วันจันทร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Bahasa ; Confict Part 2

อักษรรูมี
           รูมี "หรือ" ยาวี "ข้อถกเถียงที่ยังไม่จบ
           ชะเอมรีบยา นราธิวาสได้รับรางวัลสาขาวิชาเอกสุนทรียะในปี พ.ศ. 2553 พลวัตภาษามลายูในสามจังหวัดชายแดนภาคี มี ความเห็นพ้องด้วย เขียนขึ้นและลงในหมู่นักวิชาการด้านศาสนาในหมู่นักวิชาการด้านศาสนาเท่านั้นอาจมีสื่อยาที่คุณถนอมผลิตจากกลุ่มจิตแพทย์
           "อักษยาวีที่นี่น่าจะหหว่าเป็นคนที่มีอิทธิพลมากในความหวาดกลัวคนสามารถอ่านเขียนไทยได้ดีกว่ายาวี โดยเฉพาะคนที่มีการศึกษา" ซะการีย์ยากล่าวและว่า "ในสามาจังกวัดผมจะพูดจะเขยนว่า วิศวกรรมศาสตร์เป็นยาวียังไง เหมือนเราตกหลุม และหยุดชะงัก แต่ที่มาเลเซียและอินโดนีเซียภาษาเขาก็อัพเลเวลอย่่างรวดเร็ว แต่ภาษาในสามาจังหวัด ัไมไปไหน"
           ซะการีย์ยา กล่าวหนังสือที่ใช้อักษรยาวี แต่ตำราศาสนาเป็น ที่ใช้เรียนปอเนาะ ซึ่งถูกเขียนขึ้นเมื่อร้อยปีที่แล้ว จังไม่มีศัพท์ที่ร่วมสมัยเพื่อใช้พุดถึงเรื่องในชีวิตประจำวันแม้ว่าจะมีความพยายาจัดทำหนังสือด้วยอักษรยาวีมากขึ้น แต่นั่นก็ไม่เพียงพอ "โดยหลักแล้ว ภาษามันต้องเดินไปหมดเป็นองคกพยพ ทั้งนิตยสาร หนังสือพิมพ์ วรรณกรรม หนังสือทั่วไป แต่ยาวีก็ไม่ได้ถึงไหน ผมุไม่ได้โทษใตีแต่นี้คือสิ่งที่เป้น ส่วนหนึ่งเพราะเราอยู่ภายใต้รัฐไทย ภาษามลายูจึงไม่ได้รับการสนับสนุน
           
อักษรยาวี
ซะารีย์ยาเห็นว่า ควรมีการส่งเสริมการใช้าษามลายู แต่น่าจะเลือกส่งเสริมใช้อักษรที่แทนยาวีเหมือนประเทศเพื่อบ้าน" ถ้าเล่อกรูมี เราจะทันมาเลเซยน อินโดนีเซีย เราสามารถร่วมใช้ภาษาและหนังสือที่เขาพัฒนาไปไกลแล้ว เขามีตำราความรู้ที่เขียนด้วยรูมีเยอะแยะมากมาย เราไปต่อยอดตรงนั้นได้เลย มันจะสร้างความก้าวหน้าทางภาษาได้เร็ว แต่ถ้าเลืกตัวยาวี เรแทบต้องเร่ิมจากศูนย์ ต้องยอมรับวา ยาวีมันใช้ในวงแคบ เป็นส่วนน้อยของโลกมลายู แล้วเมื่อเราจะสื่อสารกับที่อื่น เราก็ต้องเปลี่ยนเป็ฯรูมีอีกที เราควรเลือกอย่างใดอย่างหนึ่งถ้าเรียนและใช้ควบคู่กันไปทั้งอสองอย่าง มันก็จะอ่นอแอ ไม่ดีสักอย่าง " กวีซีไรต์กล่าวและเสริมว่า "เืพ่อควมก้าวหน้าของภาษาและโลกความรู้ เราควรเลือกรูมี ถ้าเรียนรูมีตั้งแต่เด็ เรียนมัธยมจบก็ไปต่อมหาลิทยาลัยที่มาเลเซียได้เลย ไม่ต้องไปเรียนปรับพื้นฐานภาษา รียนตัวรูมีอีกที นี่ผมพยายามองโลกอย่งตามความเป็นตริงที่สุด"
              อย่ไรก็ตาม ในฐานะนักเขียน ซะการีย์ยาบอกง่า ถ้าให้เขาแนะนำเยาชนมลายูว่าจะฝึกเขียนงานวรรณกรรมและกวีเป็นภาษาอะไร เขาจะแนะนำให้เขียนเป็นภาษไทย เพราะจะทำให้มีที่ทางในวงการหนังสือและวรรณกรรมไทย "ถ้าคุณเขียนยาวี พื้นที่คุณแทบไม่มี คุณเขียนเป็นรูมีก็ได้ ถ้าคุณเขียนได้ดี เขียนได้ถึง คุณก็จะมีพื้นที่ที่ทาเลเซีย"
              แต่ภาคประชาสังคมในปาตานีส่วนใหญ่ดุจะให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์และส่งเสริมการใช้อักษรยาวีมากกวา
              ฌายิบ อาแวบือซา ผุ้เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรมมลายู กล่าวว่า เขารู้สึกเป็นห่วงอักษรยาวี เพราะมีความสำคัญนการใช้อ่านและทำความเข้าใจหนังสือเก่าๆ ซึ่งได้บันทึกภูมิปัญญาของชาวมลายูในสมัยก่อนเอาไว้ และยังแสดงถึงความรุ่มรวยทางภาษา หากภาาาหายไป ภูมิปัญญาส่วนหนึ่งก็อาจหายไปด้วย นอกจากนี้ อักษรยาวี ยังเข้ากับเสียงในภาษามลายูได้ดีกว่วอักษรรูมี
              ฮาราเห็นว่าต่างจากซะการีฐย์ยา โดยให้เหตุผลว่า การส่งเสริมให้ใช้อัการยาวีมีความเป็นไปได้มากกว่ารูมี เพราะว่าชาวมลายูปาตานีผ่านการเรียนอักษรยาวีในระบบการศึกษาแบบดั้งเดิมในโรงเรียนตารกีกา และโรงเรียนปอเนาะชาวปาตานีจำนวนหนึ่งจึงสามารถอ่านตัวยาวีได้อยู่แล้ว แต่ที่ปาตานีมีได้มีการเรียนการสอนตัวรูมี การใช้ตัวรูมีจึงไม่น่าจะสามารถใช้ได้จริง "เมื่อเรามีระบบการเขชียนที่ใช้กันจริงอยู่แล้ว เราจะไปนำอย่างอื่นมาทำไม" เช่นเดียวกับฮารา ซอลาหุดดีกล่าวว่า  "ยาวีเป็นอัตลักษณ์ มันมีความสำคัญทางจิตใจของคนที่นี้"
            ฮาราชี้ให้เห็นถึงสภาวะที่ภาษามลายูถูกคุกคามจากการเป็นเมืองขึ้น และการฟื้นฟูหลังการเป็นเมืองขึ้น ดดยยกตัวอย่างประเทศมาเลซียว่า ไในระว่างการเป็นเมืองขึ้น ภาษามลายูสูญเสียโอกาสที่จะพัฒนาอย่างที่ควรเป็นไปตามกาลเวา นักวิชาการด้านภาษามลายูที่ำคัญคนหนึ่ง อธิบายถึงภาษามลายูก่อนมาเลเซียได้รับเอกราชว่าเป็น ภาษาของร้านกาแฟและตลาด ไม่มีท่ทางในที่ทางแบบทางการและในสถาบันศึกษาระดับสูง" ภายใต้สถานการณืเช่นนี้ ผมเชื่อว่า มเป็นธรรมชาติมาก ที่ภาษา ซึ่งชัดมากว่าถูกคุกคามจากคนนอก(เจ้าอาณานิคมป ควรถุกถือว่าเป็นหนึ่งที่สิ่งแสดงอัตลักษรืที่สำคัญทีุ่ดของชาวมลายู และนี้ก็สามารถประยุต์กับสภานการณ์ที่เกิดขึ้นกับชาวมลายูปาตานี"
            เพื่อให้ภาษามลายูได้พัฒนาอย่างเต็มที่ ฮาราเสนอว่า รัฐบลาลไทยควรทำให้ภาษามลายูมีสถรนะทางกฎหมายเพื่อให้แน่ใจว่า ภาษามลายูจะได้รับการสนับสนุนและพัฒนาจากรัฐ และพัฒนาอยางเต็มี่ในทุกๆ ด้าน เช่น เดียวกับภาษามลายูในมาเลเซียและอินดดนีเซีย "สถานะทางกฎหมายของภาษาเป็นปส่ิงที่สำคัญอย่างยิ่งยวดต่อการพัฒนาภาษานั้นๆ อย่างไรก็ตาม สถานะทางกฎหมายไม่สามารถการันตีการช้ภาษาอย่างเต็มที่เสมอไป" ฮารายกตัวอย่างสถานของภาษามลายูในมาลเซีย และอินโดนีเซียที่ต่างกัน ในขณะที่ในมาเลเซีย ภาษามลายูมีสภานะทางกฎหมายที่เข้มแข็ง ในฐานะภาษาแห่งชาติ และเป็นภาษาทางการภาษาเดียวของประเทศแต่ในความเป็นจริง ภาษาที่มีความสำคัญในการก้าวหน้าทางการงานและสังคม คือ ภาษาอังกฟษ ซึ่งถุกให้ความสำคัญมากกว่าลายูมาก "ในแง่นี้ จิตวิญญาณของมาเลเซียยังไม่ได้รับเอกราช ความนึกคิดของผุ้คนยังคงอยุ่ในอาณานิคม"
           
  ภาษามลายูเป็นส่วนหนึ่งของรากเหง้าความขัดแย้งที่นำไปสู่การลุกขึ้นสุ้โดยการจับอาวุธของคนมลายุในปาตานี ซึ่งเป็นปมที่เกิดขึ้นเมื่อเกือบ 80 ก่อน เมื่อจอมพล ป. พิบูลย์สงคราม นายกรัฐมนตีในขณะนั้น ออกนโยบายรัฐนิยม บังคับทางวัฒนะรรมให้พลเมืองไทยทั้งประเทศรียนและพุดภาษาไทย เลิกการเรียกคนตามชาติพันธ์ หากให้เรียกว่าเป็น "คนไทย" ทั้งหมด และแต่งกายแบบเเดียวกันามที่รัฐกำหนด เพื่อปลุกความรุ้สึกชาตินิยมและทำให้ดูทัดเทียมอารยะประเทศ ในช่วงที่ประเทศเผชิญภัยสงครามโลกครั้งที่สอง
           นโยบายดังกล่าวมีผลกระทบอย่างยิ่งยวดต่อชาวมลายุ เพราะภาษาที่ผุ้คนใช้ในชีวิตประจำวันและเรียนในดรงเรียนคือภาษามลายู โดยเแฑาะในวิชาศาสนา นโยบายรัฐนิยมจึงสร้างความไม่พอใจแก่ชาวมลายูเป็นอย่างมาก
           นอกจากนโยบายรัฐนิยมแล้ว เมื่อประมาณ 60 ปีก่อนยังมีการกวาดล้างหนังสือต้องห้ามภาษามลายูเล่มสำคัญชือ่ ประวัติศาสตร์ ราชอาณาจักรมลายูปาตานี ดดยอิบราฮิม ซุกรี ซึ่งตีพิมพ์ในปี 2503 เป็นหนังสือที่ถุกขนานนามว่า "เป็นประวัติศาสตร์นิพนธ์เล่มแรกที่ได้สร้างแม่แบบการเล่าเรือง  ให้กับประวัติศาสตร์ปาตานีในเวลาต่อมา" หรือ เป็นประวัติศาสตร์ฉบับ "เจ็บปวด" ของคนมลายูปาตานีที่ถุกรัฐไทยกรุะทำ...
           แม้หนังสือเล่มดังกล่าวถุกแนโดยทางการไทย และทางการมาเลเซีย ด้วยข้อหาเป็นหนังสือปลุกระดม แต่ก็ยิ่งทำให้ชาวปาตานี้อย่างอ่าน หยากรู้และอยากเผยแพร่หนังสือเล่มนี้ พล.ต.ต. จำรูญ เด่มอุดม ตำรวจเกษียรราชการและผุ้เชียวชาญด้านประวัติศาสตร์ปาตานี กล่าว และว่า เหตุการณ์นี้ยิ่งทำให้เกิดบรรยากาศแห่งความกลัวครอบงำหนังสืออักษรยาวี
           "สมัยก่อน แค่การมีหนังสืออัการยาวีไว้ในครอบครองก็อาจถุกสงสัยแล้ว ถูกสงสัยว่าเป้นหนังสือปลุกระดมเพราะตำรวจไทยไม่เข้าใจ อ่านยาวีไม่อก แค่พบว่าเป็นตัวยาวีก็จะพยายามยัดข้อหาให้ เช่น ขัดนโยบายจอมพล ป. หรือ ปลุกระดม คนที่มีหนังสือตัวยาวีอยู่ก็ต้องเอาไปซ่อน หรือไปเผา ครูที่สอนหนังสือตามโรงเรียนแบบดั้งเดิม ซึ่งสอนเป็นมลายุก็ถูกคุกคาม หลยคนหนีไปอยู่กลันตัน" พล.ต.ต. จำรูญ กล่ว และกล่าวต่อว่า การพยายามกดดันในเรื่องภาษามลายู และการกดทับโรงเรียนปอเนาะ มีความเชื่อโยงกัน "ทำให้คนมลายูมองว่า รัฐไทยพยายามแทรกแซงกิจกรรมทางศาสนา ส่วนรัฐบาลก็มองวา คนมลายู จะใช้ภาษามลายูและปอเนาะเป็นที่ปลุกระดมมวลชน"
       
 ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ผุ้เชียวชาญด้านประวัติศาตร์ปาตานี มหาวิทยาลัยะรรมศาสตร์ วิเคราะห์ว่า ตัวยาวีเป้นแก่นหลางของความภุมิใจของคนมลายูปาตานี เพราะเกี่ยวข้อง กับความรุ่งเรืองด้านศาสนา และความรุ่งเรืองของาตานี้ในฐานะเมืองท่า ศุนย์กลางของการต้าขายที่สำคัญในอดีต ในแง่ศาสนานั้นตำราศาสนาซึ่งเขียนดดยอุลามะ (นักปราชญ์ศาสนา) ชาวปาตานี้กลายเป้นตำราที่ใช้ทั่วภุมิภาค ส่วนในทางการต้านั้น ภาษามลายูเป็นภาษากลางที่ใช้ในการต้าขายของราชสำนักในสมัยอยุธยา อย่าที่อยธยาก็ต้องมีคนพูดมลายุได้ ภาษามลายูมีฐานะของมันตั้งแต่สมัยอยุธยา ในขณะภาษาไทยไม่ได้ใช้ในการต้าขายอะไรเลย ภาษามลายูคือภาษาเดียวกับที่ใช้กับคาบสมุทรมลายูทั้งนั้น เป้ฯภาษาที่ใช้ในกาติดต่อค้าขายเป้นหลัก อาจเรียกได้ว่าเป็นภาษาของภูมิภาคก็ได้"
          ดัจแคน แม็กคาร์โก ศาสตราจารย์ด้านรัฐศาสตร์มหวิทยาลัยลัดสกล่าวได้ในหนังสือ "ฉีกแผ่นดิน อิสลามและปัญหาความชอบธรรมในภาคใต้ ประเทศไทย" ว่า โรเรียนปอเนาะนั้น เป็นอุปสรรคสำคัญที่ทำให้นโยบายผสมกลมกลืนคนมลายูให้เป้นไทยไม่ยังผล เพราะปอเนาะนั้นเป็นฐานะที่มั่นของอัตลักษณ์ด้านภาษามลายูและศาสนอิสลาม เขาเสริมว่ารัฐไทยได้พยายามจัดระเบียบโรงเรยนปอเนาะด้วยกาออกฎเกณฑ์ต่างๆ มาตั้งแต่ทศวรรษ 1960 และหลังจากที่เหตุการณ์ความรุนแรงประทุขึ้นเมือง 12 ปีก่อน โดรเงเรียนปอเนาะถูกเพ่งเล็งว่าเป็นแหล่งบ่มเพาะความคิดแบ่งแยกดินแดนและแนวคิดญิฮาด นำมาสูการพยายามทำปอเนาะให้ "เป้นไทย" โดยใช้นดยบายจูงใจให้เจ้าของดรเงเรียนปอเนาะเปลี่ยนแอเนาะเป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ซึ่งจะมีการสอนวิชาศาสนา ควบคู่กับไลักสูตรสามัญซค่งสอนเป้นภาษาไทยhttp://prachatai.org/journal/2016/06/66072

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...