ่ในตระกูลภาษาไท กะได ภาาากลุ่มคำ-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไต-แสก มีลักาณคล้ายคลึงกับภาษาไทยถิ่นอีสานและภาษาลาวสำเนียงหลวงพระบางมีพยัญชนะ 19 เสียง สระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 3 เสียง วรรณยุกต์ 4 เสียง พยัญชนะควบกลุ้ 6 เสียงth.wikipedia.org/wiki/ภาษาลาว
ไทยย้อเป็นชาวไทยภาคอีสาน อีกกลุ่มหนึ่ง ซึ่งมักเรียกตัวเองว่ ไทยย้อ เชน ชาวย้อในจังหวัดสกลนครย้อ ในตำบลท่าขอนยาง(เมืองท่าขอนยาง) อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ชาว ย้อ ในอำเภอท่าอุเทน จังหวัด นครพนม และชาวย้อในตำบลดงเย็น อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร ภาษาและสำเนียงของชาวย้ออาจ ผิดเพี้ยนไปจากาวอีสานทั่วไปบ้างเล็กน้อย ถิ่นฐานดั้งเดิมของชาวย้อ มีผุ้ค้นพบว่าเดิมอยู่แค้วนสิบสองปันนา หรือ ยูนาน ต่อมาชาวย้อมชยางพวกได้อพยพลงมาตามลำน้ำโขง เพื่อเลือกหาที่ตั้งบ้านตั้งเมืองที่อุดมสมบูรณ์กวาที่อยู่เดิมจนในที่สุด ชาวย้อกลุ่มหนึ่งได้พบว่าตรงปากน้ำสงครามริมฝังโขง เพื่อเลือกหาที่ตั้งบ้านตั้งเมืองี่อุดมสมบูรณืกว่าที่อยู่เดิมจนในที่สุด ชาวย้อกลุ่มนหนึ่งได้พบว่าตรงปากน้ำสงครามริมฝั่งโขงเป็นที่อุดมสมบรูรณืที่ปลา ชุกชุม จึงได้จัดตั้งขึ้นเป็นเมืองไชยบุรี
เมื่อ พ.ศ. 2350 (สมัยรัชกาลที่ 1 ต่อมาเมืองเจ้านุวงษ์ เวียงจันทนืเป็นกบฎต่อกรุ
เทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2369 ไทย ย้อเมืองไชยบุรีถูกกองทัพเจ้านุวงษ์เีจยงจันทน์กวาดต้อนให้อพยพข้ามโขงไป ด้วย โดยให้ไปตั้งอยู่ที่เมืองปุงเลง เมืองคำเกิด เมืองคำม่วน ในแขวงคำม่วน ของลาว ต่อมากองทัพไทย ได้กวาดต้อนให้ไทยข้อ ให้อพยพข้ามโขง กลับมาอีกครั้งหนึ่ง ทรงพระกรุณาโปรดเหล้า ฯ ไทยย้อกลุ่มกนึ่งตั้งขึ้นเป็นเมืองท่าอุเทน
เมื่อ พ.ศ. 2373 ไทยย้อที่อพยพข้ามโขมาตั้งที่บ้านท่าขอนยาง เป้ฯเมืองท่าขอนยาง ขึ้นเมืองกาฬสินธุ์ ไทยย้อเมืองสกลนคร อพยพมาจากเมืองมหาขชัย (แขวงคำม่วนของลาว) มาตั้งอยู่ริมน้ำหนองหานสมัยรัชกาลที่ 3 ตั้งขึ้นเป็นเมืองสกลนคร เมื่อ พ.ศ. 2381 ในจังหวัดมุกดาหารมีไทยย้อที่อพยพมาจากเมืองคำม่วนตั้ง บ้านเรือนอยุ่ที่ตำบลดงเย็น อำเภอเมืองมุกดาหาร และอยู่ในท้องที่อำเภอนิคมคำสร้อยอีกหลายหมู่บ้าน เผ่าไทยในนครพนม
ตามจดหมายเหตุของหลวงชำนาญอุเทนดิษฐิ์ (บฮด กิติศรีวรพันู์) ต้นสกุลกิติศรีวรพันธุ์..
...ลุถึงปีมะเส็ง เบญจศด จุลศักราช 1195 พ.ศ. 2376 เจ้าเมืองบุ่งลิงพร้อมด้วยฮุปฮาด ราชวงศ์ ราชบุตร กรมการเมือง ท้าวเพี้ย จึงปรึกษากันเห็นว่าเป็ฯโอกาสเหมาะที่จะกลังมรพึ่งพระบรมโพธิสมภารของรัชกาลที่ 3 เพราะญวนกำลังติศึกกับไทยอยู่จึงอพยพจากเมืองบุ่งลิงมาพักอยู่ตอนหาดทายกลางแม่น้ำโขง บริเวณบ้านร้างแขวงเมืองนครพนา และเจ้าเมือง กรมการเมือง จึงขึ้นไปสืบดุมี่เมืองไชยบุรี
และตั้งใจว่าหากเมืองไชยบุรียังเป็นเมืองร้างวางเปล่าอยู่ ก็จะพากันไปอยู่ตามเดิม ครั้นไปสืบดูแล้วปรากฎว่า ราชวงศ์เสน เมืองเชมราบ กรมการเมือง และแม่ทัพนายกฝ่ายไทยต้งค่ายรักาาเมือง มีผุ้คนอยุ่กันหนาแน่นแล้ว กรมการเมืองหลวงบุ่ลิงจึงปรึกษาต่อราชวงศ์เสน ของสวามิภักดิ์ เป็นข้าขอบขัณฑสีมาอาณาจักรกรุงเทพมหานครต่อไปจนชั่วลูกชั่วหลานราชวงศ์เสนพร้อมด้วยนายทัพนายกองจึงมีหนังสือบอกข้อราชากร พร้อมกับนำตัวเจ้าเมืองและกรมการเมืองหลวงบุงลิงลงไปหาแม่ทัพนายกองทีเมืองนครพนมจึงสั่งให้เจ้าเมืองและกรมการเมืองหลวงบุ่งลิงอพยพครอบครัว ไพร่พล จากคอนหาดทรายกลางแม่น้ำโขง มาตั้งอยู่ ณ บ้านท่าอุเทน ซึ่งร้ายอยู่เกลี่้ยกล่อมให้ผุ้คนฝั่งซ้ายในแขวงเมืองคำเกิด คำม่วง มารวมอยู่ด้วยเป็นอันมาก
ปีมะเมีย ฉศก จุลศักราช 1196 พ.ศ. 2377 แม่ทัพฝ่ายไทยไดตั้งพระปทุมเจ้าเมืองหลวงบุ่งลิงเดิม ให้เป็ฯพระศรีวรราชและเป็นเจ้าเมือง และยกบ้านท่าอุเทนร้างนั้นขึ้นเป้น "เมืองท่าอุเทน" อุปฮาด ราชวงศ์ ราชบุตร ยังคงเดิม ให้เมืองท่าอุเทนขึ้นอยู่ในความปกครองของพระสุนทรราวงศา ผุ้วาาชการเมืองยโสธรนครพนม และเมืองท่าอุเทนมีชายฉกรรจ์ 700 คนผุกส่งส่วยปีละ 18 ตำลึง
ถึงปีจอ สัมฤทธิศก จุลศักราช 1200 พ.ศ. 2381 เป็นปีที่ 15 ในรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงเทพมหานคร มีท้องตราโปรดเกล้า ฯ ให้เมืองท่าอุเทนขึ้นตรงต่อกรุงเทฯ เป้นหัวเมืองจัตวาขาดจากการปกครองของเมืองยโสธรนครพนม มีเมืองรามราชเป็นเมืองขึ้น (ในครังนั้นเจ้าเมืองรามราชคือ พระอุทัยประเทศ ชื่อเิม ท้าวบัง เป็นเจ้าเมืองเชียฮม อพยพผุ้คนมาจากฝั่งซ้ยชองแม่น้ำโขงคราวกบฎเจ้าอนุวงศ์ คุมครัว 458 คนไปตั้งเมืองอยู่ที่บ้านรามราช ซึ่งปัจจุบันเป้ฯตำบลรามราช ขึ้นกับอำเภอท่าอุเทน) ส่วนเขตเมืองท่าอุเทนนันไม่ได้แบ่งเพราะตั้งอยู่ในเขตเมืองนครพนม และให้ช่วยรักษาเขตแดนเมืองนครพนมไปพลางก่อน
ชาวไทญ้อ |
ถึงปีขาล สัมฤทธิศก จุลศักราช 1240 พ.ศ. 2421 พระศรีวรราชุ (พรหมมา) และทาวพระพรหมถึงแก่อนิจกรรม ทางราชการจงตั้งให้ท้าวบุญมาก ราชบุตรเป็นพระศรีวรราช ดำรงตำแหน่งผุ้ว่ารชการการเมืองคนที่ 45 และเป้นเจ้าเืองคนสุดท้าย
เมืองท่าอุเทนเปลี่ยนฐานะจากเมืองเป็นอำเภอเมื่อ ร.ศ. 128 พ.ศ. 2453 มีขุนศุภกิจจำนงเป็นนายอำเภอคนแรก
ปัจจุบันชาวไทญ้อมีภุมิละเนากระจัดกระจายอยุ่ทัวไปในภาคอีสาน อาทิ บ้านนายูง อำเภอกุมกวาปี จังหวัดอุดรธานี, บ้านท่าขอนยาง บ้านกุดน้ำใส บ้านยาง บ้านเหล่ากลาง บ้านโพน บ้านค้นธารราษฎร์ อภเภอกัทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม, บ้านสิม บ้านหนองแงง บ้าสา อ.ยางตลาด และบ้านหนองไม้ตาย อ.สหัสขันธ์ จ. กาฬสินธุ์, บ้านหนองแห่ง บ้านจำปา บ้านดอกนอ บ้านบุ้งเบ้า บ้านนาสีนวล อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร, บ้านขามเฒ่า อ.เมือง จ.นครพนม บ.ท่าอุเทฯ บ้านไชยบุรี บ้านนาขมิ้น บ้านค้อ บ้านพระทาย บ้านโพนสวรรค์ บ้านรามรช อ.ท่าอุเทน จ.นครพนม บ้านแพง บ้านนาขาม อ.บ้านแพง จ.นครพนม บ้านดงเย็น จ.นครพนม บ้านศรีสงคราม บ้านนาเดื่อน บ้านนหว้า ย้านเสียว อ.ศรีสงคราม จ.นครพนนม baanmaha.com/community/threads/33053-ประวัติศาสตร์กลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทญ้อ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น