วันพฤหัสบดีที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Melayu Language

           
 ภาษามลายู เป็นภาษาหลฃักภาษาหนึ่งในตระกุลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซยน มีผุ้พุดประมาณ สองถึงสองร้อยห้าสิบล้านคน (ปี พ.ศ. 2552) โดยเป้นภาษาแม่ของผุ้คนตลอดสองฟากช่องแคบมะละกา ซึ่งได้แก่ ชายฝั่งค่บสมุทรมลายูของมาเลเซียและชายฝั่งตะวันออกของเกาะสุมาตราของอินโดนีเซย และได้รับการยอมรับเป็นภาษาแม่ในชายฝั่งตะวันตกของซาราวะก์ ละกาลีมันตันตะวันตกในเกาะบอร์เนียว นอกจากนี้ยังใช้เป็นภาษาการต้าในภาคใต้ของ ฟิลิปปินส์ ซึ่งได้แก่ ต่อนใต้ของคาบสมุทรซัมบวงกา, กฃลุ่มเกาะซูลู และเมืองบาตาราซาและบาลาบัก (ซึงมีชาวมุสลิมอาศัยอยุ่เป็น่วนใหญ่) ทางทิศตะวันตกเฉียงใใต้ของเกาะปาลาวัน
           ในฐานที่เป็นภาษาประจำชาติ หรือ ของรัฐเอกราชหบายรัฐ ภาษามลายู มาตรฐานที่ชื่อทางการแตกต่างกันไป ในบรูไนและสิงคโปร์เรียกว่า "ภาษามลายู" ในมาเลเซียเรียกว่า "ภาษามาเลเซีย" และอินโดนีเซียเรียกว่า "ภาษาอินโดนีเซีย" อย่างไรก็ตาม ในหลายพื้นที่ทางตอนกลางและตอนใต้ขอ
เกาะสุมาตราที่ซึ่งภาษามลายูเป็นภาษาพื้นเมือง ชาวอินโดนีเซียจะเรียกภาษานี้ว่า "ภาษามลายู"และมองว่าเป็นภาษาหนึ่งในบรรดาภาษาประจำภูมิภาคของตน

           ภาษามลายูมาตรฐาน (หรือที่เรียกว่าภาษามลายูราชสำนัก) เคยเป็นวิธภาษามาตรฐานในวรรกรรมของรัฐสุลต่านมะละกาและยะโฮร์สมัยก่อนอาณานิคม ดังนั้น บางครั้งจึงเรียกว่าภาษานี้ว่าภาษามลายูมะละกา, ภาษามลายูยะโฮร์ หรือาษามลายูเรียว (หรือชื่ออื่นๆ ที่ใช้ชื่อเหล่านี้ประกอบกัน) ะพื่อแยกให้แตกต่างกับภาษาอื่นๆ อีกหลายภาษาในกลุ่มภาษามลายู จากข้อมูลของเอ็ทนอล็อก วิธภาษามลายูต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันมีรายชื่อเป็ฯภาษาแยกต่างหาก(รวมถคงวิทธภาษาโอรังอัซลีในมาเลเซยตะวันตก) มีความสัมพันะ์ใกล้เคียงกับภาษามลายูมาตรฐานมากจนอาจพิสูจน์ได้ว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีภาษามลายูการต้าและภาษาครีโอล จากภาษามลายูอีกจำนวนมากซึ่งมีพืนฐานจากภาษากลางที่พัฒนามาจากภาษามลายูตามแบบแผนดั้งเดิมเช่นเดียวกับภาษามลายูมากัสซาร์ ซึงปรากฎวว่าเป็นภาษาผสมth.wikipedia.org/wiki/ภาษามลายู
            ...ภาษาอินโดนีเซียกับภาษามาเลเซียก็เหมือกับภาษาฮินดีที่พูดกันในอินเดีย และภาษาอูร์ดุที่พูดกันในปากีสถาน ที่แต่ก่อนงอ่นชะไรย้อนหลังกลับไปในอดีต คือ ภาษาเดียวกัน ศัพท์จำนวนมากมาจากภาษาสันสกฤต กระทั่งราชวงศ์โมกุลเข้ามาปกครองอินเดีย ก็นำศัพท์ต่างๆ ทางภาษาเปอร์เซียเข้มาใช้ ต่อมาสัดส่วนของศัพท์ภาษาเปอร์เซียเร่ิมมีมากกว่าภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดีที่มีภาษาเปอร์เซียปนอยู่เป็นจำนวนมากก็กลายเป็ฯภาษาอุร์ดู ในตอนแรกๆ คนที่ใช้ภาษาฮินดีกับภาษาอูร์ดูยังพูดจาปราศรยกันรู้เรื่อง แต่เมื่อวันเวลาหมุนเวียนเปลี่ยนไปมีศัพท์แสงทางเปอร์เซียเข้ามาเพิ่มขึ้น คนที่ใช้ภาษาฮินดีกับอูร์ดู ก็เิร่มพุดกันไม่รู้เรื่องแล้ว

              ภาษาฮินดีใช้ตัวอักษรเทวนาครี ส่วนภาษาฮินดีที่มีภาษาเปอร์เซียปนอยุ่มากจนกระทั่งกลายเป็นภาษาอูร์ดู นำตัวอักษรอาหรับแบบเปอร์เซียมาใช้ในการเขียนภาษาทั้งสองก็ย่ิงห่างต่างกันไปเรื่อยๆ จนตอมากลายเป็น ภาษาคนละอย่าง พูดเขียนกันไม่รู้เรื่อง...
             กลับมาที่ภาษามาเลเซียและภาษาอินโดนีเซีย..
             แต่ก่อนง่อนชะไร ภาษาทั้งสองก็คื อภาษามลายูเดียวกัน แตกต่างกันอยู่บ้างตรงที่ภาษามลายูที่ใช้กันในอินโดนีเซียได้รับอิทธิพล จากภาษาสันสกฤต เพราะสมัยก่อนแถวเกาะชวาเป็นศูนนย์กลาางของศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธที่มีต้นกำเนิดมาจากอินเดีย ในขณะที่ภาษามลายูในมาเลเซียได้รับอิทธิพจากอิสลาม ตามรัฐสุลต่านอิสลามแห่งมะละกา จนภาษาอาหรับซึ่งเป็นภาษาแห่งศาสนาอิสลามถูกนำมาใช้เป็นภาษาแห่งวิทยาการแทนที่ภาษาสันสกฤตในแถวมาเลเซีย
             ที่เปนเช่นนี้เพราะ อีสลามมิซาซี หรือ "กระบวนการทำให้เป็นอิสลามมากขึ้น" เกิดขึ้นเข้มข้นในมาเลเซีย ผู้คนมาเลเซียนิยมใช้ศัพท์แสงในภาษาอาหรับแทนที่ภาษาสันสกฤต แต่กระบวนการทำให้เป็นอิสลามมากขึ้น ไม่ได้เกิดเข้มข้นในอินโดนีเซียผุ้คนจึงใช้ภาษามลายูที่ยังคงใช้ศัพท์แสงเดิมๆ ที่มารจากภาษาสันสกฤต
             แม้กระนั้นก็ตาม ความแตกต่างของภาษามลายูที่ใช้ในสองประเทศในสมัยก่อนตอนโน้นก็ยังไม่มีความแตกต่างกันมาก จนกระทั่ง อังกฤษและฮาลแลนด์เข้ามเป็นเจ้าอาณานิคมแบ่งกันปกครอง อังกฤษได้มาเป็ยนเจ้าเข้าครองมาเลเซีย ส่วนพวกดัตช์แห่งฮอลแลนด์ เป็นเจ้าเข้าปกครองอินโดนีเซีย ตั้งแต่นั้น ภาษาทั้งสองที่เริ่มเติบโตกันออกไปคนละแบบ ศัพทืแสงต่างๆ ทารงภาษาอังกฤษถูกนำไปใช้ในภาษมลายูที่พูดกันในมาเลเซียส่วนศัพท์ภาษดัตช์ก็ถุกเข้าำปใช้ในภาษามลายูในอินโดนีเซีย ทำให้ภาษมลายุในมาเลเซียและในอินโดนีเซียต่างกันมากขึ่้น
             ในมาเลเซีย ผุ้คนยังใช้ ปีจาแบท ที่หมายถึงสำนักงาน แต่คนอินดดนีเซียเอาศัพท์ภาษาดัตช์เข้ามาใช้เป็น แคนเทอ เมื่อคนมาเลเซียจะพุดถึงห้อ้ง ก็ใช้คำว่า บิลิก แต่คนอินดดนีเวีเยใช้ถาษาอิงไปทางภาษาดัตช์ว่า คามาร์ คนมาเดลเซียหยิบหนังสือพิมพ์ฉบับนี้ชูขึ้นพรัอมทั้งพุดว่า อัคบาร์ ทว่าคนอินโดนีเซเียกลับใช้ภาษาดัตช์ที่หมายถึงหนังสือพิมพ์ว่า โคแรน
            สัพท์นภาษาดัตชืเข้ามปะปนอยู่ในภาษามลายุที่ใช้ในอินโดนีเวียมากวธจนคนมาเลเซียฟังมไม่รู้เรื่อง คนอินโดนเีวเยเองก็ชินกับภาษามลายู ที่มีศัพท์ภาษาดัตช์เข้ามาปะปนซะจนฟังภาษามลายูที่ใช้กันในมาเลเซียไม่รู้เรื่อง
             ปี พ.ศ. 2480 อินโดนีเซียได้รับเอกราช ก็ใช้ตัวอักษรดรมันในการเขียนภาษามลายูแบบินโดนีเซีย ในตอนนั้น ภาษามลายูที่ใช้กันในประเทสมาลาย (มาเลเซีย) ยังใช้ตัวอักษรภาษาอาหรับ จนกระทั้งต่อมา มาเลเซียได้รับเอกราช จึงนำ ตัวอักษรดรมันมาใช้เขียนแทนภาษาอาหรับ แต่การสะกดตัวอักษรโรมันของภาษามาเลเซยต่างจากภาษาอินโดนีเซียมาก ...www.thairath.co.th/content/227488
             ภาษามลายูบรูไน เป็นภาษาประจำชาติของประเทบรูไนและเป็นภาษากลางในพื้นที่บางส่วนของมาเลเซียตะวันออก ภาษานี้ไมใช่ภาาราชการของยรูไน (ซึ่งใช้ภาษามลายูมาตรฐานเป็นภาษาราชการ) แต่มีบทบาทสำคัญในสังคมและกำลังแทนที่ภาษาของชนกลุ่มน้อยภาษาอื่นๆ ภาษามลายูบรูไนมีผุ้พุดประมาน สองแสนหกคน พบในบรูไนประมาณ สองแสนหนึ่งหมื่นคน ในบริเวณเมืองหลวงและตามแนวชายฝัง พบในประเทศมาเลเซยประมาณ ห้าหมื่นหนึ่งพันคน ในบริวเณชยฝั่งทางตอนเหนือเบอไลต์บน และบริเวณแม่น้ำตูเดาของรัฐซาราวะก์และในรัฐซาบะฮ์
             ภาษามลายูบรูไนจัดอย่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามลายโย-โปลินีเซีย สาขามาลาโย-ซุมบาวาสาขาข่อยมลายูอิก เช่นเดียวกับภาษามเลเซียและภาษาอินโดนีเซียแต่เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากภาษเกอดายันซึ่งเป็นภษาของขนพื้นเมืองกลุ่มหนึ่งในบรูไน จึงมีคำสัพท์หลายคำที่แตกต่างไปจากภาษามลายูมาตรฐาน..th.wikipedia.org/wiki/ภาษามลายูบรูไน
              ภาษามลายูเป็นภาษาที่สำคัยและใช้กันอย่างกว้างขวางในอาเวียนรองจากาษาอังกฤษ และเป็นภาษาราชการของ 4 ประเทศ คือ มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไนและสิงคโปร์  ภาษามลายูหรือมลายูกลางเป็นอีกหนึ่งในภาษาประจำชาติของสิงคโปร์
             
... เนื่องจากสิงคโปร์เป็นพหุสังคม ดังนั้น การสร้างความเป็นอันเหนึ่งอันเดียวกันระหว่างกลุ่มชาติต่างๆ จึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับความอยุ่รอดของประเทศ แต่เิดิมรัฐบาลมีนโยบายรักษาความเป็นกลางทางด้านเชื้อชาติ หลักเลี่ยงการเอ่ยถึงประเด็นความแตกต่างทางด้านศาสนา ภาษา เชื้อชาติ แต่ในทศวรรษที่ 1990 เป็นต้นมา รัฐบาลมีนโยบลายสร้างความสามดุลระหว่างกลุ่มเชื้อชาติต่างๆ โดยสนับสนุนให้แต่ละกลุ่มมีสมาคมหรือกลุ่มผลประโยชน์ของตนเอง โดยรัฐบาลใช้กลุ่มเหล่านี้เป็นเวทีให้รัฐบาลดำเนินนโยบายของรัฐให้ประสบความเร็จ..
                 เมื่อแยกตัวออกมาเป็น "สาธารณรัฐสิงคโปร์" รัฐมีนโยบายให้แต่ละชาติพันธุ์รักาาไว้ซี่งวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีของตนเอง แต่ว่าจะต้องมีส่วนร่วมกันในการมีเอกลักษรืของความเป็นชาติ หลังการแยกตัวเป็นอิสระ มรกดอย่างหนึ่งที่ติดตัวมาจนถึงปัจจุบันคือ การใช้ภาษามลายูเป็นภาษาประจำชาติ แต่ชาวมลายุได้กลายเป้นชนกลุ่มน้อยของสิงคโปร์ไป โดยชนกลุ่มใหญ่คือคนเชื่อสายจีน และการที่แต่ละกลุ่มเชื้อชาติมีความหลากหลายทางภาษาพุดก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำใหภาษาอังกฤษเข้ามามีบทบาทมากข้นเรื่อยๆ  นอกจากภาษาอังกฤษแล้วรัฐบาบยังมีนดยบายให้ครอบครัวจีนหันมาใช้ภาษาจีนกลางมากขึ้นแทนที่จะใช้ภาษาถิ่นจีนที่มีมากมาย แต่ด้วยนโยบายเชนนี้ในระยะต่อมาได้ส่งผลทำหใ้มีลักระของการไปทำลายวัฒนธรรมเฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์โดยเฉพาะในด้านภาษา ดังนั้นรัฐบาลจึงได้กำหนดนโยบายให้ภาษาประจำชาติพันธุ์เป็นภาษาที่สอง เหตุผลคือการเียนภาษาอังกฤษมากเกินไปทำให้คนสิงคโปร์ไม่รู้สึกถงความเป็นชาติพันธุ์ของตนเอง..http://www.sac.or.th/databases/southeastasia/subject.php?c_id=8&sj_id=69
           

วันพุธที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Bahasa : Interview ( Hilang Bahasa, Hilang Bangsa, Hilang Bangsa Hilang Agama)

            หลังจากความรุนแรงปะุทขึ้น เมื่อสิบกว่าปีก่อน มีการณรงค์ในหมู่คนท้องถ่ินให้เกิดการฟื้นฟูภาษามลายูและตัวอักษรยาวี พร้อมกับการรณรงค์เผยแพร่มลายูปาตานีให้แพร่หลาย ผู้สนับสนุนภาษามลายูมักล่าวซ้ำแล้วซ้ำเล่าว่า Hilang Bahasa, Hilang Bangsa, Hilang Bangsa Hilang Agama ถอดความได้ว่า "ชนใดไร้ภาษา ชนนั้นสิ้นเชื้อชาติ เมื่อสิ้นเชื่อชาติ ย่อมสิ้นศานา
             ทวีพร คุ้มเมธา ผุ้สือขาวประชาไท รายงานการใช้ภาษาและอัตลักษณ์มลาูกับความขัดแย้งและความรุนแรงเกี่ยวพันในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยสัมภาษณ์ อาณา ชินทาโร (Hara Shintaro) ผู้เชี่ยวชาญภาษามลายูและนักวิจารณ์การเมืองในภาคใต้ ชินทาโรเป้นนักวิชาการชาวญี่ป่นุที่อาศัยอยุ่ภาคใต้ของประเทศไทยตั้งแต่ปี 2542 และสอนที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีเป็นเวลาหลายปี ในปัจจุบันเป็นนักวิชาการอิสระด้านมลายูศึกษา เขานิยามตัวเองว่าเป็นคนนอกที่อยู่ "ภายใน" ชุมชนปาตานี
             ประชาไท เป็นหนังสือพิมพ์ ออนไลน์ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2547 โดย จอน อึ้งภากรณ์ นำเสนอข่าวสารทั่วไป โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับสังคม การเมือง สิทธิมนุษยชน บทสัมภาษณ์และข้อเขียนของนักวิชาการ นักเคลื่อนไหว องค์กรสิทธิ และองค์กรพัฒนาเอกชน ผู้อำนวยการปัจจุบันคือ จีรนุช เปรมชัยพร บรรณาธิการคตือ ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข
             ประชาไท เป็นเว็บไซต์ที่มีผุ้เข้าชมจากประเทศไทยมากเป็นอันดับที่ 3,889 (ปี 2557) จากการจัดอันดับโดยอเล็กซา..
             เว็บบอร์ดประชาไท เป็นพื้นที่แยกต่างหากจกหนังสือพิมพ์ประชาไท ที่เปิดเพื่อให้สาธารณะแลกเปลี่ยนกันเรื่องสังคมและการเมือง เว็บบอร์ดประชาไทปิดตัวลงเมือ 31 กรกฎาคม 2553 โดยจรีนุช เปรมชัยพร ให้เหตุผลในจดหมายถึงผุ้อ่านและสมาชิกเว็บบอร์ดว่าเป็นเพราะสถานการณ์การจับกุมผู้โพสต์แสดงความคิดเห็นในพื้นที่ออนไลน์เกิดขึ้นอย่างต่อนเนื่องในช่วงดังกล่าว ทั้งนี้เป็นข่าวและไม่เป็นข่าวจากข้อกล่าวหา "เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ" ด้วย พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์, พ.ร.ก. สถานการณ์ฉุกเฉิน และกฎหมาอาญามาตรา 112...th.wikipedia.org/wiki/ประชาไท
           
ทวีพร : คุณเห็นว่าสถานการณืของภาษามลายูในปาตานีในปัจจุบันเป็นอย่างไร ?
ชินทาโร : ในด้านคุณภาพ ผมของอะิบายว่า ขณะนี้แทบจะไม่มีเจ้าของภาษามลายูปาตานีที่สามารถสนทนาเป็นเวลานานโดยไม่ได้รับอิทธิพลจากภาษาไทย ทั้งในรูปแบบของการยืมคำหรือวลร กรเปลี่ยนรหัสภาษา Code-Switching หรือแม้กระทั่งการเปลี่ยนภาษา Language Shift
           นี้คือความจริงที่ขมขื่นมาก แต่ที่สำคัญคือ ภาษามลายูปาตานีอ่อนแอ ผมอธิบายว่า ภาษามลายูปาตานีเข้าชั้นผุ้ป่วยไอซียู จำนวนผุ้พุดภาษามลายูปาตานีกำลังลดลงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเมืองและคลังคำก็ลดลงด้วย เพราะคำเดิมถูกแทนที่ด้วยคำยืมจากภาษาไทยจำนวนมาก จนกระทั่งการสนทนาระหว่างผู้ใช้ภาษามลายูปาตานีกับภาษามลายูแบบมาเลเซียหรืออินโดนีเซียนั้นเข้าใจกันยากแล้ว จำนวนผุ้ที่ไม่สามารถเขียนหรืออ่านภาษามลายูปาตานีเพิ่มขึ้นอย่างน่าตกใจ และสังเกตได้ว่ามีการใช้อักษรไทยเป้นตัวเขียนภาษามลายูปาตานีในสื่อสังคมออนไลน์อย่างชัดเจน
ทวีพร :     ภาคประชาสังคมอภิปรายเรื่องการส่งเสริมกรใช้ตัวอักษรยาวี ซึ่งส่วนใหญ่ใช้เฉพาะในปาตานีบางคนลอกว่าคนปาตานีควรละทิ้งตัวอักษรและนำตัวอักษรรูมี (อักษณโรมัน) มาใช้ เืพ่อให้ทันกับโลกมลายูทีเหลือ คุณคิดอย่างไร ?
ชินทาโร : ผมสนับสนุนการใช้อักษรยาวีเพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง ประการแรก ประสบการณ์ในอดีตของ ชาวมลายูปาตานีแตกต่างจากผุ้พุดภาษามลายูในประเทศมาเลเซียหรือประเทศอินโดนีเซีย เช่น เขาใช้ตังอักษรโรมันอย่างเป้นทางการเมืองประเทสเป็นเอกราช แต่ชาวมลายูปาตานีไม่เคยมีการจัดระบบการเรียนรู้อักษรโรมันอย่างเป็นระบบ ในทางตรงกันข้ามอักษรยาวีเป็นที่แพร่หลายและใช้ในสถาบันการศึกษาตามขนบจารีตในพื้นที่ เช่น ในโรงเรียนตาดีกา และโรงเรียนปอเนาะ
         
มวีพร คุ้มเมธา
ดังนั้น การใช้ระบบกาเรขเียนใหม่หรือระบบการเชียนที่ใช้ตัวอักษรต่างประเทศ เช่น อักษรโรมันหรือระบบการเขียนด้วยอักษรไทยที่มีคนคิดขึ้นมา (ซึ่งผมต่อต้านโดยสิ้นเชิง)  ไม่มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติเท่ากับการส่งเสริมอักษรยาวี ซึ่งอย่งน้อยคนส่วนมากในพื้นที่ยังอ่านได้ เมื่อเรามีระบบการเขียนที่ใช้กันในวิถีปฏิบัติแล้ว และเราจะนำสิ่งอื่นเข้ามาเพื่ออะไร
            นอกจากนี้ อักษรยาวียังมีคุณค่าทางวัฒนธรรมบางอย่างผูกพันกับอัตลักษณ์มลายูปาตรนีอักษรยาวีได้สูญเสียสถานะของการเป้ฯระบบการเขียนหลักในส่วนอื่นๆ ของโลกมลายู แม้ในประเทศมาเเซียที่เคยใช้อักษรยาวีกันอย่างแพร่หลาย ในขณะนี้ปาตานีคือสถานที่เดียวในโลกมลายู ซึ่งภาษามลายูเขียนด้วยอักษรยาวีมีสถานะเด่นกว่าภาษามลายูเขียนด้วยอักษรโรมัน
ทวีพร :      คุณคิดว่าความพยายาสนับสนุนอัตลักษณ์มลายูของรัฐไทยช่วง 10 ปีที่ผ่านมาเป็นอย่างไร ?
ชินทาโร :  ก็ยังดีกว่าไม่ทำอะไรเลย แต่ก็เหมือนกับนโยบายที่ดีอื่นๆ คือไม่ได้นำไปปฏฺิบัติอย่างทั่วถึง
                   ศูนย์อำนวนการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) โดยเฉพาะสมัยที่พันตำรวจเอก เอกทวี สอดส่อง เป็นเลขา ศอ.บต. ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสำคัญๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษามลายู รวมทั้งการจัดตังสถาบันภาาามลายูแห่งประเทไทย บางคนอธิบายว่าสภานี้เทียบเท่าสถาบันภาษาและวรรณคดรแห่งชาติมาเลเซีย ด้านหนึ่งก็จริง แต่เราไม่ควรมองข้ามความจริงที่ว่าสถาบันภาษามลายูประเทศมาเลเซียมีการคุ้มครองทางกฎหมายสามชั้น คือสถานะของภาษามลายูเ็นภาษาประจำชาติ ซึ่งบรรจุไว้ในรัฐธรรมนูญ มีพระราชบัญญัติภาษาซึ่งกำหนดว่าหน่วยงานภาครัฐทุกแห่งจะต้องใช้าษามลายู และพระราชบัญญัติสถาบันภาษาและวรรณคดีแห่งชาติมาเลเซีย เป็ฯกฎหมายรองรับสถานะของตัวสถาบันเอง ในประเทศไทยสภาภาษามลายูแห่งประเทศไทยไม่มีฐานทงกฎหมายใดๆ รองรับนอกจากนี้ ก็ควรจะเน้น่าการดำเนินการด้านภาษามลายูในประเทศไทยยังอยู่ในระดับผิวเผินมาก ในแง่ของป้ายในหน่วยงานภาครัฐจำนวนไม่น้อยที่ยังไม่มีป้ายภาษามลายู ป้ายภาษามลายูที่มีอยู่เฉพาะด้านหน้าอาคารแต่ไม่ไม่ป้ายภายในอาคาร
ทวีพร : สถานการณ์ภาษามลายูในประเทศอื่นๆ เป็นอย่างไร และได้รับผลกระทบจากการเป็นอาณานิคมอย่างไร ?
ชินทาโร : เนื่องจากมาเลเซียและอินโดนีเซียได้รับเอกราช ภาษามลายู (มาเลเซีย) และภาษาอินโดนีเซียได้รับเลือกให้เป็นภาษาประจำชาติ ภาษามลายูมีสถานะชัดเจนระบุไว้ในรัฐธรรมนูญของประเทศทั้งสอง จากนั้นรัฐบาลของทั้งสองประเทศก็ส่งเสริมภาษาอย่างแข็งขัน ด้วยนโยบายภาษาเชิงสร้างสรรค์และการวางแผนภาษา กระบวนการนี้เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งสำหรับภาษา เช่น ภาษามลายูซึ่งขาดโอาสในการพัฒนาในช่วงเวลาล่าอาณานิคมที่ผ่านมานับร้อยๆ ปี เพราะภายใต้อาณานิคม ภาษาพื้นถิ่นไม่ได้รับสถานะทางการใดๆ ภายใต้การบริหารของเจ้าอาณานิคมหรือในการศึกษาาชั้นูงซึ่งยังครอบงำโดยเจ้าอณานิคม
                เมื่อเทียบกับภาษาอื่นๆ เช่นภาษาญี่ปุ่นหรือภาษาไทยที่ขาดประสบการณือาณานิคม (มแ้ว่าญี่ปุ่นถูกครอบครองโดยสหรัฐอเมริกาเป็นเวลาห้าปีหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ) ภาษาได้ับการพัฒนาเรื่อยๆ และสามารถนำมาใช้ในทางปฏิบัติได้ทุกสาขา รวมทั้งกิจการภาครัฐ การศึกษาชั้นสูงขึ้นและอื่นๆ โดยไม่จำเป็นต้องให้รัฐบาลตั้งใจพัฒนาภาษา แต่ในโลกของชาวมลายู ทุกตารางนิ้ยของแผ่นดินอยู่ภายใต้อาณานิคม ภาษาพื้นถ่ินทุกภาษาถูกตัดโอกาสในการพัฒนา สถานการณ์เปลี่ยนไปต่อเมื่อประเทศเป็นเอกราช และหนึ่งในภาษาท้องถิ่น (ในบริบทนี้คือภาษามลายูและภาษาอินโดนีเซีย) ได้รับการยอมรับเป็นภาษาราชการของประเทศการรับรู้นี้จะนำไปสู่สถานะของภาษาที่มีการรับรองในรัฐธรรมนูญ พร้อมกับการพัฒนาและสนับสนุนจากรัฐในรูปแบบของการวางแผนภาษา ภาษาอินโดนีเซียได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในตัวอย่างที่ประสบความสำเร็จที่สุด้านการวางแผนภาษา จนปัจจุบันเป็นภาษาที่สามาถใช้งานได้จริงเต็มรูปแบบในทุกด้าน เมื่อเทียบกับภาษามลายูที่มีความเข็มแข็ง ภาษามลายูปาตานียังอ่นแอกว่ามาก การใช้ภาษาและคุณภาพภาษากำลังอยู่ในขาลง
ทวีพร : ภาษามลายูมีความสำคัญต่ออัตลักษณ์ปาตานีอย่างไร ?
ชินทาโร : สำหรับคนบางคน ภาษาอาจมิใช้เครื่องบ่งชี้อัตลักษณ์ที่สำคัญที่สุดเสมอไป ในบางสังคมค่อนข้าใช้ภาษาเดียว เช่น ในประเทศญี่ปุ่นหรือสังคมไทย ภาษากระแสหลักคอืภาษาที่โดดเด่น มีความแข็งแรง และเป็นภาษาที่ใช้กันโดยไม่มีการตั้งคำถาม
                 แต่ในโลกมลายู ซึ่งมีการใช้ภาษาแบบพหุภาษา มีผุ้ใช้ภาษาได้หลายภาษาจำนวนมาก ภาษามลายูอยู่ร่วมกันกับภาษาอื่นๆ รวมทั้งภาษาของเจ้าอาณานิคม ในอีกแง่หนึ่ง การสื่อสารในโลกมลายูได้รับประทโยชน์จากการพัฒนาของภาษามลายู เนื่องจากภาษามลายูซึมซับคำยืมจำนวนมากจากภาษาต่างประเทศ รวมทั้งตระกูลภาษาสามชั้นที่สำคัญๆ ที่สุด คือ ภาษาสันสกฤต ภาษาอาหรับ และภาษายุโรป (โดยเฉพาะภาษาอักงฤษ และในกรณีของอินโดนีเซีย คือภาษาดัตช์)
                 อย่างไรก็ตาม อิทธิพลจากภาษาเจ้าอาณานิคมและการจัดระบบการนำคนนอกเข้าในพื้นที่ โดยเฉพาะคนจีนและอินเดียในยุคอาณานิคม คุกคามสถานะของภาษาพท้นถ่ินในโลกมลายู โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษามลายู การล่มสลายของภาษามลายูจากที่เคยเป็นภาษาทางการของรัฐสุลต่านมลายูในหมู่เกาะและคาบสมุทร จนกลายเป็นเพียงแค่หนึ่งในภาษาพื้นถ่ิน มีผลกระทบอย่างลึกซึ้งต่อการพัฒนาของชาวมลายู กล่าวง่ายๆ คือในยุคอาณานิคม ภาาามลายูขาดโอกาสในการพัฒนาไปตามกลาเวลาที่ก้าวล่วงไป จนนักภาษาศาสตร์ชาวมลายู (ซึ่งบังเอิญเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ปริญญาโทของผม) กล่าวว่า ก่อนมาเลเซียเป็นเอกราช ภาษามลายูเป็นแค่ ภาษาตลาดหรือภาษาร้านน้ำชาที่ปราศจากสถานะใดๆ ทั้งในฐานะภาษาราชการหรือภาษาในสถาบันการศึกษาชั้นสูง"
                 ภายใต้สภานการณ์เช่นนี้ ผมเชื่อว่า มันเป็นธรรมชาติมากที่ภาษามลายูซึ่งชัดเจนว่าถูกคุกคามจากคนภายนอก/เจ้าอาณานิคม จะถูกถือว่าเป็นตัวบ่งชี้ทางอัตลักษณ์ที่สำคัญมากที่สุดอย่างหนึ่งของชาวมลายู และคอนเซปต์นี้ก็สามารถนำไปใช้กับคนมลายูปาตานีได้
                 ที่เป็นเช่นนี้เพราะสถานการณ์เฉพาะในประเทศไทย ชุมชนที่พุดภาษามลายูสามารถหายไปในบางกรณีซึ่งแตกต่างจากส่วนอื่นๆในโลกมลายู ยกตัวอย่างเช่น จังหวัดสตูลเป็นพื้นที่ของผุ้พูดภาษามลายูประมาณหนึ่งศตวรรษที่ผ่านมา แต่ในขณะนี้จะมีเพียงหมู่บ้านที่อยู่ติดกับมาเาเลเซียที่ยังคงพูดภาษามลายู (ในรูปภาษามลายูด้วยสำเนียงสตูล) ชุมชนพื้นเมืองที่พุดภาษามายูในเมืองสงขลา ตามเอกสารที่เจ้าหน้าที่ดัตช์บันทึกไว้ ระบุว่าสงขลามีชื่อเสียงโด่งดังว่าเป็นถ่ินที่มีภาษามลายูที่ดี (ดีจนเจ้าหน้าที่ดัตช์ตัดสินใจที่จะศึกษาภาษามลายูที่สงขลา) แต่ภาษามลายูก็สูญหายไปจากสงขลาเป็นเวลานานแล้ว
ทวีพร : มีข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมภาษามลายูในปาตานีอย่างไรบ้าง?
ฮารา ชินทาโร
ชินทาโร : การหายไปของาภาษามลายูไม่ได้เป็นฝันร้ายที่ยังห่างไกลของผุ้คลั่งไคล้ภาษาศาสตร์ แต่เกิดขึ้นในความเป็นจริงแล้ว ส่วนใหญ่เนื่องจากความจริงที่ว่าภาษามลายูไม่มีสถานะทางกฎหมายไดๆ ในประเทศไทย
                  ที่กล่าวมานี้ไม่ได้หมายความว่า ต้องท้าทายสถานะของภาษาไทย ในฐานะภาษาประจำชาติภาษาเดียว (ซึ่งผมเองก็เคารพข้อนี้เต็มที่) ไม่ว่าทางใดทางหนึ่ง อย่างไรก็ตาม ความพยายามที่จะส่งเสริมภาษาใดๆ ย่อมยังคงอยู่ในระดับตื้นเชิน ตราบใดที่ภาษานั้นไม่ได้รับการสนับสนุนด้วยระบบกฎหมาย ยกตัวอย่างเช่น ไม่มีภาษาอื่นใดี่ไม่ใช่ภาษาไทยได้รับอนุญาตให้ใช้เป็นภาษาราชการร่วมในท้องถิ่นในปาตานี ถ้าจะทำให้บรรลุได้ ก็ต้องมีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายบางอย่างให้เกิดขึ้นด้วย ต้องเปิดโอกาสให้มีการอภิปรายเชิงลึกเพื่อส่งเสริมภาษามลายูในปาตานีได้อย่างมประสิทธิภาพ
                  อย่างไรก็ตาม ทัศนคติและการตั้งธงไว้ก่อนของเจ้าหน้าที่ไทยยังเป็นอุปสรรคเสมอๆ ข้อจำกัดในปัจจุบันเกี่ยวกับเสรีภาพในการพูดทำให้สถานการณ์ร้ายแรงมากขึ้น ถ้ามีคนเสนอว่า ควรให้ใช้ภาษามลายูเป็นภาษาราชการในท้องถ่ิน ผู้พุดอาจถูกตีตราว่าเป็นผู้เข้าข้างกลุ่มติดอาวธ และอาจจะถูกล่าวหาว่าเป็นภัยคุกคามต่อคตวามม่นคงของชาติ ในระยะยสั้นนี้ อย่าง้อยในด้านหนึ่งรัฐไทยได้สร้างเ่งื่อนไขความขัดแย้งเสียเอง
                  ถ้าเราต้องการส่งเสริมภาษามลายูจริงจังควรเร่ิมดำเนินการขึ้นตอนจ่างๆ ี่จะต้องทำทันที อย่างไรก็ตาม คนในท้องถิ่นส่วนใหญ่มีความสุขแคเพียงการตำหนิรัฐไทยและนโยบายเชิงรุกและปราบปราม (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอดีต) ต่อการสูญเสียอัตลักษณ์มลายู รวมทั้งภาษามลายู แต่ยังไม่มีส่วนร่วมในกิจกรรมที่ก่อผลใดๆ นอกจากการเล่ินเกมหาแพะรับบาป ในขณะที่ตัวเองแทบไม่ได้ทำอะไรที่จะส่งเสริมคุณภาพของภาษามลายูในพื้นที่ในทางปฏิบัติ
                 รัฐไทยควรจะฉลาดพอที่จะตระหนักว่าปัญหาภาษาเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของตัวตนคนมลายูปาตานี หากรัฐพยายามอย่างจริงใจในการแก้ปัญหานี้ รัฐสามารถลดหนึ่งในเงื่อนไขสำหรับการต่อสู้ของกลุ่มติดอาวุธได้หนึ่งเงื่อนไขเป็นอย่างน้อยprachatai.com/journal/2016/07/66854
                  
          

วันอังคารที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Bahasa ; Confict Part 3

           ในปี พ.ศ. 2490 ฮัจญีสุหลง อับดุลกอเดร์ ต่วนมีมาลย์ (โต๊ะมีนา) โต๊ะอิหม่ามผู้เป็นผุ้นำทางความคิดของชาวปาตานีได้ยื่นข้อเรียกร้องเจ็ดข้อตอ่รัฐบาลไทย โดยข้อสามและข้อสี่ เป้นข้อเรียกร้องเกี่ยวกับภาษามลายู
            "ข้อ 3 ให้ใช้ภาษามลายูและภาษาไทยเป้นภาษาราชการของสี่จังหวัด (ชายแดนภาคใต้), ข้อ 4 ให้ภาษามลายูเป็นภาษากลางของการสอนในโรงเรียนชั้นประถมศึกษา" ข้อเรียกร้องเพื่อสิทธิและความเป็ฯธรรมในการมีส่วนร่วมการในปกครองของคนมลายูทั้งเจ็ดข้อทำให้ฮัจญีสุหลงถูกเพ่งเล็งจากรัฐไทย ถูกตั้งข้อหากบฎ และถูกจับติดคุก ต่อมาในปี พ.ศ. 2497 เขาถูกฆ่าตาย ศพของเขาถูกซ่อนทำลาย ไม่มีเจ้าหน้าที่รัฐคนใดต้องรับผิดชอบ ชะตากรรมของฮัจญีสุหลงทำให้คนมลายูกลุ่มหนึ่งตัดสินใจนับอาวุธต่อสู้
            "ท่านฮัจญีสุหลงไม่ได้ใช้แบตเตอร์รี่แบบแยกส่วนิในภาษากิจกรรมทางศาสนาอิสลาม และความต้องการต่าง ๆ ตามบริบทของท้องถ่ิน บทเรียนากกรณีการถุกบังคับสูญหายของฮัจญีสุหลงหลังยื่นข้อเรียกร้องเจ็ดข้อต่อทางการทยเป็นสวนหนึ่งที่ทำให้ขบวนการสรุปว่า เมื่อกระบวนการสันติวิธีไม่สามาถบรรลุเป้าหมายซ้ำยังถุกกดปราบจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ การต่อสุ้ด้วยอาวุธจึงถุกนำมาใช้" อาบูฮาฟิซ อัลฮากืม แกนนำคนหนึ่งของ มารา ปาตานี องค์กรรมของชบวนการต่อสู้เพื่อเอกราช ให้สัมภาษณ์กับประชาไท
              ความทรงจำในปี 2547ความจำเป็นในกาเปิดพื้นที่ทางภาษาและวัฒนธรรม ดังที่ปรากฎในรายงานของคณะกรรมการอิสระเพื่อความสามานฉันทแห่งชาติ ตั้งขึ้นในสมัยรัฐบาล ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งสระปว่า มีเงื่อนไขสองอย่างที่ทำให้ความรุแแรงงยังมีอยู่ในสามจังหวัดชายแดภาคใต้ โดยหนึ่งในสองนั้นเกี่ยวกับภาษามลายู "เงื่อไขทางวัฒนาธรรม คือ ลักษณะเฉพาะทางศาสนาและชาติพันธ์นฃในพื้นที่คือศาสนาอิสลาม ภาษามลายู และประวัติศาสตร์ปัตตานี สิ่งเหล่านี้เป็นเงื่อไยในสังคมซึ่งทำหน้าที่ให้ความชอบธรรมกับการใช้ความรุนแรงหรือทำให้ผุ้คนไม่น้อยยอมรับหรือเห้นด้วยกับฝ่ายที่ใช้ความรุนแรง ทั้งหมดนี้ทำให้ผู้ก่อความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้อาศัยเงื่อนไขทางชาติพันธ์ผสานกับสษสนามาเป้นข้ออ้งให้ควมชอบธรรมกับการใ้ควมรุนแรงในการตอสู้เพื่อเป้าหมายของตนในนามของอัตลักษณ์ความเป็นมลายูมุสลิม" และมีขอเสนออย่างชัดเจนให้ "ประกาศให้ภาษามลายูเป็ฯภาษาทงาน อีกภาษาหนึ่งในจังหวัดชายแดนภาคใต้
              "... หะยีสุหลงเกิดขึ้นเมื่อปีที่แล้ว 2438 ที่กำปงอาเนาะรู มณฑลปัตตานี บิดาส่งไปเรียนศาสนาที่นครเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบย เมื่อสำเร็จการศึกษาและมีบุตรกับภรรยาคนที่สอง จึงตัดสินใจเินทางกลับมายังประเทศไทย
              หะยีสุสุหลง ตั้งใจจะกลับมาเผยแพร่ศาสนาที่มณฑลปัตตานีอันเป็นบ้านเกิด ได้เดินทางกลับมาเมือปี พ.ศ. 2470 ก่อนจะพบว่าชาวมุสลิมที่นั่นยังมีสภาพความเป็นอยุ่ที่แร้นแค้นและนบถือภูมิผีอยู่เป้นจำนวนมาก ซึงขัดกับหลักทงศาสนาอิสลามอย่างรุนแรง จึคงเกิดเป็นแรบันดาลใจให้ก่อตั้งโรงเรียนสอนศาสนา หรือปอเนาะ ขึ้นมาเป็นแห่งแรก ด้วยเงินเริ่มต้นที่รวบรวมหามาได้ สามพันห้าร้อยบาท ต่อมาเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อปี พงศ. 2475 ในรัฐบาลที่มีพระยพหลพลหยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี หะยีสุหลงได้เดินทางเข้าสู่พระนครเพื่อของความช่วยเหลือจากทางรัฐบาล ก็ได้เงินช่วยเหลือจากภาครัฐมาอีก สามพันห้าร้อยบาท รวมเป็นเจ็ดพันบาท ปอเหนาะแก่งแรกในประเทศไทยจึงถือกำเนิดขึ้นมา
             หะยีสุหลง ได้เกี่ยวพันกับทางการเมืองและความขัดแย้งในพื้นที่ซึ่งมีผลกระทบต่อความมั่นคงของราชอาณาจักร เมื่อเป็นผุ้นำเสนอข้อเรียกร้อง 7 ข้อ ที่ให้ความเป็นธรรมและสอดคล้องกับวิุีชีิวิตของชาวมุสลิมในพื้นที่ ต่อรัฐบาลไทยที่มี พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เป้นนายกรัฐมนตรี ขณะที่ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการอิสลามจังหวัดปัตตานี เมื่อปี พ.ศ. 2490 แต่ต่อมาได้เกิดการรัฐประหารขึ้นเมือปลายปีเดียวกัน ได้มีกรเปลี่ยนขั้นรัฐบาลมาเป็นขั้วของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งมีอุดมการณ์ทางการเมืองแตกต่างจากขั้วอำนาจเดิม ข้อเรยกร้องทั้ง 7 ข้อ ของหะยีสุหลงถูกเพ็งเล็งว่าเป้ฯกบฎกระด้างกระเดืองต่อความมั่นคงของราชอาณาจักร จนในที่สุดถูกจำคุกในข้อหาปลุกระดมและก่อการกบฎเพื่อแบ่งแยกดินแดน ซึ่งหะยีสุหลงถูกจัดสินใหจำคุกเป็น สีปี แปดเดือน โทษฐานกล่วร้ายรัฐบาลในเอกสารที่แจกจ่ายยังประชาชนในท้องถ่ิน ส่วนโทษฐานแบ่งแยกดินแดน ศาลพิจารณาให้ยก
              เมื่อพ้นโทษออกมา หะยีสุหลงก็ยังถุกคุกคามจากอำนาจรัฐ จนกระทั่งในเช้าตรู่ของวันสุกร์ที่ 13 สิงหาคม พงศ. 2498 หลังจากเสร็จจากละหมาด ในตอนเช้า หะยีสุหลงพร้อมกับ อาหมัด โต๊มีนา บุตรชายคนโตวัน 15 ปีำหน้าที่เป็นล่ามภาษาไทยเนื่องจากหะยีสุหลงไม่สามาถพูดภาษาไทยได้ ได้เดินทางออกจากบานพักส่วนตัวที่จังหวัดปัตตานี ไปยังกองบัญชาการตำรวจสันติบาลที่จังหวัดสงขลา พร้อมก้วยพรรคพวกอีก 2 คนรวมเป็น 4 คน ก่อนที่ทั้งหมดจะหายสอบสูญไปอย่างไร้ร่องรอย นำมาซึงความเชื่อว่าทั้งหมดถูกฆาตกรรมทางการเมืองด้วยผีมือของตำรวจ ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ภายใต้การบัญชาการของ พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจและรัฐมนตรีว่ากรกระทรวงมหาดไทย ผุ้ซึ่งเป็นเสือมือขวาสำคัญของจอมพล ป. นายกรัฐมมนตี ซี่งเรื่องราวการหายตัวไปของหะยีสุหลงเป็ยข่าวอย่างครึกโครม โดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ไปจนถึงมาเลเซีย และสิงคโปร์
             ทางครอบครัวภราดรและนายเด่นโตด้เดิทนทงเข้าสู่พระนครเพื่อติดตามเรื่องราว ก็ไม่ได้ความคืบหน้าใดๆ แต่ก็ได้รับทราบเพียงว่าเป็นการฆาตกรรมทงการเมืองโดยบุคคลของภาครัฐเองจากปกาคำของ ท่านผุ้หญิ่งละเดเอียด พิบูลสงคราม ภริยาจอมพล ป. จนกระทั่วมีการัฐประหาร ในปี พ.ศ. 2500 รัฐบาลเปลี่ยนขั้ยอีกครั้ง จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ได้มีการื้อฟื้คดีนี้ขึ้นอีกครั้ง ในที่สุดนายตำรวจผุ้ลทมือในการฆาตกรรมครั้งนั้นก็รับสารภาพว่าได้สังหารบุคคลทั่ง 4 ในบังกะโลริมทะเลสาบสงขลาจากคำสั่งโดยตรงทางโทรศัพท์ของรัฐบาลในขณะนัน ผ่านทางผุ้บังคับการตำรวจ จ.สงขลา ด้วยการใช้เชือกรัดคอและคว้านท้องศพทั้งหมดและอำพรงด้วยการนำศพไปผูกไว้กับแท่งซีเมนต์ในทะเลสาบสงขลา ใกล้กับเกาะหนู เกาะแมว ซึ่งต่อมาได้มีการงมหาศพแต่ด้วยระยะเวลจึงไม่พบศฑหรือเศษซากใดๆ..."th.wikipedia.org/wiki/หะยีสุหลง
         
 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)
           ในยุคพ. ต.ต. ทวีพิชิตเป็นเลขาธิการหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ระหว่างปี 2554-2557 ได้มีการเปิดพื้นที่ทางภาษาและวัฒนธรรมมลายูอย่างมีนัยยะสำคัญ จัดตั้งช่องทีวีภาษามลายู 24 ชม. วิทยุภาษามลายู 24 ชม. โดย สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดยะลา การจัดตั้งสถบันภาษามลายูแห่งประเทศไทย เพ่อพัฒนาและส่งเสริมการใช้ภาษามลายูในประเทศไทย และริเริ่มการใสภาษามลายู ตัวยาวี ในป้ายสถานที่ราชการอย่างไรก็ตาม ช่องทีวีภาษามลายู 24 ชม. ก็ถูกล้มเลิกไปหลังรัฐประหาร และเมื่อคณะรัฐประหารย้าย พ.ต.อ. ทวี ไปประจำสำนักนายกรัฐมนตรีก็ไม่ได้มีความคืบหน้อันใดอีก
          ในภาษาไทย (ไทย - มลายูถิ่น)2555 ซึ่งพัฒนาโดยสถาบัวิจัยภาษาและวัมนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล มุ่งป้าไปที่เด็กอนุบาล 1-ประถม 6 ที่พูดภาษามลายูเป็นภาษาแม่หัวใจหลักคือกาเรียนโดยใช้ภาษามลายูถ่ินเชื่อมโยงไปยังภาษาไทย ผ่านเครื่องมือที่สำคัญที่สุดคือ ระบบการเขียนภาษามลายูโดยอักษรไทย ในชั้นอนุบลาลเด็กจะเรียนรุ้การเขียนและสะกดภาษามลายูโดยใบ้สระและพยัญชนะไทย ซึ่งมีกาเพิ่มเสียงเข้าไปอีกแปดเสียง... เมื่อเด็กเข้าใจการเขียนและสะกดอักษรไทยแล้ว จึงเร่ิมเรียนภาษาไทย และเรียนวิชาอื่นๆ เป็นภาษาไทยตาลำดับ โครงการดังกล่วอ้างว่า วิธีการเรียแบบนี้ทำให้เด็กมลายูมีความสุขในการเรียน และมีผลการเรียนดีขึ้น
          สุวิไล เปรมศรีรัตน์ นักวิจัยมีที่มาจากข้อเสนอแนะของคณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ ซึ่งได้เสนอต่อรัฐบาลให้จัดการศึกษาที่เหมาะสมกับฐานทางภาษาและวัฒนธรรมท้องถ่ิน โครกงรดังกล่าวจะ "ช่วยรักษาอัตลักาณ์ความเป็นคนไทยเชื้อสายมลายูไว้ได้ในกระแสแก่งการเปลี่ยนแปลงในสังคมปัจจุบัน ตามความปารถนาของเจ้าของภาษาแล้ว ยังช่วยให้เด็กได้เรียนออย่างมีความสุข"
           ทำให้เด็กเรียนภาษาอังกฤษได้ดีขึ้น แต่ก็มีผุ้มองว่าคือความพยายามที่ให้คนมลายูลิทิ้งอักษรยาวี
           ฮาราบอกว่าเขาไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับภาษาอังกฤษอความตั้งใจทำลายอักษรยาวี และการกลืนให้เป็นไทย ไม่เป็นไปตามความต้องการของประชาชน ส่วนสภาบันภาษามลายูประจำประเทศไทยก็ไม่ได้มีผลงานอะไรเป็นที่ประจักษ์ในการส่งเสริมภาษา "เป็นการเอาผุ้เชียวชาญภาาามลายูไอยู่ในสังกัดศอ.บต.เอาไว้โชว์เพื่อนบ้านและแขกต่างชาติ เป็นแค่ปลือก แต่ไม่เคยมีการแตะทีแก่นของปัญหาเกี่ยวกับภาษาเลย"
            ฮาราคิดว่าโครงการสร้างความไม่พอใจให้ประชาในพื้นที่อย่างยิ่ง เพราะประชาชมองว่าเป็นการดูถูกภาษาท้องถ่ินซึงมีการใช้ในพื้นที่มากว่าหนึ่งศตวรรษแล้ว "ผมคิดว่ ดครงการนี้เป้นผลเสียต่อการสร้างสันตภาพ" ฮารากล่าว และว่า "นี่คืออีกรูปแบบหนึ่งของเมืองขึ้นทางวัฒนธรรม ไม่เคยมีการแก้ปัญหา แต่เป็นการสร้างปัญหาใหม่" เขาเสริมว่า แม้ช่วงที่ ทวี สอดส่อง เป็นเลขาฯ สอ.บต. มีความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเกี่ยวกับภาษามลายูหลายอย่าง แต่ก็ค่อนข้างฉาบฉวย ไม่จริงใจ เช่น การก่อตั้งสถาบันภาษามลายูแห่งแระเทศไทย ซึ่งมีผู้เรียบว่ามีสถานะเทียบได้กับสถาบันภาษาและวรรณกรรมแห่งชาติมาเลเซีย แต่สถาบันดังกล่าวก็ไม่ได้มีสถนะทางกฎหมายรองรับเหมือนที่มาเลเซียน ส่วนปายราชการต่างๆ ก็มีเพียงแค่ด้านนอกอาคารเป็นส่วนใหญ่แทบไม่มีด้านในอาคารเลย
          เสนอว่ารัฐไทยควรทำให้ภาษามลายูมีสถานะทางกฎหมายรองรับ เช่น การันตีในรัฐธรรมนูญในฐานะภาษาของชนกลุ่มน้อย หรือการให้สถาบันเพื่อการพัฒนาภาษามลายูที่สถานะทางกฎหมายรองรับ และการมีแผนการเรียนและพัฒนาภาษามลายูที่รัฐสนับสนุน เขากล่าวว่า นี่เป็นวิธีหนึ่งที่ทำให้ภาษามลายูในมาเลเซียและอินโดนีเซียกลับมามีสถานที่เข้มแข็งหลังได้รับเอกราช
           มารา ปาตานี เสนอหยุดกลุ่มชาติทางภาษา อาบูฮาฟิซ อัลฮากีม แกนนำมารา ปาตานีบอกกับประชไทยว่า ประเด็นภาษามลายูนั้นเป็นประเด็นหลักประเ้ด็นหนึ่งที่มาราปาตานีจะหยิบยกขึ้นมาพุดคุยระหว่างการพูดคุยสันติภาพกับรัฐบาลไทย เมื่อการพุดคุยยกระดับสู่การพูดคุยอย่างเป็นทางการเขาเห็นว่า สาเหตุหลักของความเสื่อมถอยของภาษามลายูในปาตานีคือนโยบายกลืนชาติของรัฐไทย ซึ่งขัดขวางการเรียนการสอน และการใช้ภาษามลายูในระดับทางการ สื่อสารมวลชนก็มีส่วนรองลงมา "หลัง
จากที่สยามได้ใช้นโยบายกลืนชาติ "รัฐไทยนิยม" ภาษามลายูได้ถูกทำให้เสือมถอยลงและลดความสำคัญอย่างเป็นระบบ" อาบูฮาฟิซกล่าว และว่า ปัญหานี้สามารถแก้ไขได้ไม่ยาก เพียงเปลี่ยนนโยบายรัฐเป็นไปในทางตรงกันข้าม เขายังได้พูดถึงฮัจญีสุหลงว่า ได้มอกการณ์ไกลเห็นถึงปัญหานี้ "เมื่อฮัจญีสุหลงเสนอข้อเรียกร้องเมื่อ 60 ปีก่อน ซึ่งรวมถึงข้อเสนอด้านภาษามลายู ท่านคงได้คาดการณ์ไว้แล้วว่า ถ้าปัญหาไม่ได้ถูกแก้ไข ชะตากรรมของภาษามลายูจะหมดหวัง เราได้เห็นแล้วว่า มันเป็นจริงในปัจจุบัน"
           เมื่อถามถึงความพยายามของรัฐไทยในการส่งเสริมภาษามลายูในช่วงสิบปีที่ผ่านมา อาบูฮาฟิซเห็นว่า เป็นที่น่าชื่นชมกับความพยายาม แต่ความพยายามดังกล่วไม่ได้เป็นเพราะรัฐไทยเห็นถึงความต้องการของคนปาตานีแต่เพื่อตอบสนองต่อเหตุผลด้านเศราฐกิจและการเมืองต่อภูมิภาคอาเซียน
          เมื่อถามว่ ในฐานะขบวนการเพื่อเอกราช เขามาองอนาคตของภาษาในปาตานีอย่างไร หากปาตานีได้เอกราชหรือได้สิทธิในการปกครองตัวเอง เขากล่าวว่า มองเห็นคนปาตานีพุดได้ถึงสี่ภาษา คือ ภาษามลายู ในฐานะภาษาของคนส่วนใหย่ในปาตานี, ภาษาอาหรับ เพราะเป็นหน้าที่ของชาวมุสลิมที่ต้องรู้ภาษาอาหรัีบ, ภาษาไทย ในฐานภาษาของชนกลุ่มน้อยในปาตานี, ภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นภาษาสากล แต่ถ้าสกหรับคนไทยพุทธ คงไม่จำเป็นต้องรู้ภาษาอาหรับ
          อาบูฮาฟิซกล่าวว่า เขามองว่า เด็กมาลยูจะเรียนรู้ทั้งอักษรรูมีและยาวี เพราะทั้งสองอย่างมีประโยชน์และมีความสำคัญ และจากประสบการณ์ส่วนตัวของเขา ความรู้ด้านอักษรยาวีทำให้เรียนภาษาอาหรับได้เร็ว และความรู้ด้านอักษรรูมทำให้เรียนภาษาอังกฤษได้เร็วเช่นกัน
          เมื่อถามว่า ในฐานะสมาชิกขบวนการคนหนึ่ง หากปาตานีได้รับเอกรชหรือได้สิทธิปกครองตนเอง เขามีจินตนาการถึงภาาาทางการเและภาษาทำงานที่ใช้ในปาตานีเป็นเช่นไร อาบูฮาฟิซตอบว่า "ถ้าปาตานีได้สิทธิปกครองตนเอง ถ้าไม่ได้เอกราช ก็ไทยและมลายู แต่ถ้าได้เอกราชก็มาลยูและอาหรับ แต่ทั้งอสงกรณี ภาษาอังกฤษจะเป็นภาษาสากล" http://prachatai.org/journal/2016/06/66072
         

วันจันทร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Bahasa ; Confict Part 2

อักษรรูมี
           รูมี "หรือ" ยาวี "ข้อถกเถียงที่ยังไม่จบ
           ชะเอมรีบยา นราธิวาสได้รับรางวัลสาขาวิชาเอกสุนทรียะในปี พ.ศ. 2553 พลวัตภาษามลายูในสามจังหวัดชายแดนภาคี มี ความเห็นพ้องด้วย เขียนขึ้นและลงในหมู่นักวิชาการด้านศาสนาในหมู่นักวิชาการด้านศาสนาเท่านั้นอาจมีสื่อยาที่คุณถนอมผลิตจากกลุ่มจิตแพทย์
           "อักษยาวีที่นี่น่าจะหหว่าเป็นคนที่มีอิทธิพลมากในความหวาดกลัวคนสามารถอ่านเขียนไทยได้ดีกว่ายาวี โดยเฉพาะคนที่มีการศึกษา" ซะการีย์ยากล่าวและว่า "ในสามาจังกวัดผมจะพูดจะเขยนว่า วิศวกรรมศาสตร์เป็นยาวียังไง เหมือนเราตกหลุม และหยุดชะงัก แต่ที่มาเลเซียและอินโดนีเซียภาษาเขาก็อัพเลเวลอย่่างรวดเร็ว แต่ภาษาในสามาจังหวัด ัไมไปไหน"
           ซะการีย์ยา กล่าวหนังสือที่ใช้อักษรยาวี แต่ตำราศาสนาเป็น ที่ใช้เรียนปอเนาะ ซึ่งถูกเขียนขึ้นเมื่อร้อยปีที่แล้ว จังไม่มีศัพท์ที่ร่วมสมัยเพื่อใช้พุดถึงเรื่องในชีวิตประจำวันแม้ว่าจะมีความพยายาจัดทำหนังสือด้วยอักษรยาวีมากขึ้น แต่นั่นก็ไม่เพียงพอ "โดยหลักแล้ว ภาษามันต้องเดินไปหมดเป็นองคกพยพ ทั้งนิตยสาร หนังสือพิมพ์ วรรณกรรม หนังสือทั่วไป แต่ยาวีก็ไม่ได้ถึงไหน ผมุไม่ได้โทษใตีแต่นี้คือสิ่งที่เป้น ส่วนหนึ่งเพราะเราอยู่ภายใต้รัฐไทย ภาษามลายูจึงไม่ได้รับการสนับสนุน
           
อักษรยาวี
ซะารีย์ยาเห็นว่า ควรมีการส่งเสริมการใช้าษามลายู แต่น่าจะเลือกส่งเสริมใช้อักษรที่แทนยาวีเหมือนประเทศเพื่อบ้าน" ถ้าเล่อกรูมี เราจะทันมาเลเซยน อินโดนีเซีย เราสามารถร่วมใช้ภาษาและหนังสือที่เขาพัฒนาไปไกลแล้ว เขามีตำราความรู้ที่เขียนด้วยรูมีเยอะแยะมากมาย เราไปต่อยอดตรงนั้นได้เลย มันจะสร้างความก้าวหน้าทางภาษาได้เร็ว แต่ถ้าเลืกตัวยาวี เรแทบต้องเร่ิมจากศูนย์ ต้องยอมรับวา ยาวีมันใช้ในวงแคบ เป็นส่วนน้อยของโลกมลายู แล้วเมื่อเราจะสื่อสารกับที่อื่น เราก็ต้องเปลี่ยนเป็ฯรูมีอีกที เราควรเลือกอย่างใดอย่างหนึ่งถ้าเรียนและใช้ควบคู่กันไปทั้งอสองอย่าง มันก็จะอ่นอแอ ไม่ดีสักอย่าง " กวีซีไรต์กล่าวและเสริมว่า "เืพ่อควมก้าวหน้าของภาษาและโลกความรู้ เราควรเลือกรูมี ถ้าเรียนรูมีตั้งแต่เด็ เรียนมัธยมจบก็ไปต่อมหาลิทยาลัยที่มาเลเซียได้เลย ไม่ต้องไปเรียนปรับพื้นฐานภาษา รียนตัวรูมีอีกที นี่ผมพยายามองโลกอย่งตามความเป็นตริงที่สุด"
              อย่ไรก็ตาม ในฐานะนักเขียน ซะการีย์ยาบอกง่า ถ้าให้เขาแนะนำเยาชนมลายูว่าจะฝึกเขียนงานวรรณกรรมและกวีเป็นภาษาอะไร เขาจะแนะนำให้เขียนเป็นภาษไทย เพราะจะทำให้มีที่ทางในวงการหนังสือและวรรณกรรมไทย "ถ้าคุณเขียนยาวี พื้นที่คุณแทบไม่มี คุณเขียนเป็นรูมีก็ได้ ถ้าคุณเขียนได้ดี เขียนได้ถึง คุณก็จะมีพื้นที่ที่ทาเลเซีย"
              แต่ภาคประชาสังคมในปาตานีส่วนใหญ่ดุจะให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์และส่งเสริมการใช้อักษรยาวีมากกวา
              ฌายิบ อาแวบือซา ผุ้เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรมมลายู กล่าวว่า เขารู้สึกเป็นห่วงอักษรยาวี เพราะมีความสำคัญนการใช้อ่านและทำความเข้าใจหนังสือเก่าๆ ซึ่งได้บันทึกภูมิปัญญาของชาวมลายูในสมัยก่อนเอาไว้ และยังแสดงถึงความรุ่มรวยทางภาษา หากภาาาหายไป ภูมิปัญญาส่วนหนึ่งก็อาจหายไปด้วย นอกจากนี้ อักษรยาวี ยังเข้ากับเสียงในภาษามลายูได้ดีกว่วอักษรรูมี
              ฮาราเห็นว่าต่างจากซะการีฐย์ยา โดยให้เหตุผลว่า การส่งเสริมให้ใช้อัการยาวีมีความเป็นไปได้มากกว่ารูมี เพราะว่าชาวมลายูปาตานีผ่านการเรียนอักษรยาวีในระบบการศึกษาแบบดั้งเดิมในโรงเรียนตารกีกา และโรงเรียนปอเนาะชาวปาตานีจำนวนหนึ่งจึงสามารถอ่านตัวยาวีได้อยู่แล้ว แต่ที่ปาตานีมีได้มีการเรียนการสอนตัวรูมี การใช้ตัวรูมีจึงไม่น่าจะสามารถใช้ได้จริง "เมื่อเรามีระบบการเขชียนที่ใช้กันจริงอยู่แล้ว เราจะไปนำอย่างอื่นมาทำไม" เช่นเดียวกับฮารา ซอลาหุดดีกล่าวว่า  "ยาวีเป็นอัตลักษณ์ มันมีความสำคัญทางจิตใจของคนที่นี้"
            ฮาราชี้ให้เห็นถึงสภาวะที่ภาษามลายูถูกคุกคามจากการเป็นเมืองขึ้น และการฟื้นฟูหลังการเป็นเมืองขึ้น ดดยยกตัวอย่างประเทศมาเลซียว่า ไในระว่างการเป็นเมืองขึ้น ภาษามลายูสูญเสียโอกาสที่จะพัฒนาอย่างที่ควรเป็นไปตามกาลเวา นักวิชาการด้านภาษามลายูที่ำคัญคนหนึ่ง อธิบายถึงภาษามลายูก่อนมาเลเซียได้รับเอกราชว่าเป็น ภาษาของร้านกาแฟและตลาด ไม่มีท่ทางในที่ทางแบบทางการและในสถาบันศึกษาระดับสูง" ภายใต้สถานการณืเช่นนี้ ผมเชื่อว่า มเป็นธรรมชาติมาก ที่ภาษา ซึ่งชัดมากว่าถูกคุกคามจากคนนอก(เจ้าอาณานิคมป ควรถุกถือว่าเป็นหนึ่งที่สิ่งแสดงอัตลักษรืที่สำคัญทีุ่ดของชาวมลายู และนี้ก็สามารถประยุต์กับสภานการณ์ที่เกิดขึ้นกับชาวมลายูปาตานี"
            เพื่อให้ภาษามลายูได้พัฒนาอย่างเต็มที่ ฮาราเสนอว่า รัฐบลาลไทยควรทำให้ภาษามลายูมีสถรนะทางกฎหมายเพื่อให้แน่ใจว่า ภาษามลายูจะได้รับการสนับสนุนและพัฒนาจากรัฐ และพัฒนาอยางเต็มี่ในทุกๆ ด้าน เช่น เดียวกับภาษามลายูในมาเลเซียและอินดดนีเซีย "สถานะทางกฎหมายของภาษาเป็นปส่ิงที่สำคัญอย่างยิ่งยวดต่อการพัฒนาภาษานั้นๆ อย่างไรก็ตาม สถานะทางกฎหมายไม่สามารถการันตีการช้ภาษาอย่างเต็มที่เสมอไป" ฮารายกตัวอย่างสถานของภาษามลายูในมาลเซีย และอินโดนีเซียที่ต่างกัน ในขณะที่ในมาเลเซีย ภาษามลายูมีสภานะทางกฎหมายที่เข้มแข็ง ในฐานะภาษาแห่งชาติ และเป็นภาษาทางการภาษาเดียวของประเทศแต่ในความเป็นจริง ภาษาที่มีความสำคัญในการก้าวหน้าทางการงานและสังคม คือ ภาษาอังกฟษ ซึ่งถุกให้ความสำคัญมากกว่าลายูมาก "ในแง่นี้ จิตวิญญาณของมาเลเซียยังไม่ได้รับเอกราช ความนึกคิดของผุ้คนยังคงอยุ่ในอาณานิคม"
           
  ภาษามลายูเป็นส่วนหนึ่งของรากเหง้าความขัดแย้งที่นำไปสู่การลุกขึ้นสุ้โดยการจับอาวุธของคนมลายุในปาตานี ซึ่งเป็นปมที่เกิดขึ้นเมื่อเกือบ 80 ก่อน เมื่อจอมพล ป. พิบูลย์สงคราม นายกรัฐมนตีในขณะนั้น ออกนโยบายรัฐนิยม บังคับทางวัฒนะรรมให้พลเมืองไทยทั้งประเทศรียนและพุดภาษาไทย เลิกการเรียกคนตามชาติพันธ์ หากให้เรียกว่าเป็น "คนไทย" ทั้งหมด และแต่งกายแบบเเดียวกันามที่รัฐกำหนด เพื่อปลุกความรุ้สึกชาตินิยมและทำให้ดูทัดเทียมอารยะประเทศ ในช่วงที่ประเทศเผชิญภัยสงครามโลกครั้งที่สอง
           นโยบายดังกล่าวมีผลกระทบอย่างยิ่งยวดต่อชาวมลายุ เพราะภาษาที่ผุ้คนใช้ในชีวิตประจำวันและเรียนในดรงเรียนคือภาษามลายู โดยเแฑาะในวิชาศาสนา นโยบายรัฐนิยมจึงสร้างความไม่พอใจแก่ชาวมลายูเป็นอย่างมาก
           นอกจากนโยบายรัฐนิยมแล้ว เมื่อประมาณ 60 ปีก่อนยังมีการกวาดล้างหนังสือต้องห้ามภาษามลายูเล่มสำคัญชือ่ ประวัติศาสตร์ ราชอาณาจักรมลายูปาตานี ดดยอิบราฮิม ซุกรี ซึ่งตีพิมพ์ในปี 2503 เป็นหนังสือที่ถุกขนานนามว่า "เป็นประวัติศาสตร์นิพนธ์เล่มแรกที่ได้สร้างแม่แบบการเล่าเรือง  ให้กับประวัติศาสตร์ปาตานีในเวลาต่อมา" หรือ เป็นประวัติศาสตร์ฉบับ "เจ็บปวด" ของคนมลายูปาตานีที่ถุกรัฐไทยกรุะทำ...
           แม้หนังสือเล่มดังกล่าวถุกแนโดยทางการไทย และทางการมาเลเซีย ด้วยข้อหาเป็นหนังสือปลุกระดม แต่ก็ยิ่งทำให้ชาวปาตานี้อย่างอ่าน หยากรู้และอยากเผยแพร่หนังสือเล่มนี้ พล.ต.ต. จำรูญ เด่มอุดม ตำรวจเกษียรราชการและผุ้เชียวชาญด้านประวัติศาสตร์ปาตานี กล่าว และว่า เหตุการณ์นี้ยิ่งทำให้เกิดบรรยากาศแห่งความกลัวครอบงำหนังสืออักษรยาวี
           "สมัยก่อน แค่การมีหนังสืออัการยาวีไว้ในครอบครองก็อาจถุกสงสัยแล้ว ถูกสงสัยว่าเป้นหนังสือปลุกระดมเพราะตำรวจไทยไม่เข้าใจ อ่านยาวีไม่อก แค่พบว่าเป็นตัวยาวีก็จะพยายามยัดข้อหาให้ เช่น ขัดนโยบายจอมพล ป. หรือ ปลุกระดม คนที่มีหนังสือตัวยาวีอยู่ก็ต้องเอาไปซ่อน หรือไปเผา ครูที่สอนหนังสือตามโรงเรียนแบบดั้งเดิม ซึ่งสอนเป็นมลายุก็ถูกคุกคาม หลยคนหนีไปอยู่กลันตัน" พล.ต.ต. จำรูญ กล่ว และกล่าวต่อว่า การพยายามกดดันในเรื่องภาษามลายู และการกดทับโรงเรียนปอเนาะ มีความเชื่อโยงกัน "ทำให้คนมลายูมองว่า รัฐไทยพยายามแทรกแซงกิจกรรมทางศาสนา ส่วนรัฐบาลก็มองวา คนมลายู จะใช้ภาษามลายูและปอเนาะเป็นที่ปลุกระดมมวลชน"
       
 ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ผุ้เชียวชาญด้านประวัติศาตร์ปาตานี มหาวิทยาลัยะรรมศาสตร์ วิเคราะห์ว่า ตัวยาวีเป้นแก่นหลางของความภุมิใจของคนมลายูปาตานี เพราะเกี่ยวข้อง กับความรุ่งเรืองด้านศาสนา และความรุ่งเรืองของาตานี้ในฐานะเมืองท่า ศุนย์กลางของการต้าขายที่สำคัญในอดีต ในแง่ศาสนานั้นตำราศาสนาซึ่งเขียนดดยอุลามะ (นักปราชญ์ศาสนา) ชาวปาตานี้กลายเป้นตำราที่ใช้ทั่วภุมิภาค ส่วนในทางการต้านั้น ภาษามลายูเป็นภาษากลางที่ใช้ในการต้าขายของราชสำนักในสมัยอยุธยา อย่าที่อยธยาก็ต้องมีคนพูดมลายุได้ ภาษามลายูมีฐานะของมันตั้งแต่สมัยอยุธยา ในขณะภาษาไทยไม่ได้ใช้ในการต้าขายอะไรเลย ภาษามลายูคือภาษาเดียวกับที่ใช้กับคาบสมุทรมลายูทั้งนั้น เป้ฯภาษาที่ใช้ในกาติดต่อค้าขายเป้นหลัก อาจเรียกได้ว่าเป็นภาษาของภูมิภาคก็ได้"
          ดัจแคน แม็กคาร์โก ศาสตราจารย์ด้านรัฐศาสตร์มหวิทยาลัยลัดสกล่าวได้ในหนังสือ "ฉีกแผ่นดิน อิสลามและปัญหาความชอบธรรมในภาคใต้ ประเทศไทย" ว่า โรเรียนปอเนาะนั้น เป็นอุปสรรคสำคัญที่ทำให้นโยบายผสมกลมกลืนคนมลายูให้เป้นไทยไม่ยังผล เพราะปอเนาะนั้นเป็นฐานะที่มั่นของอัตลักษณ์ด้านภาษามลายูและศาสนอิสลาม เขาเสริมว่ารัฐไทยได้พยายามจัดระเบียบโรงเรยนปอเนาะด้วยกาออกฎเกณฑ์ต่างๆ มาตั้งแต่ทศวรรษ 1960 และหลังจากที่เหตุการณ์ความรุนแรงประทุขึ้นเมือง 12 ปีก่อน โดรเงเรียนปอเนาะถูกเพ่งเล็งว่าเป็นแหล่งบ่มเพาะความคิดแบ่งแยกดินแดนและแนวคิดญิฮาด นำมาสูการพยายามทำปอเนาะให้ "เป้นไทย" โดยใช้นดยบายจูงใจให้เจ้าของดรเงเรียนปอเนาะเปลี่ยนแอเนาะเป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ซึ่งจะมีการสอนวิชาศาสนา ควบคู่กับไลักสูตรสามัญซค่งสอนเป้นภาษาไทยhttp://prachatai.org/journal/2016/06/66072

วันอาทิตย์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

ฺBahasa ; Confict

           ปมความขัดแย้ง "ภาษามลายู" สามจังหวัดชายแดนใต้ เมื่อรัฐไทยพยายามกลืนความเป้นปาตานีผ่านภาษา หนึ่ง ในชนวนความรุนแรง หวั่นอัตลักษณ์ปาตานีสิ้นสูญ มารา ปาตานี เตรียมเสอนวงคุยสันติภาพนำข้อเสนอฮัจญีสฺหลงกลับมา ใช้ภาษามลายูป็นภาษาราชการ
           มูฮำหมัด คือราแม ริ่เร่ิมการทำหนังสือพิมพ์ "ซีนารัน" ซึ่งนสพ. รายสองเดือน ภาษามลายูอักณายาวี เป็นครั้งแรก นสพ. ดังกล่าวมีเนือหาเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวในวงการภาคประชาสังคมมลายู ข่าว สังคม และเรื่องบุคคลนีน่าสนใจในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือที่คนท้องถ่ินเรียกกันว่า ปาตานี
          เพื่อป้องกันการถูกระแวงและสงสัยจากฝ่ายความมั่นคง เขาได้ออกแบบให้บนหน้าปกของซีนารันมีการแนะนำเรื่องในฉบับเป้นภาษาไทยด้วย "เราจะใช้ยาวีร้อยเปอร์เซนต์ไม่ได้ เพราะเราจะถูกฝ่าวความั่นคงสงสัยทันที่วาเรื่องอะไร เราเจอนิสัยคนไทยว่า ไม่ค่อยแฮปปี้กับความแตกต่างเท่าไหร่ ภาษาไทยบนหน้าปกจะช่วยลดความหวาดระแวง

          กลุ่มเป้าหมายหนึ่งของซีนารันนี้คือ ขบวนกาเพื่อเกราชปาตานี โดยเฉพาะคนที่อยู่ต่างแดนที่อาจอ่านภาษาไทยไม่ได้" ถ้าจะสื่อสารกับขบวนการ บางคนในขบวนการเขาอ่านไทยไม่ดไ้ แต่เขาอ่านมลายูได้ เราจึงพยายามเสนอเรื่องที่สื่อกระแสหลักไม่เล่น เราพยายามเสอนเรือ่องของภาคประชาชนให้เขารู้เรื่องของคนใน เราเชื่อว่าอย่างน้อย ข้อมูลข่าวสารอาจช่วยเปลี่ยน การใช้อาวุธ เป้ฯทางสันติก็ได้" มูฮำหมัดกล่าวกับประชาไท นอกจากนี้ ที่ผ่านม คนปาตานีขาดการสื่อสารปัญหาความขัดแย้งกับประชาคมชาวมลายูด้วยกัน ที่อยู่ในมาเลเซียและอินโดนีเซียนเพราะไม่มีสื่อในภาษามลายูให้พวกเขาอ่าน ทำให้แม้จะเป้ฯคนชาติพันธุ์เดียวกันก้ตาม พวกเขาก็ไม่ไ้มีความเช้าใจปัญหาเท่าไหร่ เพราะก็ับรู้เรื่องปาตานีจากสื่อภาษาอังกฤษที่ผลิตจากกรุงเทพ
         เนื่องจากการเขียตัวยาวีในปัจจุบันไม่แพร่หลายนัก คนรุ่นเป้าไปที่นักเรียนโรงเรียนปอเนาะ ซึ่งเป้นโรงเรียนจารีตดั้งเดิมของชาวมลายูมุสลิมในชายแดนใต้ ซึ่งเน้นสอนวิชาศาสนาอิสลาม ภาษามลายู และภาษาอาหรับ ปรากฎว่า ในรุ่นแรกๆ ของนักเรียนปอเนาะที่เข้าอบรม มีนักเรียนคนหนึ่งถูกสงสัยว่าเกี่ยวข้องกับเหตุความไม่สงบ "มันอาจแปลได้ว่า คนที่ภุมิใจกับอัตลักษณ์ มีความซ้อนทับกับคนต้องการเมอร์เดกา (เอกราช)" มูฮำหมัดบอกกับประชาไท และหัวเราะเขาเล่าด้วยว่า มีโครงการจะทำเว็บไซต์สำนักข่าวออนไลน์ภาษามลายู ซึ่จะผลิตข่าวเกี่ยวกับสามจังหวดัเป้นภาษามลายู อักษรยาวี อักษรรูมี ภาาาทไย และภาษาอังกฤษ โดยเน้นที่ภาษามลายูเป็นหลัก
          ซอลาหุดดีน กริยา หรือที่รู้จักในนาม โซลา กาเรีย เป็นอีกคนหนึ่งที่พยายมอนุรักษ์และพัฒนาภาษามลายูตัว อักษรยาวี ในฐานะหัวหนากล่าอาวัฒบุก๊ก เขาได้พัฒนาชุดคีย์บอร์ดยาวีแบบปาตานี และฟอนต์ยาวี เพื่อให้ภาษามลายู อักษรยาวีแพร่หลายยิ่งขึ้นในในการสื่อสารอิเล็กทรอนิคส์ ซึ่งเป็นช่องทางสื่อสารหลักของผุ้คนยุคนี้ และสะดวกในการใช้ในงานพิมพต่างๆ หลังการพัฒนาเสร็จ เขาบอกว่าจะยกเงานนี้ให้เป้ฯสมบัติสาธารณะ ซอลาหุดดีนมองว่า การทำให้ยาวีตามทันเทคโนโลยีเพื่อเป็นตัวเลือกในการใช้สื่อสาร คือการแก้ปัญหาที่ตรงจุด "ถ้าไม่มีการพัฒนาอักษรยาวีให้ตามทันเทคโนโลยียุคใหม่ คนก็จะไม่ค่อยใช้ แล้วภาษาจะตายไป เราต้องทำเพื่อต่ออายุอักษรยาวี และเป้็นทางเลือกที่เท่าเทียมกับภาษาอื่นๆ ในคนปาตานีเลือกใช้"
          หัวหน้าหลุ่มอาวัณบุ๊กบอกกับประชาไทวา ปัจจุบันเมื่อคนปาตานีจะพิมพ์อักษรยาวี จะใช้คย์บอร์ดอาหรับ แต่เนื่องจากชุดอักชระอาหรับขาดอักษรที่ถุกคิดค้นเพิ่มขึ้นห้าตัวเพื่อแมนเสียงภาษามลายูที่ไม่มีในภาษาอาหรับจึงทำใหพิมพ์ได้ไม่ถูกต้องนัก กลุ่มอาวัฒบุ๊กจึงพัฒนาคีย์บอร์ยาวีขึ้นใหม่ และแม้มาเลเซียจะพัฒนาคีย์บอร์ดยาวีขึ้นในปี 2555 ก็เรียงตัวอักษรโดยเทียบกับีย์อยร์ด ของภาษาอังกฤซึ่งไม่เป็นที่คุ้นเคยสำหรับคนปาตานี้ที่คุ้นเคยกับการเรียงตัวอักษรแบบอาหรับ ส่วนฟอนต์ยาวี นั้น ฟอนต์ที่มีอยู่ก็ถูกพัฒนาขึ้นมาหลายสิบปีและ้ และไม่ใช้ระบบยูนิโคด (ระบบฟอนต์ที่ทำให้ผอนต์ชุดหนึ่งใช้ได้กับทุกระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์) ทำให้เป็นอุปสรรคกับการใช้งานบนคอมิวเตอร์และากริมพ์สิ่งพิมพ์ ความล้าหลังทางเทคโนโลยี และไม่ตอบสนองต่อการใช้งานเป้นสาเหตุสำคัญที่ทำให้คนหันไปสื่อสรด้วยภาษาที่ตองสนองมากว่าแทน อย่างภาษาไทย
          เขาเล่าต่อว่า เพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนาภาษาอย่างจริงจังและถูกจุด กลุ่มอาวัณบุ๊กวางแผนจะตั้งสถาบันเรียนรู้และพัฒนาภาษามลายูในสามจังหวัดชายแดภาคใต้ ซึ่งเปรียบเสือมนาชบัณฑิตสถานของภาคประชาชนปาตานี สถาบันดังกล่าวจะทำหน้าที่กำหนดมาตฐานทงภาษา และคอยกำกับดูแลการพัฒนาภาษาในพื้นที่จัดตั้งคลินกิภาษามายู และผลักดันหรือต่อรองกับรัฐในการให้การส่งเสริมภาษามลายูให้ตรงจุด เพื่อให้ภาษามลายูมีศักดิ์ศรีและเท่าเทียมกับภาษาไทย และทำให้แน่ใจว่า นโยบายภาครัฐที่ออกมาตรงกับความต้องการของประชาชนในพื้ที่อย่างแท้จริง นอกจากนี้ เขายังได้ผลิตเว็บไซด์ ซึ่งผลุิตข่าวสารทั้งากรเมืองสังคม ในภาษามลบยูอัการยาวี เพื่อส่งเสริมการใช้อักษรยาวีในวงกว้างอีกด้วย
               
ปัจจุบัน ชาวมลายูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ใช้ภาษาไทยมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะคนรุ่งใหม่ที่อาศัยอยู่ในเมืองสามารถใช้ภาษาไทยได้ดีพอๆ กับคนที่อื่นของประเทศ แต่ในขณะเียวกัน พวกเขาใช้ภาษามลายูและตัวยาวีน้อยลง ด้วยคุณภาพที่ต่ำลง ฮารา ชินทาโร ผุ้เชียวชาญด้านภาษามลายู เปรียบเปรยสถานการณ์ของภาษามลายูในปาตานีว่าอยู่ในชั้น "ไอซียู" คืออยู่ในขั้นวิกฤติ ร่อแร่ ใกล้คายเลยที่เดียว
              "มันเป็นความจริงที่น่าขมขืนว่า ภาษามลายูในปาตานีนั้นอ่อนแอมากๆ" ฮารากล่าวแลว่า ภาษามลายูในปาตานีนั้นร่าเป้นห่วงมาก ทั้งในแง่ของจำนวนคนใช้มลายูที่มีจำนวนน้อยลงโดยฉพาะในเมือง คำศัพท์ก็มีให้ใช้น้อยลง และคำศัพท์ต่างๆ ถุกแทนที่ด้วคำยืมจากภาษาไทย ซึ่งมีจำนวนมากขึ้นทุกที จนทำให้คนมลายูจากมาเลเซียและอินโดนีเซียฟังไม่เข้าใจ การเขียนภาาามลายูด้วยอักษรไทยในเครือข่ายสังคมออนไลน์ก้มีให้เห็นมากขึ้นเรื่อยๆ "เมื่อพูดถึงคุณภาพ แทบจะไม่มีเจ้าของภาษามลายูชาวปาตานี้คนไหน จะสามารถสนทนาเป้ฯเวลานานได้โดยไม่ได้นำภาษาไทยมาปน ในรูปขอคำนรือวลีที่ยืมมา การปนภาษาและการสลับภาษา" ฮารากล่าว
           "ในขณะที่อังกฤษและดัชต์มาพัฒนาภาษามลายูให้เป็นประโยชน์ต่ออาณานิคมตัวเอง รัฐไทยไม่ได้เข้ามาพัฒนา แต่เข้ามาลบ ซึ่งสามารถทำให้สำเร็จที่สตูล แตคนปาตานี้นั้นพยายามรักษาอัตลักษร์ของตัวเองอย่างเข้มแข็งแต่ในภาวะที่ถุกกด ภาษาก็ไม่มีการพัฒนาทางภาษาเท่าไร คนปาตานีไ้ดแค่ต้านทาน แต่นานๆ ไปก็เสื่อมถอย ตอนนี้ก็ไอซียู แต่ยังไม่ถึงกับหายไป ถ้าเราแก้ไขตรงจุด ก็อาจพัฒนาทันภาษาที่มาเลเซีย อิโดนีเซียได้" ซอลาหุดคีนกล่าว
            ปัจจุบัน การเรียนการสอนภาษามลายูอักษรยาวีมีอยู่เฉพาะในโรงเรียปอเนาะ (โรงเรียนประจำสอนศาสนอิสลามแบบดั้งเิม) ซึ่งเป็นที่นิยมน้อยลงและมจำนวนน้อยลงเรื่อยๆ เพราะรัฐไทยไม่สนับสนุ ทั้งยังพยายามเปลี่ยนปอเนาะให้เป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม โรงดรีเยรตาดีกา(โรงเรียนสอนศาสนานอกเวลาสำหรับเด็ก)และในวิชาศาสนาอิสลามในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนอิสลาม อย่างไรก็ตาม เพราะนโยบายของรัฐบาลไทยที่มุ่งกลมกลืนชาวมลายูให้เป็น "ไทย" โดยเฉพาะในด้านการศึกษา ทำให้การใช้ภาษามลายูของชาวมลายูในสามจังหวัดชาแดยภาคใต้ลดลง และมีคุณภาพต่ำลง โดยเแพาะการอ่านการเขียนอักษรยาวี
           เมื่อถึงช่วงทศวรรษที่ 1990 เด็มลายูถูกห้ามพูดมลายูในโรงเรียน การพุดภาษาแม่ของพวกเขามักนำไปสู่การุกทำโทษ ไม่ว่าจะถูกตี หือถูกปรับ เช่นปรับหนึ่งบาท ต่อคำมลยูหนึ่งคำ นี่คือเกตุผลว่า ทำไมเมื่อช่วงที่ความรุนแรงประทุขึ้นใหม่ๆ มีโรงเรียนจำนวนมากถุกวางเพลิงและเผา" ฮารา เขียนในบทความ "เหตุการณืที่ไม่ธรรมดาสำหรับคนธรรมดา"http://prachatai.org/journal/2016/06/66072

วันเสาร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

ฺBahasa

            "ภาษามลายูเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มมลาโย - โพลลีเซียนเป็นกลุ่มย่อยของภาษาตระกูลออเคสตร้าเซียนภาษามลายูเป็นภาษาราชการและภาษาประจำชาติของมาเลเซียมาเลเซียและสิงคโปร์"
              รัฐธรรมนูญของประเทศมาเลเซียมีประชากรหลายเชื้อชาติที่จะเรียกใช้ภาษาประจำชาติว่าภาษามลายูเป็นภาษาของชนชาติมลายูจะดูไม่เป็นคนธรรมดาอีกต่อไปกลุ่มชนกลุ่มน้อยคือการพูดคุยกับชนกลุ่มน้อยและอื่น ๆ ภาษาอังกฤษ จึงขึ้นด้วยเหตุผลดังกล่าว
              ขณะที่อินโดนีเซียนเรียกภาษามลายูว่า ภาษาอินโดนีเซีย เพราะภาษาอินโดนีเซียนั้นเป็นภาษาใหม่ กำเนิดขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1945 มีรากฐานมาจากภาษามลายูเช่นเดียวกับภาษามาเลเซีย แต่ต่างกันที่สำเนียงการพุดและคำศัพท์บางคำ เนื่องจากอนโดนีเซียเคยเป็นอาณานิคมของดัตช์ ถึง 3 ศตวรรษ
             นากนี้ภาษาอินโดนีเซียยังได้รับอิทะิพลจากภาษาชวา ฮินดู บาลี อาหรับ อังกฤษ เปอร์เชีย ดปรตุเกสพัฒนาเรื่อยๆ มาจนมีการเปลี่ยนแปลงการสะกดคำที่ทันสมัยและง่ายขึ้นอย่างที่ใช้ในปัจจุบัน
             ส่วนบรูไนกับสิงคโปร์เรียกภาษามลายูว่า ภาษามลายุ ตามชื่อเดิม และใช้ภาษามลายูเป็นภาษาประจำชาติ แต่สิงคโปร์ยังมีภาษาประจำชาติอีก 3 ภาษา คือ อังกฤษ จีน และทมิฬ ด้วยความหลากหลายทางเชื้อชาติของประชากรในประเทศนั้นเอง
               โดยสรุปภาษามลายู ภาษามาเลเซีย และภาษาอินดดนีเซียก็คื อภาษามลายูที่ใช้เป้ฯภาษาประจำชาติในประเทศต่างๆ ดังกล่าวมาแล้ว ละยังเป้ฯภาษาหนึ่งที่พุดันในภาคใต้ของประเทศไทย โดยเฉพาะใน 5 จังหวัดภาคใต้ (สงขลาปัตตานีสตูลและนราธิวาส.) อีกด้วย แต่ส่วนใหญ่เป้นภาษามลายูมีรูปแบบต่าง ๆ จากภาษามลายูกลางที่ใช้ในประเทศ
 satapornbooks.co.th/SPBcommunity/novels_episode/4862/8/ ตอนที่ -8- ความเข้าใจเกี่ยวกับบาฮาซาและยาวี /
               ประวัติศาสตร์ความความสัมพันธุ์ระหว่างอาหรับกับมลายูพอจะหล่าวได้ว่า เริ่มตั้งแต่สมัยของการเข้ามาของศาสนาอิสลาม พระปรเมศวรในฐานะสุลต่านองค์แรกแห่งมะละกาที่ทรงรับศาสนาอิสลาม และได้ทรงเปลี่ยนพระนามเป็นสุลต่านมูฮัมหมัดชาห์ ซึ่งคำว่าสุลต่านเป็นช่อเรียกตำแหน่งพระมหากษัตริย์ที่ดั้งเดิมมาจากภาษาอาหรับ
              นับตั้งแต่ที่ศาสนาอิสลามเร่ิมเข้ามาสู่หมู่เกาะมลายู ภาาาอาหรัยกลับได้รับความสนใจ และภาษาอาหรับได้รับการตอบรับอย่างแพร่หลาย เป็นภาษาที่ใช้สำหรับการอ้างอิงที่สำคัญในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับศาสนาอิสลาม ในยุคของการเร่ิมต้นการจักตั้งดรงเรียน และดรงเรียนประจำ (ระบบปอเนาะ)โรงเรียนศาสนา-อาหรับ เมื่อต้นปี 1970 พบว่าภาษาอาหรัีบถูกใช้เป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการจัดทำหลักสูตรเกือบทุกดรงเรียน
              ตามทัศนะของเจแอนโทนีมองว่าการเข้ามาของพรรดาพ่อค้าวานิชชาวอาหรับในภูมภาคเอเดชียตะวันออกเฉียงใต้นั้นเข้ามาในฐานะผุ้เผยแพร่ศาสนาอิสลามทำให้คำในภาษาอาหรับได้แทรกซึมเข้าสู่ภาษา มลายูอย่างที่กำลังเป้นอยุ่ในวันนี้ซึ่งการเผชิญกันระหว่างสองภาษาและสองวัฒนธรรมที่แตกต่างกันนั้นได้ก่อให้เกิดพลวัตรทางวัฒนธรรมซึ่งโดยปกติแล้ววฒนธรรมที่มีความเจริ มีรสนิยมสูงกว่าวัฒนธรรมที่ยังไม่เติบโตเหมือนสังคมที่มีวัฒนธรรมที่เรียบง่ายต้องมีการปรับตัวด้วยความเต็มใจและวัฒนธรรมของสังคมที่มีความเจริญกว่า
             ภาษาอาหรับที่ผ่านการเขียนด้วยภาษาอาหรับได้ทำให้ภาษามลายูมีความย่ิงใหญ่ขึ้นไม่เพียง แต่เป็นภาาาประจำชาติของประเทศมาเลเซียเท่านั้น แต่ยังเป้ฯ ภาษาหลักของคในมู่เกาะมลายูกว่า 250 ล้านคนอีกด้วยดด ประเทศกัมพูชาและกัมพูชา
         
 การออกเสียงภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษในภาษาจีนกลางและภาษาละติน ในเรื่องนี้มีการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนเกี่ยวกับการจัดงานแถลงข่าวการจัดงานแถลงข่าว ีเซียในปี 1945 และในประเทศมาเลเซียในปี 1957
            ชาวมุสลิมส่วนใหญ่ในหมู่ชาวมาเลเซียที่อาศัยอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติและหมู่เกาะคุกได้รับการรับรองว่าเป็นผู้มีส่วนร่วมในการดำเนินการตามกฎหมายของประเทศพม่า ของประเทศในเช็กนี้จะมีพัฒนาการสูงโดยอิงจากสังคมปัจจุบันที่มีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้น ... pataniforum.com/single.php?id=562
             นักปราชญ์ชาวปัตตานีชื่อว่าคานอะฮ่ามัคอัลลอฟ - ฟะฎนีย์ได้วางระบบการใช้ข้อมูลอย่างเป็นทางการในการจดบันทึก เรื่องราวทางศาสนาและการสื่อสารต่างๆนักเรียนในโรงเรียนปรมาณูหรือโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในเขตพื้นที่ภาคใต้ "เด็ก ๆ ทุกคนคิดว่าการใช้ยาเสพติดและยาเสพติดในโรงพยาบาลมีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ชุมชนที่พุดภาษาไทยมลายูปัตตานีมาช้านานตัวอย่างเช่น
         อักษรไทย / อักษรยาวี / อักษรรูมี / คำอ่าน
         วันจันทร์   / نينثا         / Isnin       / อิสมิน
         วันอังคาร / ثالث        / Selasa     / ซลาซา เป็นต้น
         ตัวอย่างบทสนทนา
         อะฮาหมัด : สวัสดครับ เป็นอย่างไร้าง คุรลุงสบายดีไหม / อัซซาลามูอาลัยกุม อาปอกาบา เปาะจิ แซฮะ?
          ลุอาตัน : สวัสดี ก็สบายดี ขอบใจนะ แล้วคุณละ / วาลัยกุมมุซซาลาม กาบา บาเวาะ ลากุ เอะตือรีมอ กาเซะฮ อา มานอ?

          อะฮาหมัด : ผมก็สบายดีครับ / ขอบคุณครับ / ซายอ ยูเกาะ แวฮะ ตือรีมอกาเซะฮฺ...
          ตัวอย่างคำทักทายและกล่าวลา
          สวัสดี - ซลามะ / ฉัน- อามิ, ซายุอฺ อากู / มี - อาดอ
          สวัดีตอนเช้า - ซลามะ + ปาฆี / คุณ - แดมอ. อาเวาะ / ไม่มี - ตะเด๊าะ
          สวัสดีตอนเที่ยง  - ซลามะ + ตือเงาะฮารี / เรา - กีตอ / ขอพูดกับ - เนาะกาเจะดืองา
          สวัสดีตอนเย็น - ซลามะ + ปือแต / ฉันรักคุณ - ซายอกาเซะห์แดมอ / เรียวิชาอะไร - งายี มาดะกะปอ
          สวัสดีตอนค่ำ - ซลามะ + มาแล / ชื่ออะไร ? - นามออาปอ / เงิน - ดูวิ
          อัสสาลามูอลัยกุม เป็นทัีกทายแบบอิสลาม หมายถึง ของความสันติสุขหรือความสุข จงมีแด่ท่าน คนที่ได้ยินคำจะตอบรับว่า "วาอาลัยกุมมุสลาม" ซึ่งแปลว่า ขอความสันติสุข หรือความสุข จงมีแด่ท่านเช่นกัน"...
            http://lakmuangonline.com/?p=3422
     
       
        
          
                  -

วันศุกร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Lolo-Burmese languages

           หลักฐานที่เก่าแก่ทีุ่ดในพม่าที่เกี่ยวข้องกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์โบราณมีอยู่ต้ั้งแต่เมื่อประมาณ 750,000-11,000 ปีก่อนคริสตกลาล มาก่อนแล้ว หลักฐานชี้บ่งบอกว่ามนุษย์ตั้งถิ่นฐาของตัวเองในแถบแม่น้ำอเรวดีตั้งแต่ยุค "อญาเทียน" (ยุคหินพม่า) ช่ววเดียวกับยุคเก่าและยุคกลาวของยุโรป ในุษย์ยุคหินใหม่ในพม่าเริ่มีการเพาะปลูกและเลบี้ยงสัตว์ โดยมีการต้รพบถิ้สามแก่งใกล้เมืองตองยีของรัฐฉาน ประมาณ พันห้าร้อยปีก่อนคริสตกาล ยุคทองแดงพท่า ไ้เิร่ิมทำการปลลูกข้าวและเลี้ยงไก้และหมู ซึ่งถอืว่าเป็น กลุ่มมนุษย์แรกๆ ที่ได้พัฒนาทำแบบนั้น ห้าร้อยปีก่อนคริสตกลกา ชาวพม่าได้ย้ายถิ่นฐานลงทางตอนใต้ซึ่งปัจจุบันคือเมืองมัณฑะเลย์ และมการ้นพบโลงศพของมนุษย์ยุคทองแดงซึงบรรจุ
เครื่องปั้นดินเผาจำนวนมากไว้ในนั้น หลักษฐานทางโบาณคดีที่หมู่บ้านซาหม่องทางตอนใต้ของมํณฑะเลยพบว่ามีการปลูกขจ้าวและค้าขายกับจีนมาตั้งแต่ 500-200 ปีกอ่นคริสตกาลมาแล้ว
           ชาวปยูเป็นกลุ่มแรกในพม่าที่ตังอาณาจักรของตนะเองในทางตอนเหนือของพม่าแบแม่น้ำอิรวดี สันนิษฐานว่าชาวปยูอพยพมาจากบริเวณมณฑลชิงใไห่กับกานสูของจนลงมาสู่ประเทศพม่า และได้รั้งเมืองขึ้นในางตอนเหนือ โดยเมืองที่ใหญ่ที่สุดของชาวปยูมีชื่อว่าเมืองศรีเกษตร ซึ่.ปัจจุบันคือเมืองแปร
           ชาวปยูค้าขายกับจีนและอินเดียมานานแล้ว โดยส่งออกเข้าวเป้นสินค้าสำคัญ และที่น่าสนใจคือชาวปยูมีเหรียญเงินมานานแล้ว ถือเป็นชนกลุ่มแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ผลิตเหรียญเงิน โดยผลิตเงินที่มีรูเล็กๆ โดยมันสามารถเป็นได้ทั้งเิืงนและเครื่องรางอีกด้วย
            ด้านศาสนา ชาวปยูยับถือศาสนาพทธนิการเถรวาท โดยรับอิทธิพลจากอินเดียทั้งภาษา ศาสนาา วัฒนธรรมเข้ามใช้ดดยชาวปยูจะรับอิทธิพลของภาษาบาลีและสันสกฤตเข้ามาใช้ และใช้อักษรพราหมีโบราณในการเขียนเรื่องราวต่างๆ
             เชื่อกันว่าอาณาจักรปยูล่มสลายเมื่อถูกอณจัก่านเจ้าุกรานในพุทธศตวรรษที่ 15 อย่างไรก็ตาม ไ่มีหลักฐานทงประวัติศาสตร์ใดยืยนันว่าเกิดการรุกรานขึ้นในเมืองศรีเกษตร แต่เชื่อกันว่าอาณาักรปยูย้ายราชธานีไปในเมืองที่อยุ่ทางตอนเหนือก่อนการรุกรานนามนแล้วและอาจจะเป็นไปได้ว่าชาวพม่าเริ่มมีอิทธิพลและกลืนกินชาวปยูไปจนหายจากประวัติศาสตร์ในที่สุด พร้อมๆ กับการตั้งอาณาจักรพุกาม
             ชาวมอญเป็นมนุษย์กลุ่มแรกที่ตั้งถ่ินฐานขึ้นในพม่า อาณาจักแรกที่มีการบันทึกไว้ก็คืออาณาจักรทวารวดี ซึงเจริญรุ่งเรืองไปจนกระทั่งคริสศตวรรษที่ 10 จึงถูกอาณาจักรขอมรุกราน และอพยพหนีไปตั้งเมืองทางตอนใต้ของพม่า ชาวมอญได้ก่อตั้งอาณาจักรสะเทิหรือสธรรมวดีขึ้นหลังจากล่มสลายของอาณาจักรทวาราดวี มีกษัตริย์อยุ่ 59 พระองค์ พระองค์สุดท้ายคือ พราะเจ้ามนูหะ ซึ่งถูกพระเจ้าอโนรธามังช่อแห่งราชอาณาจักรพุกามรุกรานและกวาดต้อนพระองค์ไอยู่เมืองพุกาม
         
พุกาม
ต่อมาอาณาจักรพุกามถูกชาวมองโกลรุกราน อาณาจักรมญจึงถูกก่อตั้งขึ้นอีกโดยมีชื่อว่า อาณาจักรหานตาวดี ครั้งแรกทีเมื่องหลวงตั้้งอยุ่ที่เมืองเมาะตะมะ แต่ต่อมาย้ายไปที่เมืองพะโค แต่ต่อมาก็ล่มสลายเมื่อพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้และพระเจ้าบุเรงนองรุกรานอีก
             อาณาจักรหานตาวดีได้ฟื้นฟูขึ้นมาในระยะสั้นช่วงปลายราชวงศ์ตองอุแต่ต่อมาก็ถุกพระเจ้าอลองพญารุกรารและผนวกเป้นสวหนึ่งอของพม่า ทำให้ชาวมญสูญสิ้นแผ่นดินตัวเองนับตั้งแต่นั้นมา
              กลุ่มภาษาพม่า-โลโล เป็นภาษาที่มีผุ้พูดในพม่าและจีนตอนใต้ เป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ภาษานาซีจัดอยุ่ในกลุ่มนี้แต่การจัดจำแนกย่อยลงไปอีกยังไม่แน่นอนอาจจัดให้เป็นสาขาย่อยที่สามนอกเหนือจากกลุ่มภาษาพม่าและกลุ่มภาษาโลโล ภาษาปยูที่เป็นต้นกำเนิดของภาษาพม่าอาจมีความเชื่อมโยงกับกลุ่มภาษาพม่า-โลโล แต่ไม่มีกลักฐานเพียงพอสำหรับการจัดจำแนกทำให้ถูกจัดให้เป้นตระกูลภาษาย่อย ทิเบต -พม่า ที่จัดจำแนกไม่ได้ ภาษามรูซึ่งเป้ฯภาษาที่จัดจำแนกไม่ได้อีก ภาษาหนึ่งเช่อว่ามีความสัมพันธ์กับกลุ่มภาษาพม่า-โลโลเช่นกัน
               ภาษาพม่า หรือ ภาษาเมียนมา เป้ฯภาษาราชกรของประเทศพม่า จัดอยุ่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อันเป้นสาขาย่อยของตระกูลภาาาโดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่า และเป้นภาษาที่สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศังกลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป้นภาาาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียง และเขียนโดยช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง และจัดเป็นสมาชิกในตระกุลอักษณพรามหม่ี
             ภาษาพม่ามาตรฐานคือสำเนียงย่างกุ้ง ภาษาถ่ินในพม่าภาคเหนือและภาคใต้จะต่างจากภาษากลาุง ภาษาถิ่นในเขตยะไข่หรืออารกัน ยังมีเสียง/ร/ แต่สำเนียงย่างกุ้งออกเสียงเป็น/ย/ ภาษาพม่าแบ่งอย่างกว้างๆ ได้ 2 ระดับ  คือระดับทางการใช้งานวรรณคดี งานราชการและวิทยุกระจายเสียง ระดับไม่เป้ฯทางการใช้ภายในรอบครัวและกับเพื่อน พระภิกษุชาวพม่ามักพูดกันเองด้วยภาษาบาลี ซึ่งได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนาth.wikipedia.org/wiki/ภาษาพม่า
            ภาษาเมรู หรือภาษามารู ภาษามูรุง มัผุ้พุดทั้งหมด ห้าหมื่นกว่าคน พบในบังกลาเทศสามหมื่นคน ในตำบลบันดัรบัน พบในอินเดีย พันสองร้อยคน ในรัฐเบงกอลตะวันตก พบในพม่า สองหมื่นคน ในรัฐยะไข่
             จัดอยู่ในตระกุลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขามรู รากศัพท์ใกล้เคียงกับภาษาฮิ่นสำเนียงมโร 13 % เรียงประโยนคแบบประธาน-กริยา-กรรม เขียนด้วยอักษรละติน เป้นภาษาที่มีความเสี่ยงที่จะเป็นภาษาตาย
             ภาษานี้เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มทิเบต-พม่าที่จัดจำแนกได้ยาก เป็นภาษาที่อยู่ระหว่างภาษาพม่า ภาษาเมยเทยในอินเดีย และยังใกล้เคียงกับภาษาฉิ่น แม้ว่าจะเคยจัดจำแนกเป็นส่วนหนึ่งของภาษาฉิ่นแต่ภาษามรูก้ฒีความใกล้ชิดกับกลุ่มภาษาพม่า-โลโลในระดับหนึ่งth.wikipedia.org/wiki/ภาษามรู
           
 กลุ่มปยู หรือภาษาติรกุล เป็นภาษาโบราณในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ที่เขนมีผุ้พูดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณที่ปัจจุบนคือพม่าและไทย ใช้พูดโดยชาวปยูเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 10  และกลายเป้นภาษาตายเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 17 ซึ่งเป้นยุคที่เร่ิมใช้ภาาาพม่าอย่าแพร่หลาย ภาษาปยูที่พบในจารึกจะมีคำแปลเป็นภาษาบาลีไว้ด้วย จัดภาษานี้อยู่ในกลุ่มพม่า -โลโล แบรดลีย์จัดให้อยู่ในภาษากลุ่มโลโล ในขณะที่ แวน เดรียมจัดให้เป้ฯสาขาอิสระของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
            จารึกหนึ่งที่มีความสมบูรณ์และสำคัญ คือ จารึกเมียะเซดี ที่เมืองพุกาม ซึ่งเป็นจากรึกที่กล่าวถึงผุ้สร้างคือพระราชกุมาร ทรงบำเพ็ญกุศลในพระพุทธศาสนาเพื่อให้พระเจ้าจันสิตถาซึ่งเป้นพระบิดา หายจากพระอาการประชวร
             จารึกนี้มี 4 ด้านด้วยกัน คือ บาลี ปยู มอญ และพม่า อย่างไรก็ตามว่ากันว่าในตอนแรกนั้น ยังไม่มีผุ้อ่านภาษาปยูได้ จนกระทั่งโรเบิร์ต ฮัลลิเดย์และขาร์ลส์ แบลกเดนได้ศึกษาภาษามอญโบราณ จึงทำให้ามารถอ่านด้านที่เป็นภาษาปยูได้ (คริเตรียน บาวเออร์ ผุ้เชี่ยวชาญด้านมอญกล่าวไว้)พม่าweb.facebook.com/612365295504993/photos/a.612394168835439.1073741828.612365295504993/1060708447337340/?type=3&_rdc=1&_rdr 
           โดยสรุป ภาษาพม่า จัดอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ซึ่งแยกออกมาจากตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ใช้พุดในเอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเแียงใต้ รวมทั้งพม่า ทิเบต ภาคเหนือของไทย ภาคกลางของจีน ภาคเหนือของเนปาล ภูฎาน อินเดียและปากีสถาน
            ภาษากลุ่มนี้มี 350 ภาษา ภาษาพม่า มีผุ้พุดมากที่สุ (ประมาณ 32 ล้านคน) มีผุ้พูดภาาาทิเบตทุกสำเนียงอีกราว 8 ล้านคน  นักภาษาศาสตร์บางคนเ เช่น จอร์จ แวน เดรียม เสนอให้จัดตระกุลทิเบต-พม่า ขึ้นเป็นตระกูลใหญ่ และให้กลุ่มภาษาจีนมาเป็นกลุ่มย่อยแทนแต่ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางth.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า

         

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...