Bahasa ; Confict Part 3

           ในปี พ.ศ. 2490 ฮัจญีสุหลง อับดุลกอเดร์ ต่วนมีมาลย์ (โต๊ะมีนา) โต๊ะอิหม่ามผู้เป็นผุ้นำทางความคิดของชาวปาตานีได้ยื่นข้อเรียกร้องเจ็ดข้อตอ่รัฐบาลไทย โดยข้อสามและข้อสี่ เป้นข้อเรียกร้องเกี่ยวกับภาษามลายู
            "ข้อ 3 ให้ใช้ภาษามลายูและภาษาไทยเป้นภาษาราชการของสี่จังหวัด (ชายแดนภาคใต้), ข้อ 4 ให้ภาษามลายูเป็นภาษากลางของการสอนในโรงเรียนชั้นประถมศึกษา" ข้อเรียกร้องเพื่อสิทธิและความเป็ฯธรรมในการมีส่วนร่วมการในปกครองของคนมลายูทั้งเจ็ดข้อทำให้ฮัจญีสุหลงถูกเพ่งเล็งจากรัฐไทย ถูกตั้งข้อหากบฎ และถูกจับติดคุก ต่อมาในปี พ.ศ. 2497 เขาถูกฆ่าตาย ศพของเขาถูกซ่อนทำลาย ไม่มีเจ้าหน้าที่รัฐคนใดต้องรับผิดชอบ ชะตากรรมของฮัจญีสุหลงทำให้คนมลายูกลุ่มหนึ่งตัดสินใจนับอาวุธต่อสู้
            "ท่านฮัจญีสุหลงไม่ได้ใช้แบตเตอร์รี่แบบแยกส่วนิในภาษากิจกรรมทางศาสนาอิสลาม และความต้องการต่าง ๆ ตามบริบทของท้องถ่ิน บทเรียนากกรณีการถุกบังคับสูญหายของฮัจญีสุหลงหลังยื่นข้อเรียกร้องเจ็ดข้อต่อทางการทยเป็นสวนหนึ่งที่ทำให้ขบวนการสรุปว่า เมื่อกระบวนการสันติวิธีไม่สามาถบรรลุเป้าหมายซ้ำยังถุกกดปราบจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ การต่อสุ้ด้วยอาวุธจึงถุกนำมาใช้" อาบูฮาฟิซ อัลฮากืม แกนนำคนหนึ่งของ มารา ปาตานี องค์กรรมของชบวนการต่อสู้เพื่อเอกราช ให้สัมภาษณ์กับประชาไท
              ความทรงจำในปี 2547ความจำเป็นในกาเปิดพื้นที่ทางภาษาและวัฒนธรรม ดังที่ปรากฎในรายงานของคณะกรรมการอิสระเพื่อความสามานฉันทแห่งชาติ ตั้งขึ้นในสมัยรัฐบาล ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งสระปว่า มีเงื่อนไขสองอย่างที่ทำให้ความรุแแรงงยังมีอยู่ในสามจังหวัดชายแดภาคใต้ โดยหนึ่งในสองนั้นเกี่ยวกับภาษามลายู "เงื่อไขทางวัฒนาธรรม คือ ลักษณะเฉพาะทางศาสนาและชาติพันธ์นฃในพื้นที่คือศาสนาอิสลาม ภาษามลายู และประวัติศาสตร์ปัตตานี สิ่งเหล่านี้เป็นเงื่อไยในสังคมซึ่งทำหน้าที่ให้ความชอบธรรมกับการใช้ความรุนแรงหรือทำให้ผุ้คนไม่น้อยยอมรับหรือเห้นด้วยกับฝ่ายที่ใช้ความรุนแรง ทั้งหมดนี้ทำให้ผู้ก่อความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้อาศัยเงื่อนไขทางชาติพันธ์ผสานกับสษสนามาเป้นข้ออ้งให้ควมชอบธรรมกับการใ้ควมรุนแรงในการตอสู้เพื่อเป้าหมายของตนในนามของอัตลักษณ์ความเป็นมลายูมุสลิม" และมีขอเสนออย่างชัดเจนให้ "ประกาศให้ภาษามลายูเป็ฯภาษาทงาน อีกภาษาหนึ่งในจังหวัดชายแดนภาคใต้
              "... หะยีสุหลงเกิดขึ้นเมื่อปีที่แล้ว 2438 ที่กำปงอาเนาะรู มณฑลปัตตานี บิดาส่งไปเรียนศาสนาที่นครเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบย เมื่อสำเร็จการศึกษาและมีบุตรกับภรรยาคนที่สอง จึงตัดสินใจเินทางกลับมายังประเทศไทย
              หะยีสุสุหลง ตั้งใจจะกลับมาเผยแพร่ศาสนาที่มณฑลปัตตานีอันเป็นบ้านเกิด ได้เดินทางกลับมาเมือปี พ.ศ. 2470 ก่อนจะพบว่าชาวมุสลิมที่นั่นยังมีสภาพความเป็นอยุ่ที่แร้นแค้นและนบถือภูมิผีอยู่เป้นจำนวนมาก ซึงขัดกับหลักทงศาสนาอิสลามอย่างรุนแรง จึคงเกิดเป็นแรบันดาลใจให้ก่อตั้งโรงเรียนสอนศาสนา หรือปอเนาะ ขึ้นมาเป็นแห่งแรก ด้วยเงินเริ่มต้นที่รวบรวมหามาได้ สามพันห้าร้อยบาท ต่อมาเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อปี พงศ. 2475 ในรัฐบาลที่มีพระยพหลพลหยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี หะยีสุหลงได้เดินทางเข้าสู่พระนครเพื่อของความช่วยเหลือจากทางรัฐบาล ก็ได้เงินช่วยเหลือจากภาครัฐมาอีก สามพันห้าร้อยบาท รวมเป็นเจ็ดพันบาท ปอเหนาะแก่งแรกในประเทศไทยจึงถือกำเนิดขึ้นมา
             หะยีสุหลง ได้เกี่ยวพันกับทางการเมืองและความขัดแย้งในพื้นที่ซึ่งมีผลกระทบต่อความมั่นคงของราชอาณาจักร เมื่อเป็นผุ้นำเสนอข้อเรียกร้อง 7 ข้อ ที่ให้ความเป็นธรรมและสอดคล้องกับวิุีชีิวิตของชาวมุสลิมในพื้นที่ ต่อรัฐบาลไทยที่มี พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เป้นนายกรัฐมนตรี ขณะที่ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการอิสลามจังหวัดปัตตานี เมื่อปี พ.ศ. 2490 แต่ต่อมาได้เกิดการรัฐประหารขึ้นเมือปลายปีเดียวกัน ได้มีกรเปลี่ยนขั้นรัฐบาลมาเป็นขั้วของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งมีอุดมการณ์ทางการเมืองแตกต่างจากขั้วอำนาจเดิม ข้อเรยกร้องทั้ง 7 ข้อ ของหะยีสุหลงถูกเพ็งเล็งว่าเป้ฯกบฎกระด้างกระเดืองต่อความมั่นคงของราชอาณาจักร จนในที่สุดถูกจำคุกในข้อหาปลุกระดมและก่อการกบฎเพื่อแบ่งแยกดินแดน ซึ่งหะยีสุหลงถูกจัดสินใหจำคุกเป็น สีปี แปดเดือน โทษฐานกล่วร้ายรัฐบาลในเอกสารที่แจกจ่ายยังประชาชนในท้องถ่ิน ส่วนโทษฐานแบ่งแยกดินแดน ศาลพิจารณาให้ยก
              เมื่อพ้นโทษออกมา หะยีสุหลงก็ยังถุกคุกคามจากอำนาจรัฐ จนกระทั่งในเช้าตรู่ของวันสุกร์ที่ 13 สิงหาคม พงศ. 2498 หลังจากเสร็จจากละหมาด ในตอนเช้า หะยีสุหลงพร้อมกับ อาหมัด โต๊มีนา บุตรชายคนโตวัน 15 ปีำหน้าที่เป็นล่ามภาษาไทยเนื่องจากหะยีสุหลงไม่สามาถพูดภาษาไทยได้ ได้เดินทางออกจากบานพักส่วนตัวที่จังหวัดปัตตานี ไปยังกองบัญชาการตำรวจสันติบาลที่จังหวัดสงขลา พร้อมก้วยพรรคพวกอีก 2 คนรวมเป็น 4 คน ก่อนที่ทั้งหมดจะหายสอบสูญไปอย่างไร้ร่องรอย นำมาซึงความเชื่อว่าทั้งหมดถูกฆาตกรรมทางการเมืองด้วยผีมือของตำรวจ ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ภายใต้การบัญชาการของ พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจและรัฐมนตรีว่ากรกระทรวงมหาดไทย ผุ้ซึ่งเป็นเสือมือขวาสำคัญของจอมพล ป. นายกรัฐมมนตี ซี่งเรื่องราวการหายตัวไปของหะยีสุหลงเป็ยข่าวอย่างครึกโครม โดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ไปจนถึงมาเลเซีย และสิงคโปร์
             ทางครอบครัวภราดรและนายเด่นโตด้เดิทนทงเข้าสู่พระนครเพื่อติดตามเรื่องราว ก็ไม่ได้ความคืบหน้าใดๆ แต่ก็ได้รับทราบเพียงว่าเป็นการฆาตกรรมทงการเมืองโดยบุคคลของภาครัฐเองจากปกาคำของ ท่านผุ้หญิ่งละเดเอียด พิบูลสงคราม ภริยาจอมพล ป. จนกระทั่วมีการัฐประหาร ในปี พ.ศ. 2500 รัฐบาลเปลี่ยนขั้ยอีกครั้ง จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ได้มีการื้อฟื้คดีนี้ขึ้นอีกครั้ง ในที่สุดนายตำรวจผุ้ลทมือในการฆาตกรรมครั้งนั้นก็รับสารภาพว่าได้สังหารบุคคลทั่ง 4 ในบังกะโลริมทะเลสาบสงขลาจากคำสั่งโดยตรงทางโทรศัพท์ของรัฐบาลในขณะนัน ผ่านทางผุ้บังคับการตำรวจ จ.สงขลา ด้วยการใช้เชือกรัดคอและคว้านท้องศพทั้งหมดและอำพรงด้วยการนำศพไปผูกไว้กับแท่งซีเมนต์ในทะเลสาบสงขลา ใกล้กับเกาะหนู เกาะแมว ซึ่งต่อมาได้มีการงมหาศพแต่ด้วยระยะเวลจึงไม่พบศฑหรือเศษซากใดๆ..."th.wikipedia.org/wiki/หะยีสุหลง
         
 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)
           ในยุคพ. ต.ต. ทวีพิชิตเป็นเลขาธิการหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ระหว่างปี 2554-2557 ได้มีการเปิดพื้นที่ทางภาษาและวัฒนธรรมมลายูอย่างมีนัยยะสำคัญ จัดตั้งช่องทีวีภาษามลายู 24 ชม. วิทยุภาษามลายู 24 ชม. โดย สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดยะลา การจัดตั้งสถบันภาษามลายูแห่งประเทศไทย เพ่อพัฒนาและส่งเสริมการใช้ภาษามลายูในประเทศไทย และริเริ่มการใสภาษามลายู ตัวยาวี ในป้ายสถานที่ราชการอย่างไรก็ตาม ช่องทีวีภาษามลายู 24 ชม. ก็ถูกล้มเลิกไปหลังรัฐประหาร และเมื่อคณะรัฐประหารย้าย พ.ต.อ. ทวี ไปประจำสำนักนายกรัฐมนตรีก็ไม่ได้มีความคืบหน้อันใดอีก
          ในภาษาไทย (ไทย - มลายูถิ่น)2555 ซึ่งพัฒนาโดยสถาบัวิจัยภาษาและวัมนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล มุ่งป้าไปที่เด็กอนุบาล 1-ประถม 6 ที่พูดภาษามลายูเป็นภาษาแม่หัวใจหลักคือกาเรียนโดยใช้ภาษามลายูถ่ินเชื่อมโยงไปยังภาษาไทย ผ่านเครื่องมือที่สำคัญที่สุดคือ ระบบการเขียนภาษามลายูโดยอักษรไทย ในชั้นอนุบลาลเด็กจะเรียนรุ้การเขียนและสะกดภาษามลายูโดยใบ้สระและพยัญชนะไทย ซึ่งมีกาเพิ่มเสียงเข้าไปอีกแปดเสียง... เมื่อเด็กเข้าใจการเขียนและสะกดอักษรไทยแล้ว จึงเร่ิมเรียนภาษาไทย และเรียนวิชาอื่นๆ เป็นภาษาไทยตาลำดับ โครงการดังกล่วอ้างว่า วิธีการเรียแบบนี้ทำให้เด็กมลายูมีความสุขในการเรียน และมีผลการเรียนดีขึ้น
          สุวิไล เปรมศรีรัตน์ นักวิจัยมีที่มาจากข้อเสนอแนะของคณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ ซึ่งได้เสนอต่อรัฐบาลให้จัดการศึกษาที่เหมาะสมกับฐานทางภาษาและวัฒนธรรมท้องถ่ิน โครกงรดังกล่าวจะ "ช่วยรักษาอัตลักาณ์ความเป็นคนไทยเชื้อสายมลายูไว้ได้ในกระแสแก่งการเปลี่ยนแปลงในสังคมปัจจุบัน ตามความปารถนาของเจ้าของภาษาแล้ว ยังช่วยให้เด็กได้เรียนออย่างมีความสุข"
           ทำให้เด็กเรียนภาษาอังกฤษได้ดีขึ้น แต่ก็มีผุ้มองว่าคือความพยายามที่ให้คนมลายูลิทิ้งอักษรยาวี
           ฮาราบอกว่าเขาไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับภาษาอังกฤษอความตั้งใจทำลายอักษรยาวี และการกลืนให้เป็นไทย ไม่เป็นไปตามความต้องการของประชาชน ส่วนสภาบันภาษามลายูประจำประเทศไทยก็ไม่ได้มีผลงานอะไรเป็นที่ประจักษ์ในการส่งเสริมภาษา "เป็นการเอาผุ้เชียวชาญภาาามลายูไอยู่ในสังกัดศอ.บต.เอาไว้โชว์เพื่อนบ้านและแขกต่างชาติ เป็นแค่ปลือก แต่ไม่เคยมีการแตะทีแก่นของปัญหาเกี่ยวกับภาษาเลย"
            ฮาราคิดว่าโครงการสร้างความไม่พอใจให้ประชาในพื้นที่อย่างยิ่ง เพราะประชาชมองว่าเป็นการดูถูกภาษาท้องถ่ินซึงมีการใช้ในพื้นที่มากว่าหนึ่งศตวรรษแล้ว "ผมคิดว่ ดครงการนี้เป้นผลเสียต่อการสร้างสันตภาพ" ฮารากล่าว และว่า "นี่คืออีกรูปแบบหนึ่งของเมืองขึ้นทางวัฒนธรรม ไม่เคยมีการแก้ปัญหา แต่เป็นการสร้างปัญหาใหม่" เขาเสริมว่า แม้ช่วงที่ ทวี สอดส่อง เป็นเลขาฯ สอ.บต. มีความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเกี่ยวกับภาษามลายูหลายอย่าง แต่ก็ค่อนข้างฉาบฉวย ไม่จริงใจ เช่น การก่อตั้งสถาบันภาษามลายูแห่งแระเทศไทย ซึ่งมีผู้เรียบว่ามีสถานะเทียบได้กับสถาบันภาษาและวรรณกรรมแห่งชาติมาเลเซีย แต่สถาบันดังกล่าวก็ไม่ได้มีสถนะทางกฎหมายรองรับเหมือนที่มาเลเซียน ส่วนปายราชการต่างๆ ก็มีเพียงแค่ด้านนอกอาคารเป็นส่วนใหญ่แทบไม่มีด้านในอาคารเลย
          เสนอว่ารัฐไทยควรทำให้ภาษามลายูมีสถานะทางกฎหมายรองรับ เช่น การันตีในรัฐธรรมนูญในฐานะภาษาของชนกลุ่มน้อย หรือการให้สถาบันเพื่อการพัฒนาภาษามลายูที่สถานะทางกฎหมายรองรับ และการมีแผนการเรียนและพัฒนาภาษามลายูที่รัฐสนับสนุน เขากล่าวว่า นี่เป็นวิธีหนึ่งที่ทำให้ภาษามลายูในมาเลเซียและอินโดนีเซียกลับมามีสถานที่เข้มแข็งหลังได้รับเอกราช
           มารา ปาตานี เสนอหยุดกลุ่มชาติทางภาษา อาบูฮาฟิซ อัลฮากีม แกนนำมารา ปาตานีบอกกับประชไทยว่า ประเด็นภาษามลายูนั้นเป็นประเด็นหลักประเ้ด็นหนึ่งที่มาราปาตานีจะหยิบยกขึ้นมาพุดคุยระหว่างการพูดคุยสันติภาพกับรัฐบาลไทย เมื่อการพุดคุยยกระดับสู่การพูดคุยอย่างเป็นทางการเขาเห็นว่า สาเหตุหลักของความเสื่อมถอยของภาษามลายูในปาตานีคือนโยบายกลืนชาติของรัฐไทย ซึ่งขัดขวางการเรียนการสอน และการใช้ภาษามลายูในระดับทางการ สื่อสารมวลชนก็มีส่วนรองลงมา "หลัง
จากที่สยามได้ใช้นโยบายกลืนชาติ "รัฐไทยนิยม" ภาษามลายูได้ถูกทำให้เสือมถอยลงและลดความสำคัญอย่างเป็นระบบ" อาบูฮาฟิซกล่าว และว่า ปัญหานี้สามารถแก้ไขได้ไม่ยาก เพียงเปลี่ยนนโยบายรัฐเป็นไปในทางตรงกันข้าม เขายังได้พูดถึงฮัจญีสุหลงว่า ได้มอกการณ์ไกลเห็นถึงปัญหานี้ "เมื่อฮัจญีสุหลงเสนอข้อเรียกร้องเมื่อ 60 ปีก่อน ซึ่งรวมถึงข้อเสนอด้านภาษามลายู ท่านคงได้คาดการณ์ไว้แล้วว่า ถ้าปัญหาไม่ได้ถูกแก้ไข ชะตากรรมของภาษามลายูจะหมดหวัง เราได้เห็นแล้วว่า มันเป็นจริงในปัจจุบัน"
           เมื่อถามถึงความพยายามของรัฐไทยในการส่งเสริมภาษามลายูในช่วงสิบปีที่ผ่านมา อาบูฮาฟิซเห็นว่า เป็นที่น่าชื่นชมกับความพยายาม แต่ความพยายามดังกล่วไม่ได้เป็นเพราะรัฐไทยเห็นถึงความต้องการของคนปาตานีแต่เพื่อตอบสนองต่อเหตุผลด้านเศราฐกิจและการเมืองต่อภูมิภาคอาเซียน
          เมื่อถามว่ ในฐานะขบวนการเพื่อเอกราช เขามาองอนาคตของภาษาในปาตานีอย่างไร หากปาตานีได้เอกราชหรือได้สิทธิในการปกครองตัวเอง เขากล่าวว่า มองเห็นคนปาตานีพุดได้ถึงสี่ภาษา คือ ภาษามลายู ในฐานะภาษาของคนส่วนใหย่ในปาตานี, ภาษาอาหรับ เพราะเป็นหน้าที่ของชาวมุสลิมที่ต้องรู้ภาษาอาหรัีบ, ภาษาไทย ในฐานภาษาของชนกลุ่มน้อยในปาตานี, ภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นภาษาสากล แต่ถ้าสกหรับคนไทยพุทธ คงไม่จำเป็นต้องรู้ภาษาอาหรับ
          อาบูฮาฟิซกล่าวว่า เขามองว่า เด็กมาลยูจะเรียนรู้ทั้งอักษรรูมีและยาวี เพราะทั้งสองอย่างมีประโยชน์และมีความสำคัญ และจากประสบการณ์ส่วนตัวของเขา ความรู้ด้านอักษรยาวีทำให้เรียนภาษาอาหรับได้เร็ว และความรู้ด้านอักษรรูมทำให้เรียนภาษาอังกฤษได้เร็วเช่นกัน
          เมื่อถามว่า ในฐานะสมาชิกขบวนการคนหนึ่ง หากปาตานีได้รับเอกรชหรือได้สิทธิปกครองตนเอง เขามีจินตนาการถึงภาาาทางการเและภาษาทำงานที่ใช้ในปาตานีเป็นเช่นไร อาบูฮาฟิซตอบว่า "ถ้าปาตานีได้สิทธิปกครองตนเอง ถ้าไม่ได้เอกราช ก็ไทยและมลายู แต่ถ้าได้เอกราชก็มาลยูและอาหรับ แต่ทั้งอสงกรณี ภาษาอังกฤษจะเป็นภาษาสากล" http://prachatai.org/journal/2016/06/66072
         

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)