ในปัจจุบันการสื่อสารรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า โซเชียล เนตเวิร์ค หรือ "เครือข่ายสังคมออนไลน์" ได้เข้ามาแทนที่สื่อสารรูปแบบเก่าในปัจจุบัน โดยเฉพาะกับคนยุค Gen y (คนที่เกิดปี 80's) ที่ติดตามเพื่อฝูงจากอีกฟากฝั่งของโลกอย่างใกล้ชิดใน Facebook จากหน้าจอโทรศัพม์มือถือ ตามข่าวสารที่กระชับและรวมเร็วจาก Twitter แสดงความเห็นผ่าน Blog และ You Tube สนุกกับ Google+ ของเล่นชิ้นใหม่ และจับตาดุ Microsoft ว่าจะเขช้ามาสุ้เจ้าของตลาดเดิมได้หรือไม่
อิทธิพลของ โซเชียล เนตเวิร์ค ขยายไปทั่วโลก แต่สิ่งที่น่าสนใจ คือ การเจริญเติบโตของเครื่อข่ายสังคมออนไลน์ ในประเทศอาเซียนที่ได้กลายมาเป็นปรากฎการณืสำคัญ 7 ประการ ที่ทำให้โลกโซเชียล ไม่ได้เป็นแค่ "ของเล่น" ของคนยุคใหม่เท่านั้น
ปรากฎการที่ 1 ไม่ต่ำกว่า 16% ของชาวอาเซียนใช้ โซเชียลเน็ตเวิร์ค
เมื่อเดือนมีนาคม 2553 เว็บไซต์ อย่าง Facebook ก็ขึ้นแซงหน้าเสิร์ชเอ็นจิ้น อย่าง Google ในฐานะเว็บไซต์ยอดนิยมอันดับหนึ่งของโลกได้สำเร็จซึ่งหมายความว่า ทุกวันนี้คนลนดฃกออนไลฃน์รับข้อมุลต่างๆ จาก โซเชียลเน็ตเวิร์ค มากกว่าการต้รคว้าเว็บไซต์ สิ่งที่น่าสนใจ คือ ประเทศที่มีผุ้ใช้ เฟสบุ๊คมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากสหรัฐฯ นั้นคือ ประเทศอินโดนีเซีย มีผุ้ใช้เฟสบุ๊คกว่า 39 ล้านคน ขณะที่ประเทศอื่นๆ ในอาเซียนก็มีผุ้ใช้เยอะไม่แพ้กัน ฟิลิปปินส์ 25 ล้าคน มาเลเซีย 11 ล้านคน และไทย 10 ล้านคน
ปัจจุบัน อาเซียนมีผุ้ใช้ เฟสบุ๊ค รวมถึง 92 ล้านคน หรือราว 16% ของประชากรในอาเซียน และยังไม่นับรวม โซเชียลเน็ตเวิร์คอื่นๆ ที่กำลังมาเแรงพร้อมๆ กับตลาดสมาร์ทโฟนที่เติบโตอย่างรวดเร็วในภุมิภาคนี้
ปรากฎการณ์ที่ 2 จากแหลงข้อมูลชั้นยอดของโซเชียลเน็ตเวิร์ค ได้เปลี่ยนวิะีการเสพข่าวสารของประชาชน กลาเป็นการเสพข่าวจาก "สื่อใหม่" ที่รวมเร็วกว่าในแบบ real time จากผุ้สื่อข่าวที่ดดยปกติแล้วจะต้องรอ air time ที่จะปรากฎตัวในส่อกระแสหลัก
นอกจากนี้ โซเชียล เน็ตเวิร์ค ยังได้ให้กำเนิดสิ่งที่เรียกว่า Citizen Journalism หรือการที่บุคคลธรรมดาได้เข้ามาทำหน้าที่เป็นนักข่าว ดดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงที่กิดวกฤตต่างๆ เมื่อพวกเขาเลห่านั้นได้นำเสนอข้อมุลจากแหล่งข่าวปฐมภูมิ ด้วยตนเองข้อมุลจากแหล่งข่าวปฐมภูมิเหล่านี้ ไม่เพียงแต่เปลี่ยนแปลงวิธีการเสพข่าวสารของชาวอาเซียนเท่านั้น แต่ข้อมูล พร้อมหลักฐาน อาทิ ภาพถ่ายจากเหตุการณ์จริง ได้ส่งผลมากต่อการรับรุ้ข้อเท็จจริงของคนในสังคม ซึ่งทำให้การปกปิด (เซ็นเซอร์สื่อกระแสหลัก อาทิ โดยรัฐบาลหรือผุ้ทรงอิทธิพลป ไม่มีผลอีกต่อไป
ปรากฎการณ์ที่ 3 ปฏิวัติการโฆษณาและการหาเสียง
สิ่งที่ทำให้โซเชียล เน็ตเวิร์ค แตกต่างจากส่อโดยทั่วไป คือ เป็นการ "สื่อสารสองทาง" และทำให้เกิดปรากฎการณ์ไวรับ หรือ "ปากต่อปาก" " ในดลกดิจิตอล ซึ่งกลายเป็นเครื่องมืออันล้ำค่าไๆม่เพียงแต่กับนักการตลาด แต่ยังรวมถึง นักการเมืองอีกด้วย
อดีตประธารนาธิบดี บารัค โอบามา เป็นผู้แรกที่ริเร่ิมการใช้ ทวิตเตอร์ ในการหาเสียงจนชนะการเลือกตั้ง ในอาเซียนตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ ในการเลือกตั้งของสิงคโปร์ที่ผ่านมา ซึ่ง โซเชียลเน็ตเวิร์ค ได้เข้ามามีบทบาทมากในการสูญเสียที่นังนสภาของพรรครัฐบาล และที่เป็นที่กล่าวถึงกันมากคือ นิโคล เซียฮ ผุ้สมัครหน้าใหม่วัย 24 ปี ซึ่งแม้จะแพ้การเลือกตั้ง แต่ แฟนเพจของเธอในเฟสบุค มีคนสนับสนุนทะลุ 1 แสน "Like"แซงหน้า แฟนเพจของผุ้ทรงคุณวุฒิในประเทศเรียบร้อยแล้ว
สำหรับในไทย ปัจจุบันกฎหมายได้ระบุห้ามหาเสียงเลือกตั้งโดยใช้สื่อโฆษณาไทรทัศน์ ส่งผลให้นักการเมืองหันมาใช้ โซเชียล เน็ตเวิร์ค กันอย่งล้นหลามในการเลือกตั้งที่ผ่านมา โดยเฉพาะทาง ทิวตเตอร์ และยูทูป ซึ่งโฆษณาพรรคการเมืองบางชิ้นมีคนรับชมไปแล้วกว่า 1 แสนครั้ง
เมื่อปี 2007 มีนักสถิติผุ้อยุ่เบื้องหลังความสำเร็จของนักการเมืองอเมริกันหายคน เขียนหนังสือเล่มหนึ่งโดยมีทฤษฎีว่า โลกปัจจุบันมีเทรนด์เล็กน้อยเกิดขึ้นมากมาย และเทรนด์เหล่านี้เป็นตัวแปรสำคัญในการขับเคลื่อนของโลก หากนักการเมืองสามารถระบุเทรดน์เหล่านี้ได้ ก็จะสามารถชนะการเลือกตั้งได้ไม่ยาก เขาระบุว่าที่มาสำคัญของเทรนด์เหล่านี้คือ โซเชียลเน็ตเวิร์ค
ปรากำการณ์ที่ 4 อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยแห่งใหม่
แม้คนส่วนใหญ่มักจะเชื่อว่า ผุ้ใช้โซเชียล เน็ตเวิร์คส่วนใหญ่จะเป็นเยาวชน แต่ที่จริงแล้วราวๆ 4 ใน 5 ของผุ้ใช้ โซเชียล เน็ตเวิร์คในอาเซียนนเป็นผุ้มีสิทธิเลือกตั้ง ซึ่งหมายความว่า โซเชียลเน๊ตเวิร์ค อาจมีผลต่อความคิดทางการเมือง ทัศนาคติทางสังคมของผุ้มีสิทธิ์เลือกตั้งกว่า 12% ในอาเซียน
คะแนนนิยมในโลกออนไลน์จึงไม่ได้จำกัดอยู่ในโลกออนไลน์เท่านั้น โซเลียลเน๊ตเวิร์คได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในการหล่อหลอมความคิด รวบรวมผุ้ที่คิดเห็นตรงกัน และเป็นเครื่องมือสำคัญในการนัดหมาย หรือ "ชุมนุม" ของประชาชนที่ "เคอร์ฟิง" ใดๆ ไม่มีผลเมื่อใดก็ตามที่แนวคิดเล็กๆ น้อยๆ เหล่านี้ซึ่งเป็น ไมโครเทรนด์ ได้รวมตัวกันใหญ่ขึ้นกลายมาเปิ็น "เมกกะเทรน" ก็อาจส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญทางการเมืองครั้งสำคัญได้ ตัวอย่างที่ชัดเจนที่สุดคือ เหตุการณืลุกฮืของประชาชนที่เกิดขึ้นในตะวันออกกลางที่ผ่านมา
อย่างไรก็ตามใช่ว่า โซเชียลเน็ตเวิร์คจะมีเสรีภาพซะทุกอย่าง นอกจากการบล็อคเว็บไซต์ เองแลว "เคอร์ฟิวออนไลน์"สำหรับการจัดตั้งกลุ่มใน โซเชียลที่ "อาจเป็นภัยทางการเมือง" ก็มีอยู่เช่นนดัน เช่น เฟสบุ๊ค ตัดสินใจที่จะนำกลุ่มมุสลิมหัวรุนแรงต่อต้านอิสราเอลบางหลุ่มออก ซึ่งทำให้ โวเชียล เน็ตเวิร์ค ถูกมองว่า สุดท้ายแล้วก็เป็นเครื่องมือทางการเมืองของรัฐบาลบางประเทศ
ปรากฎการณ์ที่ 5 กุญแจสำคัญของภาคประชาสังคม
โซเชียลฯ เชื่อมโลกเข้าด้วยกันไม่เพียงแค่ในแนวนอน (คนที่อยุ่ในสถรนะทางสังคมเดียวกัน) แต่รวมถึง แนวดิ่ง ซึ่งเป็นการเปิดประตูสู่ผุ้ด้วยโอกาส อาทิ การรวมตัวกันบริจาคสิ่งของให้ผุ้ด้อยโอากส หรือสอนหนังสือเด็กในสลัม ของคนที่ไม่เคยรู้จักกันมาก่อน โดยมีโซเชียลฯ เป็นสื่อ ซึ่งกิจกรรมแบบนี้ในโลก "ออฟไลน์" จะต้องใช้ทรัพยากรมหาศาล
ในช่วงวิกฤตต่างๆ ที่ผ่านมาในอาเซียนและบ้านใกล้เรือนเคียง ทำให้โซเชียลฯ ด้แลายเป็นพระเอกทั้งเรื่องการระดมเงินทุนหรือแรงเพื่อช่วยเหลือได้ทันท่วงที ไม่ว่าจะเป็นเหตุการณืน้ำท่วมในเมืองไทย พายุถล่มในเมียนมาร์ แผ่นดินไหว แรอืสึนามิในญี่ปุ่นฯ
ปรากฎการณืที่สำคัญอีกย่างคือ การ ไมโคร-ไฟแนนต์ ผ่านเว็บไซต์ ในเน็ตเวิร์ค ที่จับกลุ่มผุ้ให้กุ้" และ "ผู้กู้" มาเจอกัน เพื่อช่วยคนอีกซึกหนึ่งของมุมโลก โดยไม่ต้องรอพึ่งรัฐบาล องคก์การระหว่างประเทศ หรือกระทั่งองค์กรการกุศลต่างๆ
ในฟิลิปปินส์มีตังอย่างการประสบความสำเร็จของหญิงสาวชาวบ้านคนหนึ่งที่กุ้ยืมเงินแบบ ไมโคร-ไฟแนนต์ จากผุ้จนใน เน็ตเวิร์ค ไปลงทุนในธุรกิจทำถงช้อปปิ้งจากวัศดุรีไซเคิล เพื่อซื้อเครื่องจักร เธอจ่ายคืนและกุ้ใหม่เพื่อซื้อเครื่องจักรรีโซเคิล เพื่อขยายกิจการ จนกระทั่งธุรกิจของเธอสามารถยืนบนลำแข้งตัวเองได้กี โดยเร่ิมต้นด้วยเงินกู้จาคนแปลกหน้า แม้ว่า ดิจิตอล เดวิด จะเป็นประเด็นสำคญในเวทีโลก และเป็นหนึ่งในปัญหาหลักของอาเซียน แต่ โซเชียล เน็ตเวิร์ค ก็ได้เข้ามามีบทบาทในการลด "ช่องว่าง" ให้กับคนบางกลุ่มในสังคม และได้กลายมาเป็นเครื่องมือสำคัญของภาคประชาสังคม ในอาเวียน ภาคประชาสังคม ในที่นี้ไม่ได้หมายคึวามเพียงองค์กรการกุศลที่จะทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายเพียงอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงกลุ่มคนที่เป็นประชาชนธรรมดาที่พร้อมจะเปลี่ยนแปลงสังคม ด้วยพฤติกรรมเล็กๆ น้อยๆ ขงงตน และช่วยขับเคลื่อนอาเซียนไปข้าหน้าอย่างช้าๆ
ปรากฎการณืที่ 6 ปฏิวัติการทูตสาธารณะ แต่เดิมนั้นถุกจำกัดอยู่แค่ "การใช้สื่อกระแสหลักผสื่อสารทางเดียว) " โดยการสื่อสารสองทางเป็นไปได้ในกรณีของการจัดคณะสัญจร ซึ่งส้ินเปลื่องเวลาและงบประมาณมหาศาล
โซเชียล เน็ตเวิร์ค ได้ให้ทางเลือกตรงกลางระหว่างสองวิธีนี้ ดดยให้ช่องทางรัฐบาลได้ "พบปะกับประชาชน แบบสองทาง โดยผ่านสื่อ" ซึ่งสะดวกรวดเร็ว ประหยัด และสื่อสารได้ในวงกว้าง เป็นการปฏิวัติการทูตสาธารณะไปอย่างสิ้นเชิง ดดยรัฐบาลจะได้ประโยชน์จากเอกลัษณืของสื่อสังคมออนไลฯ์ ซึ่งต่างจากสื่อทั่วไป คือไม่ใช่การสื่อสารทางเดียวในลักษระป้อนขช้อมุล (หรือที่เรียกในทางบลว่า การโฆษณชาวเชื่อ)
ตรงกันข้าม โซเชียล เน็ตเวิร์ค ทำให้รัฐบาลมีช่องทางในการโต้ตอลและน้อมรับความคิดเห็นของประชาชน เปลี่ยนจากการใช้สื่อเพียนงแค่ "การส่งข่าวสารของรัฐ" กลายเป็น "การสร้างความไว้วางใจ" ในแบบที่ผุ้เสพไม่รุ้ตัว โดยอาศัยการสื่อสารถึงความรู้สึกของความเป็นมนุษย์ทืี่อยู่เบื้องหลังองค์กรนั้นๆ ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนและสื่อผุ้ทรงอิทธพลเกิดความเข้าใจและเห็นใจองค์กร เป็นการผูกมิตร กับประชาชน ที่จะสร้างอิทธิพลให้กับหน่วยงานอย่างยั่งยืน
แม้ว่าในอาเซียน การใช้ โซเชียลฯ ในการทูตสาธารณะอาจจะยังไม่สามารถเรียกเต็มปกาเต็มคำได้ว่า เป็นการ "ปฏิวัติฎ กต่หลายประเทศในอาเซียนได้เร่ิมใช้ โซเชียล เป็นช่องทางสำหรบการทูตสาธารณะแล้วเช่นกัน ความสำเร็จของการใช้ โซเชียล ในการทูตสาธารณะ ขึ้นอยู่กับความเข้าใจธรรมชิติของ โซเชียล เน็ตเวิร์ค เพื่อให้เกิดประโยชน์สุงสุด ผู้ใช้จะต้องไม่ยึดติดกับรูปแบบเดิมๆ มเิช่นันแล้ว การใช้ โซเชียลฯ ในการทูตสาะารณะที่ว่าก็จะไม่ต่างจาก "โฆษณฯาชวนเชื่อ แบบเดิม..
ปรากฏการที่ 7 ช่ยส่งเสริม People-Center ASEAN ซึ่งยังไม่ไดด้เกิดขึ้นจริงเท่าใดนัก แต่อาเซียนก้มีศักยภาพที่จะสามารถผลึกดันต่อไปได้นั้นคือ การใช้โซเชียล เป้ฯเครื่องมือในการผลักดันอาเซียนให้กลายเป็น พีเพิล เซนเตอร์ อาเซียน อย่างเต็มตัว เพื่อมุ่งไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียน..
อย่างไรก็ดี ก็ได้มีจุดเริ่มต้นในการช้สื่อโปรโมทความเป็ฯ "ประชาคมอาเซียน" ทั้งสื่อกระแสหลัก และการใช้ โซเชียล เน็ตเวิร์ด ซึ่งอาจจะยังไม่แพร่หลายนัก ของสำนักเลขาธิการอาเซียน และ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียนคนปัจจุบัน...นอกจากการส่งเสริมอัตลักษณ์ของความเป็น "ประชาคมอาเซียน" แล้ว โซเชียลฯ ยังสามาถใช้ช่วยในกาแก้ปัญหาต่างๆ ในอาเวียนได้โดยอาศัยการให้ "คน" เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการนำเสนอปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาอย่งถูกจุด ทั้งนี้ โซเชียลเน็ตเวิร์คเปรียบเสมือนฐานข้อมูลพลวัติ ขั้นยอด...
www.mfa.go.th/asean/contents/files/asean-media-center-20121204-123333-720587.pdf
วันพฤหัสบดีที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2560
วันพุธที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2560
Fillipine Cutural Group
วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรุ้จากกัและกัน และร่วมใช้อยุ่ในหมุ่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา
วัฒนธรรมภูมภาคจำนวนมากได้ับอิทธิพลจากการติดต่อกับภุมิภาคอื่น เช่นการเป็นอาณานิคม การต้าขาย การย้อยถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา
เกือบทุกประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิก ได้รับอิทธิพลอย่างต่อเนื่องจากวัฒนธรรมของชนพ้ืนถิ่นเดิม แม้จะได้รับผลกระทบจากอิทธิพลของวัฒนธรรมยุโรปบ้าง โดยเฉพาะฟิลิปปินส์และเกือบทุกประเทศในหมู่เกาะโปลินีเซียนับถือศาสนาคริสต์ ประเทศอื่นๆ เช่นออสเตรเลียและนิวซีแล้นด์ถูกครอบงำโดยผุ้อพยพที่เป็นชนผิวขาวและลูกหลายของพวกชนเหล่านี้ แต่ถึงกระนั้นวัฒนธรรมพื้นถิ่นออสเตรเลียและวัฒนธรรมเมารีในนิวซีแล้นด์ก็ยังปรากฎให้เห็นชัดเจนth.wikipedia.org/wiki/วัฒนธรรม#.E0.B9.81.E0.B8.9B.E0.B8.8B.E0.B8.B4.E0.B8.9F.E0.B8.B4.E0.B8.81
ประเทศฟิลิปปินส์ที่ประกอบไปด้วยเกาุะต่างๆ และมีชนเผ่าดั้งเดิมหมายชนเผ่า หลายชาติพันธุ์ รวมทั้งกลุ่มที่เข้ามาไม่วากลุ่มชาวคริสเตียนจากตะวันตก ชาวจีนที่เข้ามาทำการค้าตั้งแต่สมัยสเปนเข้ามาครอบครอง ซึ่งล้วนแล้วแต่มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง ทำให้ภาษาและวัฒนธรรมในฟิลิปปินส์มีความหลากหลายไปด้วย รวมทั้งการพัฒนาของสังคมดั้งเดิมไปสู่ีการเมืองขึ้นภายใต้การปกครองของสเปนและสหรัฐอเมริกา ทำให้ชาวฟิลิปปินส์มีการผสมผสานทางวัฒรธรรมของ วัฒนธรรมพื้นเมือง วัฒนธรรมมุสลิม วัฒนธรรมสเปนและวัฒนธรรอเมริกานั้นคือ มัลัการะครอบครัวที่ใกล้ชิดแบบสเปน แต่มีความทั้มัยแบบอเมริกา โดยเฉพาะในสังคมเมือง
จากการที่สเปนเข้ามาครอบครอง จึงได้มีศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลัิกเข้ามาเผยแพร่เพื่อเป็นเครื่องมือในการปกครอง ซึ่งทำให้ฟิลิปปินส์ในปัจจุบันเป็นประเทศที่มีคนนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเป็นอันดับ 4 ของโลก คิดเป็นประมาณร้อยละ 83 ของชาวฟิลิปปินส์ วิถีชีวิตของชาวฟิลิปปินส์เกี่ยวพันกับศาสนาตั้งแต่เกิจนตาย การคุมกำเนิดเป็นเรื่องขัดกับหลักศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก จึงทำให้มีบุตรมาก เป็นครอบครัวใหญ่ ทั้งรับอิทธิพลระบบเจ้ารขุนมูลนายและระบบอุปถัมภ์จากสเปน และค่านิยมทางครอบครัวที่เป็นแบบประเพณีนิยม อบรมให้เคารพแลฃะเชื่อฟังผุ้อาวุโสเด็กจะถูกอบรมสั่งสอนให้ยอมรับอำนาจของผุ้อาวุโสกว่า จึงทำให้เกิดเป็ฯพฤติกรรมที่ยอมรับอำนาจนิยม
วัฒนธรรมในการดำเนินชีวิดตของชาวฟิลิปปินส์ เป้นวัฒนธรรมแบบผสมผานของเอเชีย ยุโรปและสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะอเมริกาได้ปลูกฝังความเชื่อมั่นในตนเองให้กับชาวฟิลิปปินส์ ทำให้กล้าแสดงออกในความคิดเห็นของตนเอง กล้าวิพากษืวิจารณ์มไม่ว่าเรื่องนั้นจะรุนแรงแค่ไหนhttp://thailand.prd.go.th/1700/ewt/aseanthai/ewt_news.php?nid=895&filename=aseanknowledge
วัฒนธรรมของฟิลิปปินส์เป็นการผสมผสานกันระหว่างตะวันอตกและตะวันออก ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับ อิทธิพลจากสเปน จีนและอเมริกัน
อิทธิพลจากสเปน และเม็กซิโก เรียกว่า Hispanic Influences ที่มีมากว่า 300 ปี ในช่วงการปกครองแบบอาณานิคม จะเห้นได้จากความเชื่อ ในศาสนาคริสต์นิกายโรมันแคธอลิกงานประเพณีทางศาสนาในทุกปีฟิลิปปินส์ จะมารื่นเริงที่เรียกว่า Barrio Fiesta เป็นการฉลองนักบุญของเมือง หมุ่บ้าน และเขตปกครองต่างๆ มีการประกอบพิธีทางศาสนา การเดินพาเรดในเมือง ฉลองนักบุญ การจุดพลุไฟ การประกวดความงามและการเต้นรำ รวมท้้งมีการตีไก่
อิทธิพลจากจีน จะพบได้จากอาหารซึ่งอาหารของฟิลิปปินส์นั้นจัดได้ว่าคล้าย อาหารจีน มีรสชาติค่อนข้างไม่เผ็นร้อนนักไม่เหมือนอาหารพื้นบ้านของไทย ฟิลิปปินส์นิยม กินก๋วยเตี๋ยวทีเป็นเส้น เรียกว่า Mami เช่นเดียวกับ อาหารจานเนื้ออื่นๆ นอกจากนี้ ภาษาจีนคือ ภาษาที่ชาวจีนในฟิลปปินส์นิยมพูดกันในชุมชนของตน
http://www.asean-info.com/asean_members/philippines_culture.html
อิทธิพลากอเมริกัน เนื่องจากฟิลิปปินส์อยู่ใต้การปกครองของประเทศสหรัฐฯ กว่า 14 ปี และได้รับอิทธิพลจากอเมริกันอย่างมาก ประเทศสหรัฐเป็นแหล่งที่คน มีการศึกษาในฟิลิปปินส์นิยมไปแสวงหาโชค และหางานทำมากมี่สุด อิทธพลทางวัฒนธรรมจากอเมริกัน นับว่ามีการแพร่หลาย ดังเช่น การพูดและใช้ภาษาอังกฤษ ในด้านกีฬจะเห็นได้จากกีฬาบาสเก็ตบอล ซึ่งเป้นกีฬายอดนิยมของฟิลิปปินส์ ร้านอาหารจารด่วน หรือฟาสฟูดส์ ก็ได้รับอิทธิพลจากอเมริกัน
ชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นประเทศหมุ่เกาะที่ประกอบด้วยเกาะจำนวนทั้งสิ้น 7,107 เกาะ ตั้งอยู่ในมหาสมุรแปซิฟิก ห่างจากเอเชียแผ่นดินใหญ่ทงตะวันออกเแียงใต้ ประเมาณ 100 กิโลเมตร และมีลักษณะพิเศษ คือ เป็นประเทศเพียงหนึ่งเดียวที่มีพรมแดนทางทะเลที่ตอต่อระหว่างกันยาวมากที่สุดในโลก พี้นที่ กว่าสองแสนเก้าหมื่นตารางกิโลเมตร (ประมาณ 3/5 ของประเทศไทย) เมืองหลวงคือกรุงมะนิลา ประชากร 88.7 ล้านคน(พ.ศ. 2550) เป็นประเทศมรสุมเขตร้อน ได้รับความชุ่มชื้นจากลมมรสุมทั้ง 2ฤดู ได้รับฝนจากลมพายุใต้ฝุ่น และดีเปรสชั้น
ภาษาที่ใช้ กว่า 170 ภาษา โดยส่วนมากเกือบทั้งหมดนั้นเป็นตระกูลภาษาย่อยมาลาโย-โปลินีเซียนตะวันตก แต่ในปี 2530 รัฐธรรมนูญได้ระบุให้ภาษาฟิลิปิโน และภาษาอังกฤษเป้ฯภาษาราชการ ส่วนภาษาต่างประเทศอื่นๆ ที่ใช้กันมากในฟิลิปปินส์ทั้งหมด 8 ภาษา ได้แก่ ภาษาตาการล็อก จีนฮกเกี้ยน ภาษาจีนแต้จิ้ว ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาซินด์ ภาษาปัญจาบ ภาษาเกาหลี และภาษาอาหรับ โดยฟิลิปปินส์ มีภาษาประจำชาติคือ ภาษาตากาล็อกhttp://www.bpp32.com/2555/acc/b0006.html
ภาษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับ ภาษาอินโดนีเซียน ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีตี ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาาากลางภายในประเทศ มีผุ้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยใช้ภาษาอังกฤษมากว่า
คำว่าตากาล็อกมาจาก taga-ilog โดย taga หมายถึงท้องถ่ิน และ ilog หมายถึงแม่น้ำ รวมแล้วหมายถึงผู้อาศัยอยู่กับแม่น้ำ ไม่มีตัวอย่งการเขียนของภาษาตากาล็อก ก่อนการมาถึงของสเปนในพุทธศตวรรษที่ 21 เหลืออยู่เลย ประวัติศาสตร์ของภาาาจึงเหลืออยู่น้อยมาก คาดว่าภาษานี้กำเนิดในฟิลิปปินส์ตอนกลางจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของมินดาเนาหรือวิซายาตะวันออก
หนังสื่อเล่มแรกที่เขียนด้วยภาษาตากาล็อกคือ Doctrina Cristiana ใน พ.ศ. 2136 โดยในหนังือเล่มนี้เขียนด้วยภาษาสเปนและภาษาตากาล็อก 2 รูปแบบคือใช้อักษรละตินและอักษรบายบายิน ในช่วงที่สเปนยึดครองอยู่ 333 ปี มีไวยากรณ์และพจนานุกรมเขียนโดยบาทหลวงชาวสเปน
ใน พ.ศ. 2480 ได้มีการสร้างภาษาประจำชาติโดยสภาบันภาษาแห่งชาติโดยใช้ภาษาตากาล็อกเป็นพื้นฐาน ภาษาประจำชาติที่เคยตั้งชื่อว่า Wikang pambansa (ภาษาแห่งชาติ)ดยประธานาธิบดีม มานูแอล เอเล. เกซอน เมื่อ พ.ศ. 2482 ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาปิลิปีโน ใน พ.ศ. 2502 แต่การเปลี่ยนชื่อนี้ไม่ได้รับการยอมรับจากผู้ที่ไม่ได้พูดภาาาตากาล็อก โดยเฉพาะผู้พูดภาษาเซบัวโน
ใน พ.ศ. 2514 เกิดหัวข้อทางด้านภาษาขึ้นอีกคร้งหนึ่ง ทำให้เปลี่ยนชื่อภาษประจำชาติจากภาาปิลิปีโนเป็นภาษาฟิลิปีโน โดยภาษาฟิลิปีโนเป็นภาษาที่ผสมลักษณะของภาษาตากาล็อกสำเนยงลูชอนกลาง ภาษาอังกฤษ และภาษาสเปน
ภาษาตากาล็อกถูกประกาศให้เป็นภาษาราชากรเมืองโดยสถาบันไบก์นาบาโตเมือง พ.ศ. 2440 ในพ.ศ. 2478 ได้ยกเลิกการใช้ภาาอังกฤษและภาษาสเปนเป้นภาษาราชาการ และได้พัฒนาภาาาราชการใหม่ขึ้นมา หลังจากการประชุมของถบันภาษาแห่งชาติ ซึ่งประกอบด้วยตัวแทน 7 คน จากส่วนต่างๆ ของฟิลิปปินส์ได้เลือกภาษาตากาล็อกใ้เป็นพี้นฐานมาจากภาษาตากาล็อกว่า วีกัง ปัมบันซา (ภาษาประจำชาติ) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป้นภษปิลิปีโน ในปีเดียวกัน
ใน พ.ศ. 2516 ได้ประกาศยกเลิกการใช้ภาาปิลิปีโนเป้ฯภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษ และได้พัฒนาภาษาประจำชาติขึ้นใหม่ ซึ่งเป็ฯที่รู้จักในชื่อภาาฟิลิปินโน th.wikipedia.org/wiki/ภาษาตากาล็อก
ภาษาฟิลิปปิโน หรือ ภาษาฟิลิปีโน เป้ฯภาษาประจำชาติและภาษาราชการหนึ่งของประเทศฟิลิปินส์คู่กับภาษาอังกฤษ กำหนดเมือ่ พ.ศ. 2530 ภาษานี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาตาการล็อก เมื่อ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 สถาบันภาษาแห่งชาติเลือกภาษาตากาล็อกซึ่งเป็นภาษาท้องถ่ินที่มีการใช้เป็นภาษาเขียนมากที่สุดมาเป็นพื้นฐานของภาษาประจำชาติภาษาใหม่ใน พ.ศ. 2540 ภาษานี้เป็นที่รู้จักในชื่อ ปิลิปีโน และเปลี่ยนชื่อเป้ฯภาษาฟลิปปินส์เมื่อ พ.ศ. 2515
เริ่มแรก Balarila ng Wikang Pambansa นำอักษร 20 ตัวที่แสดงเสียงใภาษาตากาล็อก ได้แก่ a b k d e g h i l m n ng (ng ถือเป็นอักษรตัวเดียว) o p r s t u w y สภาบัภาษแห่งชาติเร่ิมภาษาใหม่เมื่อ พ.ศ. 2516 แลพเพิ่มอักษรเป็น 31 ตัวเมือง พ.ศ. 2519 คืออักษร 26 สำหรับภาาอังกฤษ และอักษรจากภาษาสเปนคือñ, ll, rr,และ ch, ng จากภภาษาตากาล็อก ต่อมา พ.ศ. 2530 ตัดอักษร rr,ll,ch ออกไปโดยเหลือเพียง 28 ตัว th.wikipedia.org/wiki/ภาษาฟิลิปีโน
วัฒนธรรมภูมภาคจำนวนมากได้ับอิทธิพลจากการติดต่อกับภุมิภาคอื่น เช่นการเป็นอาณานิคม การต้าขาย การย้อยถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา
เกือบทุกประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิก ได้รับอิทธิพลอย่างต่อเนื่องจากวัฒนธรรมของชนพ้ืนถิ่นเดิม แม้จะได้รับผลกระทบจากอิทธิพลของวัฒนธรรมยุโรปบ้าง โดยเฉพาะฟิลิปปินส์และเกือบทุกประเทศในหมู่เกาะโปลินีเซียนับถือศาสนาคริสต์ ประเทศอื่นๆ เช่นออสเตรเลียและนิวซีแล้นด์ถูกครอบงำโดยผุ้อพยพที่เป็นชนผิวขาวและลูกหลายของพวกชนเหล่านี้ แต่ถึงกระนั้นวัฒนธรรมพื้นถิ่นออสเตรเลียและวัฒนธรรมเมารีในนิวซีแล้นด์ก็ยังปรากฎให้เห็นชัดเจนth.wikipedia.org/wiki/วัฒนธรรม#.E0.B9.81.E0.B8.9B.E0.B8.8B.E0.B8.B4.E0.B8.9F.E0.B8.B4.E0.B8.81
ประเทศฟิลิปปินส์ที่ประกอบไปด้วยเกาุะต่างๆ และมีชนเผ่าดั้งเดิมหมายชนเผ่า หลายชาติพันธุ์ รวมทั้งกลุ่มที่เข้ามาไม่วากลุ่มชาวคริสเตียนจากตะวันตก ชาวจีนที่เข้ามาทำการค้าตั้งแต่สมัยสเปนเข้ามาครอบครอง ซึ่งล้วนแล้วแต่มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง ทำให้ภาษาและวัฒนธรรมในฟิลิปปินส์มีความหลากหลายไปด้วย รวมทั้งการพัฒนาของสังคมดั้งเดิมไปสู่ีการเมืองขึ้นภายใต้การปกครองของสเปนและสหรัฐอเมริกา ทำให้ชาวฟิลิปปินส์มีการผสมผสานทางวัฒรธรรมของ วัฒนธรรมพื้นเมือง วัฒนธรรมมุสลิม วัฒนธรรมสเปนและวัฒนธรรอเมริกานั้นคือ มัลัการะครอบครัวที่ใกล้ชิดแบบสเปน แต่มีความทั้มัยแบบอเมริกา โดยเฉพาะในสังคมเมือง
จากการที่สเปนเข้ามาครอบครอง จึงได้มีศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลัิกเข้ามาเผยแพร่เพื่อเป็นเครื่องมือในการปกครอง ซึ่งทำให้ฟิลิปปินส์ในปัจจุบันเป็นประเทศที่มีคนนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเป็นอันดับ 4 ของโลก คิดเป็นประมาณร้อยละ 83 ของชาวฟิลิปปินส์ วิถีชีวิตของชาวฟิลิปปินส์เกี่ยวพันกับศาสนาตั้งแต่เกิจนตาย การคุมกำเนิดเป็นเรื่องขัดกับหลักศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก จึงทำให้มีบุตรมาก เป็นครอบครัวใหญ่ ทั้งรับอิทธิพลระบบเจ้ารขุนมูลนายและระบบอุปถัมภ์จากสเปน และค่านิยมทางครอบครัวที่เป็นแบบประเพณีนิยม อบรมให้เคารพแลฃะเชื่อฟังผุ้อาวุโสเด็กจะถูกอบรมสั่งสอนให้ยอมรับอำนาจของผุ้อาวุโสกว่า จึงทำให้เกิดเป็ฯพฤติกรรมที่ยอมรับอำนาจนิยม
วัฒนธรรมในการดำเนินชีวิดตของชาวฟิลิปปินส์ เป้นวัฒนธรรมแบบผสมผานของเอเชีย ยุโรปและสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะอเมริกาได้ปลูกฝังความเชื่อมั่นในตนเองให้กับชาวฟิลิปปินส์ ทำให้กล้าแสดงออกในความคิดเห็นของตนเอง กล้าวิพากษืวิจารณ์มไม่ว่าเรื่องนั้นจะรุนแรงแค่ไหนhttp://thailand.prd.go.th/1700/ewt/aseanthai/ewt_news.php?nid=895&filename=aseanknowledge
วัฒนธรรมของฟิลิปปินส์เป็นการผสมผสานกันระหว่างตะวันอตกและตะวันออก ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับ อิทธิพลจากสเปน จีนและอเมริกัน
อิทธิพลจากสเปน และเม็กซิโก เรียกว่า Hispanic Influences ที่มีมากว่า 300 ปี ในช่วงการปกครองแบบอาณานิคม จะเห้นได้จากความเชื่อ ในศาสนาคริสต์นิกายโรมันแคธอลิกงานประเพณีทางศาสนาในทุกปีฟิลิปปินส์ จะมารื่นเริงที่เรียกว่า Barrio Fiesta เป็นการฉลองนักบุญของเมือง หมุ่บ้าน และเขตปกครองต่างๆ มีการประกอบพิธีทางศาสนา การเดินพาเรดในเมือง ฉลองนักบุญ การจุดพลุไฟ การประกวดความงามและการเต้นรำ รวมท้้งมีการตีไก่
อิทธิพลจากจีน จะพบได้จากอาหารซึ่งอาหารของฟิลิปปินส์นั้นจัดได้ว่าคล้าย อาหารจีน มีรสชาติค่อนข้างไม่เผ็นร้อนนักไม่เหมือนอาหารพื้นบ้านของไทย ฟิลิปปินส์นิยม กินก๋วยเตี๋ยวทีเป็นเส้น เรียกว่า Mami เช่นเดียวกับ อาหารจานเนื้ออื่นๆ นอกจากนี้ ภาษาจีนคือ ภาษาที่ชาวจีนในฟิลปปินส์นิยมพูดกันในชุมชนของตน
http://www.asean-info.com/asean_members/philippines_culture.html
อิทธิพลากอเมริกัน เนื่องจากฟิลิปปินส์อยู่ใต้การปกครองของประเทศสหรัฐฯ กว่า 14 ปี และได้รับอิทธิพลจากอเมริกันอย่างมาก ประเทศสหรัฐเป็นแหล่งที่คน มีการศึกษาในฟิลิปปินส์นิยมไปแสวงหาโชค และหางานทำมากมี่สุด อิทธพลทางวัฒนธรรมจากอเมริกัน นับว่ามีการแพร่หลาย ดังเช่น การพูดและใช้ภาษาอังกฤษ ในด้านกีฬจะเห็นได้จากกีฬาบาสเก็ตบอล ซึ่งเป้นกีฬายอดนิยมของฟิลิปปินส์ ร้านอาหารจารด่วน หรือฟาสฟูดส์ ก็ได้รับอิทธิพลจากอเมริกัน
ชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นประเทศหมุ่เกาะที่ประกอบด้วยเกาะจำนวนทั้งสิ้น 7,107 เกาะ ตั้งอยู่ในมหาสมุรแปซิฟิก ห่างจากเอเชียแผ่นดินใหญ่ทงตะวันออกเแียงใต้ ประเมาณ 100 กิโลเมตร และมีลักษณะพิเศษ คือ เป็นประเทศเพียงหนึ่งเดียวที่มีพรมแดนทางทะเลที่ตอต่อระหว่างกันยาวมากที่สุดในโลก พี้นที่ กว่าสองแสนเก้าหมื่นตารางกิโลเมตร (ประมาณ 3/5 ของประเทศไทย) เมืองหลวงคือกรุงมะนิลา ประชากร 88.7 ล้านคน(พ.ศ. 2550) เป็นประเทศมรสุมเขตร้อน ได้รับความชุ่มชื้นจากลมมรสุมทั้ง 2ฤดู ได้รับฝนจากลมพายุใต้ฝุ่น และดีเปรสชั้น
ภาษาที่ใช้ กว่า 170 ภาษา โดยส่วนมากเกือบทั้งหมดนั้นเป็นตระกูลภาษาย่อยมาลาโย-โปลินีเซียนตะวันตก แต่ในปี 2530 รัฐธรรมนูญได้ระบุให้ภาษาฟิลิปิโน และภาษาอังกฤษเป้ฯภาษาราชการ ส่วนภาษาต่างประเทศอื่นๆ ที่ใช้กันมากในฟิลิปปินส์ทั้งหมด 8 ภาษา ได้แก่ ภาษาตาการล็อก จีนฮกเกี้ยน ภาษาจีนแต้จิ้ว ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาซินด์ ภาษาปัญจาบ ภาษาเกาหลี และภาษาอาหรับ โดยฟิลิปปินส์ มีภาษาประจำชาติคือ ภาษาตากาล็อกhttp://www.bpp32.com/2555/acc/b0006.html
ภาษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับ ภาษาอินโดนีเซียน ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีตี ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาาากลางภายในประเทศ มีผุ้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยใช้ภาษาอังกฤษมากว่า
คำว่าตากาล็อกมาจาก taga-ilog โดย taga หมายถึงท้องถ่ิน และ ilog หมายถึงแม่น้ำ รวมแล้วหมายถึงผู้อาศัยอยู่กับแม่น้ำ ไม่มีตัวอย่งการเขียนของภาษาตากาล็อก ก่อนการมาถึงของสเปนในพุทธศตวรรษที่ 21 เหลืออยู่เลย ประวัติศาสตร์ของภาาาจึงเหลืออยู่น้อยมาก คาดว่าภาษานี้กำเนิดในฟิลิปปินส์ตอนกลางจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของมินดาเนาหรือวิซายาตะวันออก
หนังสื่อเล่มแรกที่เขียนด้วยภาษาตากาล็อกคือ Doctrina Cristiana ใน พ.ศ. 2136 โดยในหนังือเล่มนี้เขียนด้วยภาษาสเปนและภาษาตากาล็อก 2 รูปแบบคือใช้อักษรละตินและอักษรบายบายิน ในช่วงที่สเปนยึดครองอยู่ 333 ปี มีไวยากรณ์และพจนานุกรมเขียนโดยบาทหลวงชาวสเปน
ใน พ.ศ. 2480 ได้มีการสร้างภาษาประจำชาติโดยสภาบันภาษาแห่งชาติโดยใช้ภาษาตากาล็อกเป็นพื้นฐาน ภาษาประจำชาติที่เคยตั้งชื่อว่า Wikang pambansa (ภาษาแห่งชาติ)ดยประธานาธิบดีม มานูแอล เอเล. เกซอน เมื่อ พ.ศ. 2482 ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาปิลิปีโน ใน พ.ศ. 2502 แต่การเปลี่ยนชื่อนี้ไม่ได้รับการยอมรับจากผู้ที่ไม่ได้พูดภาาาตากาล็อก โดยเฉพาะผู้พูดภาษาเซบัวโน
ใน พ.ศ. 2514 เกิดหัวข้อทางด้านภาษาขึ้นอีกคร้งหนึ่ง ทำให้เปลี่ยนชื่อภาษประจำชาติจากภาาปิลิปีโนเป็นภาษาฟิลิปีโน โดยภาษาฟิลิปีโนเป็นภาษาที่ผสมลักษณะของภาษาตากาล็อกสำเนยงลูชอนกลาง ภาษาอังกฤษ และภาษาสเปน
ภาษาตากาล็อกถูกประกาศให้เป็นภาษาราชากรเมืองโดยสถาบันไบก์นาบาโตเมือง พ.ศ. 2440 ในพ.ศ. 2478 ได้ยกเลิกการใช้ภาาอังกฤษและภาษาสเปนเป้นภาษาราชาการ และได้พัฒนาภาาาราชการใหม่ขึ้นมา หลังจากการประชุมของถบันภาษาแห่งชาติ ซึ่งประกอบด้วยตัวแทน 7 คน จากส่วนต่างๆ ของฟิลิปปินส์ได้เลือกภาษาตากาล็อกใ้เป็นพี้นฐานมาจากภาษาตากาล็อกว่า วีกัง ปัมบันซา (ภาษาประจำชาติ) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป้นภษปิลิปีโน ในปีเดียวกัน
ความต่างของภาษาตากาล็อกและภาษาฟิลิปีโน |
ภาษาฟิลิปปิโน หรือ ภาษาฟิลิปีโน เป้ฯภาษาประจำชาติและภาษาราชการหนึ่งของประเทศฟิลิปินส์คู่กับภาษาอังกฤษ กำหนดเมือ่ พ.ศ. 2530 ภาษานี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาตาการล็อก เมื่อ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 สถาบันภาษาแห่งชาติเลือกภาษาตากาล็อกซึ่งเป็นภาษาท้องถ่ินที่มีการใช้เป็นภาษาเขียนมากที่สุดมาเป็นพื้นฐานของภาษาประจำชาติภาษาใหม่ใน พ.ศ. 2540 ภาษานี้เป็นที่รู้จักในชื่อ ปิลิปีโน และเปลี่ยนชื่อเป้ฯภาษาฟลิปปินส์เมื่อ พ.ศ. 2515
เริ่มแรก Balarila ng Wikang Pambansa นำอักษร 20 ตัวที่แสดงเสียงใภาษาตากาล็อก ได้แก่ a b k d e g h i l m n ng (ng ถือเป็นอักษรตัวเดียว) o p r s t u w y สภาบัภาษแห่งชาติเร่ิมภาษาใหม่เมื่อ พ.ศ. 2516 แลพเพิ่มอักษรเป็น 31 ตัวเมือง พ.ศ. 2519 คืออักษร 26 สำหรับภาาอังกฤษ และอักษรจากภาษาสเปนคือñ, ll, rr,และ ch, ng จากภภาษาตากาล็อก ต่อมา พ.ศ. 2530 ตัดอักษร rr,ll,ch ออกไปโดยเหลือเพียง 28 ตัว th.wikipedia.org/wiki/ภาษาฟิลิปีโน
วันอังคารที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560
Malayu Land
กลุ่มวัฒนธรรม มาเลเซีย-อินโดนีเซีย-บรูไน ดารุสซาลาม-สิงคโปร์
เป็นกลุ่มประเทศที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถื่อศสนาอิสลาม แต่ก็มีประชาชนส่วนหนึ่งนับถื่อศาสนาพุทธ คริสต์ และฮินดุด้วยสัดส่วนที่แตกต่างกันไป ดังนั้น วัฒนธรรมประเพณี ศิลปะ การแสดง จะมีความคล้ายคลึงกัน ในขณะที่สิงคโปร์เป็นสังคมผสมผสานระหว่างจีน-มาเลย์-อินเดีย ดังนั้น จึงมีคตวามหลากหลายของวัฒนธรรม
ดินแดนคาบแหลมมลายู โดยเฉพาะปลายแหลมมลายูนั้นเป้นพื้นที่ส่วนหนึ่งของ อาณาจักรศรีวิชัยมาก่อน บนเกาะสุมาตรานั้นเป็นที่ตั้งของเมืองปาเล็มบัง ซึงเมือหลวงของอาณาจักรศรีวิชัย ได้ลี้ภัยหนีข้าศึก ต่อมาเมืองอาณาจักรศรีวิชัยหมดอำนาจลง จึงลี้ภัยไปอยู่ยังเกาะสิงหปุระหรือสิงคโปร์ในปัจจุบัน อาณาจักรมัชฌาปาหิต (ชวา) จึงนำกำลังเข้ายึดเมืองไว้ได้
เมืองมะละกามีตำนานเล่าว่า พระปรเมศวร หรือสุลต่าน อิสกันดาร์ซาห์ นั้นได้เสอด็จอพยพจากเมืองมูอาร์ เพื่อล่าสัตว์ โดยติดตามสุนัขล่าเนื้อของพระองค์ได้ไล่ตามกระจงได้ปรากฎว่ากระจงตัวนั้นหันกลับมาอย่างกะทันหัน เข้าต่อสุ้กับสุนัขล่าเนื้อของพระองค์แล้วดีดสุนัขจนหนี พระองค์จึงรัสว่า "ตรงนี้แหละเป้นสถานที่ดี ที่จะสร้างบ้านเมือง ด้วยเหตุที่กระจงมันังหันมาสู้กับสุนัขอย่างสุดฤทธิ์" พระปรเมศวรจึงให้ไพรพลของพระองค์ได้สร้างเมืองขึ้นตรงสถานแห่งนี้ และตั้งชื่อเมืองนี้ดามช่ื่อต้นไม้ที่พระองค์ใช้ยืนประทับอยู่คือ ต้นมะละกา ว่าเมื่องมะละกา..
ต่อมามะละกาก็มีปัญหากับอาณาจักรมัชฌาปาหิต (ชวา) และอาณาจักสยามต่างอ้างสิทธิในการครอบครองคาบสมุทรมลายูและดินแดนมะละกา มะละกาจึงยอมที่จะมีสัมพันธ์ไมตรีกับอาณาจักรสยาม ดดยส่งทาองคำ 40 ออนซื เป็นเครื่องบรรณาการและอาณาจักรมัชฌาปาหิต (ชวา) เพื่อสงบสงคราม โดยมีการส่งข้าวมาให้เมืองมะละกา มะละกาจึงหาโอกาสฟื้นฟูเมืองต่อไป
ต่อมาในปี พ.ศ. 1946 หยินซิง ขันที่ซึ่งเป็นทูตจากจีนนำผ้าไหมมายังมะละกา พระปรเมศวรจึงถือโอกาสขอความช่วยเหลือจาก พระเจ้าเซ็งสูหรือหยุงโล้ จักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หมิง ให้ช่วยป้องกันมิให้อาณาจัการสยามรุกราน ในปี พ.ศ. 1948 ปรเมศวร จึงส่งทุตเมืองมะละกาไปติดตอกับจีน ครั้งนั้นจีนได้รับรองเมือง (เรือสินค้ายอมจ่ายค่าเดินทงผ่าน) ทำให้เมืองมมะละกาเป็นศุย์กลางการต้าขายที่สำคัญ ของคาบสมุทรมลายู เป็นเส้นทางเครื่องเทศจากหมู่เกาะโมลุกกะ ที่จะต้องแวดเมืองท่านี้ ก่อนจะเดินทางไปอินเดียและชวาdooasia.com/thaihistory/h007c005.shtml
ภาษามลายูเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมมลายู อยู่ในตระกูลภาษามเลโย-โพลิเนเซียน หรือ ออสโตรเนเซียน เดิมที่ผุ้คนใช้ภาษามลายูจำนวนไม่มาก คือ เป็นภาษาของผุ้คนที่อาศัยอยุ่ในแถบคาบสทุรามลาย หมุ่เกาะเรียว และสุมาตราใช้กัน แต่ประวัติศาสตร์จารึกไว้ว่า ภาาามลายู เป็นภาษาสื่อกลาง ในบริเวณหมู่เกาะมลายูมานานแล้ว อิสมาอิล หามิด สรุปไว้ว่า "ภาษามฃลายู" เร่ิมสร้างประวัติศาสตร์ให้กับตนเองมาตั้งแต่ได้มีการก่อตั้งอาณาจักรมลายูที่เมือง "ฌัมบี" ในสุมาตรา ซึ่งตามหลักฐานจีนบันทึกว่าราชกาณาจักรมลายูฌัมบีนีเคยส่งทูตสันทวไมตรีไปยังพระเจ้ากรุงจีน
ในสมัยที่อาณาจักรศรีวิชันรุ่งเรืองนั้น ภาษามลายูเปนภาษาสื่อกลางในการสอนภาษาสันสกฤตและและสอนปรัชญาทางศาสนาพุทธ และเป็นภาาาสื่อกลางของผุ้คนซึ่งตั้งถิ่นฐานอาศยอยุ่ในบริเวณหมุ่เกาะมลายู ตลอดจนผู้คนต่างชาติที่ เช่น พวกพ่อค้าจากยุโรป และตะวันออกกลาง รวมทั้งพวกสัญจรไปมาจากอินเดียและจีนด้วย
ภาษามลายูในยุคต้นนั้นได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอินเดียและลัทธิฮินดุมาประวัติศาสตร์ได้จารึกว่าศาสนาฮินดูได้ผนวกเข้าไปในสังคมของหมุ่เกาะมลายูตั้งแต่สมัยราชอาณาจักรมลายูฮินดู ราวคริตศตวรรษที่ 1 และเจริญรุ่งรืองมากที่สุดในราว คริตศตวรรษที่ 4 วัฒณธรรมอินเดียจึงมีอิทธิพลและมีบทบาทต่อวิถีชีวติของชนชาติในอาณาบริเวณหมู่เกาะมลายู ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของกษัตริย์ ที่เป็นฮินดูนี้มาก อีกประการคือชนชั้นปกครองนี้นิยมใช้ภาาาสันสกฤตในชีวิตประจำวัน และภาษาสันสกฤตเป็นภาษาคัมภร์พระเวทย์ที่ผุ้นับถื่อศาสนาฮินดูต้องศึกษา จึงทำให้ภาษาสันสกฤตถูกนำไปใช้ในชวิตประจำวันของผู้คนเหล่านั้นอย่างแพร่หลาย และมีอิทธิพลต่อความเปลี่ยนแปลงของบทบาทภาษามลายูต่อมา.. หลังจากตกอยู่ภายใต้การปกครองของชวา ด้วยคุณลักษณะของภาษามลายูที่ง่ายแก่การนำไปใช้ มีโครงสร้างง่ายๆ ไม่สลับซับซ้อนมากจนเกินไป มีความสะดวกและสามารถนำไปปรับใช้กับภาษาอื่นๆ ได้ดีกว่า จึงทำให้ภาษามลายูมีบทบาทในสังคมของชนชาติที่อาศัยอยุ่ในบริเวณหมุ่เกาะมลายู แลเพียงเวลาอันสั้นเท่านั้น ภาษามลายูสามารถมีบทบาทเหนือกว่าภาษาชวาและภาษาบาตัก
http://bahasatsu.blogspot.com/2009/06/sejarah-bahasa-melayu.html
เมื่ออำนาจของมัชปาหิตเสื่อมลงอิทธิพลของวัฒนธรรมอินเดียก็เสื่อมลง ชนชาติต่างๆ ในหมุ่เกาะมลายูในช่วงนี้อยู่ภายใต้อิทธิพลของกษัตริย์มลายูที่นับถือศาสนาอิสลาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมัยที่อาณาจักรมลายูที่ศุนยกลางอยู่ที่เมืองมะละกา ตั้งแต่คริสตวรรษที่13 นั้น ภาษามลายู เจริญรุ่งเรืองมากที่สุด และในระยะนี้เองที่ศาสนาอิสลามได้แผ่ขยายเข้าสู่สังคมของชนชาตในบริเวณคาบสมทุรมลายูอย่างรวดเร็ว จนสามารุเข้าไปแทนทีอิทธิพลของวัฒนธรรมฮินดู-พุทธได้สำเร็จ ผลจากการเข้ามาของศาสนาอิสลามในช่วงนี้ทำให้มีการใช้อักษรอาหรับ (อักษรที่เขียนในพระมหาคัมภีร์กุรอาน) ในการเขียนภาษามลายู ที่เรียกว่า "อักษรยาวี" พร้อมกันนั้นก็รับเอาคำภาษาอาหรับที่ให้ความหมายทางธรรมเนียมอิสลามด้วย และมีที่สำคัญยิ่งคือเป็นช่วงที่ภาษามลายูได้วิวัฒนาการเข้าสู่ระดับภาษาแห่งวรรณกรรม และมีความเป็นภาษาศิลป์(วรรณกรรมมลายูเรพ่มมีการตีพิมพ์เป็นครั้งแรกหลังคริสตวรรษที่ 14)
ความสัมพันธ์ของโลกมลายูและโลกอาหรับ
ด้านวัฒนธรรม ก่อนที่ศาสนาอิสลามจะเข้ามามีบทบาทในแหลมมลายูปลายศตวรรษที่ 13 นั้น ภูมิภาคแห่งนี้ตกอยุ่ใต้อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ ฮินดู และพุทธ มาก่อน ปัจจุบันร่อยรอยอิทธิพลของศาสนาเหล่านั้นยังพอม่ให้เห็นอยู่มาก ผลจากการเข้ามาของศาสนอิสลามนั้น ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแผลงของสังคมมลายูในหลายๆ ด้าน เช่นการตั้งชื่อของชาวมุสลิม ส่วนใหญ่ใช้ชื่อภาษาอาหรับ อันเป็นชื่อของบรรดาศาสนทูต ของพรเจ้า หรือบุคคลที่มีชื่อเสีย กาแต่งกายก็เช่นเดียวกน ได้รับอทธิพลมาจากอาหรับ เช่นชุดโตป (ชุดยาว) สำหรับผุ้ชาย และชุดญบะฮ์ (ชุดยาว) สำหรับผุ้หญิง
ในด้านความเชื่อได้มีการเปลี่ยนแปลงจากความเชื่อในสิ่งศักดิ์ิทธิ บูชาบรรพบุรุษและภูตผี ปีศาจ มาสู่การศรัทธาในพระเจ้าองค์เดียว และที่สำคัญประการหนึ่งของอิทธิพลศาสนาอิสลามต่อโลกมลายู คือ ภาษาอาหรับ อันเป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน ซึ่งเป็นคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม ภาษามลายูจึงหยิบยืมตัวอักษรอาหรับและพัฒนากลายเป็นตัวเขียนอักษรยาวี ซึ่งถูกนำมาใช้อย่งกว้างขวางในแหลมมลายู
ความสัมพันธ์ทางด้านภาษา ภาษาอาหรับมีอิทธพลมากในโลกมลายู อันเนื่องมาจากอิทธิพลทางศาสนาดังที่กล่าวมาข้างต้น
อักษรยาวี ภาษามลายูที่ตัวภาษา หรือเนื้อภาษาเท่านั้น ไม่มีตัวเขียนเป็นของตัวเอง จึงต้องอาศยตัวเขียนของภาษาอื่น ในปัจจุบันึงพบว่ามีตัวเขียน หือลักษณะอักษรอยู่ องชนิดคือ ลักษณะที่เป็นอักษรโรมัน เรียกว่า แบบรูมี และลักษณะที่เรียกว่าแบบยาวี คำยืมจากภาษาอาหับ มีอย่างกว้างขวาง ชาวมลายูสวนใหญ่ไม่ได้ใช้ภาษาอาหรับเป็นภาษาแม่ แต่สามารถอ่านภาษาอาหรับที่เป็นภาษาคัมภีร์อัลกุรอ่าน และเอกสารที่เกี่ยวกับศาสนาได้ นอกจากนี้ยังมีความสัมพันธ์ทางภาษาทางด้านวรรณกรรม และวรรณคดีอีกด้วยhttp://www.islammore.com/view/1175
ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 มลายุตกอยุ่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ นั้นยังใช้ภาษามลายูในการติดต่อราชการ สำหรับพวกเจ้าหน้าที่ต่างชาติที่เข้าไปปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่ดังกล่าวนี้ก็มีการบังคับให้เรียนและจะต้องสอบวิชาาภาษามลายูให้ผ่านก่อนที่จะเข้ารับตำแหน่งด้วย เจ้าหน้าที่เหล่านี้บางคนได้กลายเป็นนักวิชาการและผุ้เชียวชาญทางด้านภาษมลายูในเวลต่อมา
หลังสงครามโลกครั้งีที่ 2 เมื่อเจ้าหน้าที่อังกฤษที่มาจาฝ่ายทหารเข้ามาเป็น "เจ้า" ปกครองแผ่นดินซึ่งปรากฎว่าไม่เพียงแต่ภาษามลายูเท่านั้นที่ถูกทำลาย หากวิถีของผุ้คนในประเทศก็ถุกทำลายด้วยเช่นกัน ภาษามลายูในสมัยั้นมีฐานเป็นเพียงภาษาของชนชั้นต่ำ และใช้เป็นภาษาในการเรียนการสอนเฉพาะในโรงเรียนระดับต้น และโรงเรียนอาหรับส่วนพวกชนชั้นสูงจะใช้ภาษาอังกฤษ และแม้แต่ในรัฐต่างๆ ที่อยู่ในสหพันธรัฐ ก็ใช้ภาาอังกฤษในการติดต่องานราชการด้วยงานวรรณกรรมที่เขียนขึ้นในช่วงนี้จึงเป้ฯผลงายของพวกปัญญาชนที่จบการศึกษาจากโรงเรียนมลายู หรือโรงเรียนอาหรับ
ในสมันนี้เองภาษามลายุจึงเริ่มมีความสัมพันธ์กับภาษาของชาติตะวันตก โดยมีการยืมคำโปรตุเกส ฮอลันดา และอังกฤษ นอกจากนั้นยังมีการรับเอาภาาาจีน ทมิฬ อาหรับและเปอร์เซียอีกด้วย...http://bahasatsu.blogspot.com/2009/06/sejarah-bahasa-melayu.html
เป็นกลุ่มประเทศที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถื่อศสนาอิสลาม แต่ก็มีประชาชนส่วนหนึ่งนับถื่อศาสนาพุทธ คริสต์ และฮินดุด้วยสัดส่วนที่แตกต่างกันไป ดังนั้น วัฒนธรรมประเพณี ศิลปะ การแสดง จะมีความคล้ายคลึงกัน ในขณะที่สิงคโปร์เป็นสังคมผสมผสานระหว่างจีน-มาเลย์-อินเดีย ดังนั้น จึงมีคตวามหลากหลายของวัฒนธรรม
ดินแดนคาบแหลมมลายู โดยเฉพาะปลายแหลมมลายูนั้นเป้นพื้นที่ส่วนหนึ่งของ อาณาจักรศรีวิชัยมาก่อน บนเกาะสุมาตรานั้นเป็นที่ตั้งของเมืองปาเล็มบัง ซึงเมือหลวงของอาณาจักรศรีวิชัย ได้ลี้ภัยหนีข้าศึก ต่อมาเมืองอาณาจักรศรีวิชัยหมดอำนาจลง จึงลี้ภัยไปอยู่ยังเกาะสิงหปุระหรือสิงคโปร์ในปัจจุบัน อาณาจักรมัชฌาปาหิต (ชวา) จึงนำกำลังเข้ายึดเมืองไว้ได้
มะละกา |
ต่อมามะละกาก็มีปัญหากับอาณาจักรมัชฌาปาหิต (ชวา) และอาณาจักสยามต่างอ้างสิทธิในการครอบครองคาบสมุทรมลายูและดินแดนมะละกา มะละกาจึงยอมที่จะมีสัมพันธ์ไมตรีกับอาณาจักรสยาม ดดยส่งทาองคำ 40 ออนซื เป็นเครื่องบรรณาการและอาณาจักรมัชฌาปาหิต (ชวา) เพื่อสงบสงคราม โดยมีการส่งข้าวมาให้เมืองมะละกา มะละกาจึงหาโอกาสฟื้นฟูเมืองต่อไป
ต่อมาในปี พ.ศ. 1946 หยินซิง ขันที่ซึ่งเป็นทูตจากจีนนำผ้าไหมมายังมะละกา พระปรเมศวรจึงถือโอกาสขอความช่วยเหลือจาก พระเจ้าเซ็งสูหรือหยุงโล้ จักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หมิง ให้ช่วยป้องกันมิให้อาณาจัการสยามรุกราน ในปี พ.ศ. 1948 ปรเมศวร จึงส่งทุตเมืองมะละกาไปติดตอกับจีน ครั้งนั้นจีนได้รับรองเมือง (เรือสินค้ายอมจ่ายค่าเดินทงผ่าน) ทำให้เมืองมมะละกาเป็นศุย์กลางการต้าขายที่สำคัญ ของคาบสมุทรมลายู เป็นเส้นทางเครื่องเทศจากหมู่เกาะโมลุกกะ ที่จะต้องแวดเมืองท่านี้ ก่อนจะเดินทางไปอินเดียและชวาdooasia.com/thaihistory/h007c005.shtml
ภาษามลายูเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมมลายู อยู่ในตระกูลภาษามเลโย-โพลิเนเซียน หรือ ออสโตรเนเซียน เดิมที่ผุ้คนใช้ภาษามลายูจำนวนไม่มาก คือ เป็นภาษาของผุ้คนที่อาศัยอยุ่ในแถบคาบสทุรามลาย หมุ่เกาะเรียว และสุมาตราใช้กัน แต่ประวัติศาสตร์จารึกไว้ว่า ภาาามลายู เป็นภาษาสื่อกลาง ในบริเวณหมู่เกาะมลายูมานานแล้ว อิสมาอิล หามิด สรุปไว้ว่า "ภาษามฃลายู" เร่ิมสร้างประวัติศาสตร์ให้กับตนเองมาตั้งแต่ได้มีการก่อตั้งอาณาจักรมลายูที่เมือง "ฌัมบี" ในสุมาตรา ซึ่งตามหลักฐานจีนบันทึกว่าราชกาณาจักรมลายูฌัมบีนีเคยส่งทูตสันทวไมตรีไปยังพระเจ้ากรุงจีน
ในสมัยที่อาณาจักรศรีวิชันรุ่งเรืองนั้น ภาษามลายูเปนภาษาสื่อกลางในการสอนภาษาสันสกฤตและและสอนปรัชญาทางศาสนาพุทธ และเป็นภาาาสื่อกลางของผุ้คนซึ่งตั้งถิ่นฐานอาศยอยุ่ในบริเวณหมุ่เกาะมลายู ตลอดจนผู้คนต่างชาติที่ เช่น พวกพ่อค้าจากยุโรป และตะวันออกกลาง รวมทั้งพวกสัญจรไปมาจากอินเดียและจีนด้วย
ภาษามลายูในยุคต้นนั้นได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอินเดียและลัทธิฮินดุมาประวัติศาสตร์ได้จารึกว่าศาสนาฮินดูได้ผนวกเข้าไปในสังคมของหมุ่เกาะมลายูตั้งแต่สมัยราชอาณาจักรมลายูฮินดู ราวคริตศตวรรษที่ 1 และเจริญรุ่งรืองมากที่สุดในราว คริตศตวรรษที่ 4 วัฒณธรรมอินเดียจึงมีอิทธิพลและมีบทบาทต่อวิถีชีวติของชนชาติในอาณาบริเวณหมู่เกาะมลายู ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของกษัตริย์ ที่เป็นฮินดูนี้มาก อีกประการคือชนชั้นปกครองนี้นิยมใช้ภาาาสันสกฤตในชีวิตประจำวัน และภาษาสันสกฤตเป็นภาษาคัมภร์พระเวทย์ที่ผุ้นับถื่อศาสนาฮินดูต้องศึกษา จึงทำให้ภาษาสันสกฤตถูกนำไปใช้ในชวิตประจำวันของผู้คนเหล่านั้นอย่างแพร่หลาย และมีอิทธิพลต่อความเปลี่ยนแปลงของบทบาทภาษามลายูต่อมา.. หลังจากตกอยู่ภายใต้การปกครองของชวา ด้วยคุณลักษณะของภาษามลายูที่ง่ายแก่การนำไปใช้ มีโครงสร้างง่ายๆ ไม่สลับซับซ้อนมากจนเกินไป มีความสะดวกและสามารถนำไปปรับใช้กับภาษาอื่นๆ ได้ดีกว่า จึงทำให้ภาษามลายูมีบทบาทในสังคมของชนชาติที่อาศัยอยุ่ในบริเวณหมุ่เกาะมลายู แลเพียงเวลาอันสั้นเท่านั้น ภาษามลายูสามารถมีบทบาทเหนือกว่าภาษาชวาและภาษาบาตัก
http://bahasatsu.blogspot.com/2009/06/sejarah-bahasa-melayu.html
อาณาจักรศรีวิชัย |
ความสัมพันธ์ของโลกมลายูและโลกอาหรับ
ด้านวัฒนธรรม ก่อนที่ศาสนาอิสลามจะเข้ามามีบทบาทในแหลมมลายูปลายศตวรรษที่ 13 นั้น ภูมิภาคแห่งนี้ตกอยุ่ใต้อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ ฮินดู และพุทธ มาก่อน ปัจจุบันร่อยรอยอิทธิพลของศาสนาเหล่านั้นยังพอม่ให้เห็นอยู่มาก ผลจากการเข้ามาของศาสนอิสลามนั้น ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแผลงของสังคมมลายูในหลายๆ ด้าน เช่นการตั้งชื่อของชาวมุสลิม ส่วนใหญ่ใช้ชื่อภาษาอาหรับ อันเป็นชื่อของบรรดาศาสนทูต ของพรเจ้า หรือบุคคลที่มีชื่อเสีย กาแต่งกายก็เช่นเดียวกน ได้รับอทธิพลมาจากอาหรับ เช่นชุดโตป (ชุดยาว) สำหรับผุ้ชาย และชุดญบะฮ์ (ชุดยาว) สำหรับผุ้หญิง
ในด้านความเชื่อได้มีการเปลี่ยนแปลงจากความเชื่อในสิ่งศักดิ์ิทธิ บูชาบรรพบุรุษและภูตผี ปีศาจ มาสู่การศรัทธาในพระเจ้าองค์เดียว และที่สำคัญประการหนึ่งของอิทธิพลศาสนาอิสลามต่อโลกมลายู คือ ภาษาอาหรับ อันเป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน ซึ่งเป็นคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม ภาษามลายูจึงหยิบยืมตัวอักษรอาหรับและพัฒนากลายเป็นตัวเขียนอักษรยาวี ซึ่งถูกนำมาใช้อย่งกว้างขวางในแหลมมลายู
ความสัมพันธ์ทางด้านภาษา ภาษาอาหรับมีอิทธพลมากในโลกมลายู อันเนื่องมาจากอิทธิพลทางศาสนาดังที่กล่าวมาข้างต้น
ต้นมะละกา หรือ มะขามป้อม |
ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 มลายุตกอยุ่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ นั้นยังใช้ภาษามลายูในการติดต่อราชการ สำหรับพวกเจ้าหน้าที่ต่างชาติที่เข้าไปปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่ดังกล่าวนี้ก็มีการบังคับให้เรียนและจะต้องสอบวิชาาภาษามลายูให้ผ่านก่อนที่จะเข้ารับตำแหน่งด้วย เจ้าหน้าที่เหล่านี้บางคนได้กลายเป็นนักวิชาการและผุ้เชียวชาญทางด้านภาษมลายูในเวลต่อมา
หลังสงครามโลกครั้งีที่ 2 เมื่อเจ้าหน้าที่อังกฤษที่มาจาฝ่ายทหารเข้ามาเป็น "เจ้า" ปกครองแผ่นดินซึ่งปรากฎว่าไม่เพียงแต่ภาษามลายูเท่านั้นที่ถูกทำลาย หากวิถีของผุ้คนในประเทศก็ถุกทำลายด้วยเช่นกัน ภาษามลายูในสมัยั้นมีฐานเป็นเพียงภาษาของชนชั้นต่ำ และใช้เป็นภาษาในการเรียนการสอนเฉพาะในโรงเรียนระดับต้น และโรงเรียนอาหรับส่วนพวกชนชั้นสูงจะใช้ภาษาอังกฤษ และแม้แต่ในรัฐต่างๆ ที่อยู่ในสหพันธรัฐ ก็ใช้ภาาอังกฤษในการติดต่องานราชการด้วยงานวรรณกรรมที่เขียนขึ้นในช่วงนี้จึงเป้ฯผลงายของพวกปัญญาชนที่จบการศึกษาจากโรงเรียนมลายู หรือโรงเรียนอาหรับ
ในสมันนี้เองภาษามลายุจึงเริ่มมีความสัมพันธ์กับภาษาของชาติตะวันตก โดยมีการยืมคำโปรตุเกส ฮอลันดา และอังกฤษ นอกจากนั้นยังมีการรับเอาภาาาจีน ทมิฬ อาหรับและเปอร์เซียอีกด้วย...http://bahasatsu.blogspot.com/2009/06/sejarah-bahasa-melayu.html
วันจันทร์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2560
Maekongrelation
ปฏิญญาเซบูว่าด้วยการเร่งรัดจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายในปี 2015 ส่งผลให้ประชคมอาเวยน ประกอบด้วย ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ทั้งนี้อาเซียนได้มีการรับรอง แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน โดยแผนงานนี้จะมุ่งเน้นถึงประเด็นการชจัดปัญหาความยากจนและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ที่สืบเนื่องมาจากความผันผวนทางเศราฐกิจ
เป้าหมายของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนมีเป้าหมายในการดำเนินการ 5 ประการ ได้แก่
- ทำให้ประชาคมอาเวียน นั้นมีประชาชนเป้นศูนย์กลาง และเป็นสังคมที่มีความรับผิดชอบ มีความเื้ออาทรต่อกัน ซึ่งจะนำมสู่ ความเป็นหนึ่งเดียวกันในภูมิภาค
- ทำให้คุรภาพชีวิตของประชาชในภูมิภาคน้นดีขึ้น เน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้งต่อตัวประชชนเองและสิงแวดล้อม
- เน้นการส่งเสริมและคุ้มครองในเรื่องสิทธิมนุษยชน ความยุติธรรมทางังคมการเคารพในสิทธิเสรีภาพขึ้นพื้นฐาน ความเท่าเทียมกันทางเพศ อันเป็นพื้นฐานของการพัฒนามนุษย์และสังคม
- เน้นความเคารพในความหลากหลายทางวัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ของประชาชนชาติต่างๆ ในประเทศสมชิกอาเวยโดยได้เน้นถึงการให้คุณต่าร่วมกันรวมถึงการปรับตัวให้เข้ากับสถานการ์ต่างๆ ในปจจุบัน
- เน้นการลดช่องว่างทางสังคมของประชาชนในอาเซียนโดยให้มีการพัฒนาไปในแนวทางเดียวกันwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4001&filename=aseanknowledge
โดยรวมแล้วกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถจำแนกออกเป็น 3 กลุ่ม วัฒนธรรมหลัก ตามลักษณะที่ตั้ง ซึ่งสะท้อนวิถีชีวิตวัฒนธรรมที่สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม ดังนี้
กลุ่มวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง ประกอบด้วย ไทย ลาว เขมร พม่า เวียดนาม ซึ่งกลุ่มประเทศเหล่านี้พุดภาษาในตระกูล ไท-กะได ได้แก่ ประเทศ ไทย ลาว ตระกูลภาษามอญ-เขมร ได้แก่ ประเทศ เขมร และ เวียดนาม และ จีน-ทิเบต สาขาย่อยทิเบต-พม่า
กลุ่มวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง มีประเพณีและวัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกัน เช่น ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งเป็นการเฉลิมฉลองการขึ้นปีใหม่ของการเพาะปลูกเป็นต้น การแสดงรามเกียรติ์ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากอินเดีย จากเรื่อง รามยณะ ในกลุ่มวัฒนธรรมนี้ จะได้รับอิทธิพลจากอินเดียทางด้านวัฒนธรรม โดยเฉพาะเขมร ซึ่งแต่ก่อนอาณาจักรขอมโบราณ นับถือศาสนาฮินดู ปกครองด้วยระบอบสมมุติเทพ ก่อนจะมาเสียราชธานีให้กับอโยทยา เวียดนามจะได้รับอิทธิพลจากจีนมากกว่าประเทศอื่น เพราะเคยตกอยู่ภายใต้การปกครองของจีนเป็นเวลานาน ในประเทศอื่นๆ ในกล่มวัฒนธรรมนี้ อิทธิพลของวัฒนธรรมจีนจะเข้ามากับชนกลุ่มน้อย หรือผุ้ที่อพยพลงมาจากจีนและนำวัฒนธรรมประเพณีเข้ามาด้วย
ทางด้านภาษา ภาษามอญเป็นภาษาที่เก่าแก่ในภูมิภาคนี้ หลักแหล่งเดิมของชาวมอญอยุ่ในประเทศพม่าปัจจุบัน เนื่องจากแพ้สงครามต่ออาณาจักรพุกาม และเรื่อยมา กระทั่งถูกพม่ากลืนชาติ ชาวมอญจึงอพยพมายังประเทศไทยในปัจจุบัน แต่ในทางกลับกัน ประเพณีวัฒนธรรมต่างๆ ได้แทรกซึมเข้าสู่พม่า กระทั่งพม่าต้องยอมรับประเพณีนั้นเป็นของตน เช่น ประเพณีสงกรานต์เป็นต้น
ส่วนภาษาพม่านั้นจัดอยู่ในกลุ่มภาษาจีน-ทิเบต สาขาย่อย ทิเบต-พม่า ภาษาถิ่นและสำเนียง ภาษาพม่ามาตรฐานคือสำเนียงย่างกุ้ง ภาษาถิ่นในพม่าภาคเหนือและภาคใต้จะต่างจากภาษากลาง ภาษาถิ่นในเขตยะไข่หรือารกั ยังมีเสียง/ร/ แต่สำเนียงย่างกุ้งออกเสียงเป็น /ย/ ภาษาพม่าแบ่งอย่างกว้างๆ ได้ 2 ระดับ คือระดับทางการใช้งานวรรณคดี งานราชการและวิทยุกระจายเสียงระดับไม่เป็นทางการใช้ภายในครอบครัวและเพื่อ พระภิกษุชาวพม่ามักพุดกันเองด้วยภาษาบาลีซึ่งได้รับอิทธพิบจากพุทธศาสนา
ไทย กับลาวนั้น เป็นสองประเทศที่ใช้ภาษาในกลุ่มไท-กะไดเป็นภาษาราชการ กลุ่มภาษาไท-กะไดนั้น มีแหล่งกำเนิดจากตอนใต้ของจีนและเรื่อยลงมาถึงภาคกลางของไทยในปัจจุบัน
ความหลากหลายของตระกูลภาษาไท-กะไดในทางตอนใต้ของประเทศจีนบ่งบอกถึงมีความสัมพันธ์กับถิ่นกำเนิดของภาษา ผู้พูดภาษาสาขาไทอพยพจากตอนใต้ของจีนลงทางใต้เข้าสู่เอเซียตะวันออกเฉียงใต้แต่คร้ังโบราณ เข้าสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยและลาวบริเวณนี้เป็นบริเวณที่พบผุ้พูดภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียติก
ชื่อ "ไท-กะได" มาจากการจัดแบ่งตระกูลภาษาออกเป็นสองสาขาคือ "ไท" และ "กะได" ซึ่งเลิกใช้แล้วเนื่องจากกะไดจะเป็นกลุ่มภาษาที่เป็นไปได้ก็ต่อเมื่อมีกลุ่มภาษาไทรวมอยุ่ด้วย ในบางบริบทคำว่ากะไดจึงใช้เีรียกตระกูลภาษาไท-กะไดทั้งตระกูล แต่บางบริบทก็จำกัดการใช้คำนี้ให้แคบลง โดยหมายถึงกลุ่มภาษาขร้าที่เป็นส่วนหนึงของตระกุลภาษานี้
กลุ่มภาษามอญ-เขมร เป็นกลุ่มของภาษาพื้นเมืองในแถบอินโดจีน อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกเช่นเดียวกับ กลุ่มภาษามุนดาในอินเดีย การแบ่งกลุ่มย่อยของภาษาในกลุ่มนี้ เมื่อ พ.ศ. 2517 มีดังนี้
- กลุ่มตะวันออกได้แก่ ภาษาเขมรที่ใช้พูดในกัมพุชา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย และภาคใต้ของเวียดนาม ราว 15-22 ล้านคน กลุ่มภาษาเบียริก ในภาคใต้ของกัมพุชา กลุ่มภาษาบะห์นาริก ในเวียดนาม กัมพุชาและลาว กลุ่มภาษากะตู ในลาวภาคกลางกลุ่มภาษาเวียดติกในเวียดนาม
- กลุ่มเหนือ ได้แก่ภาษากาสีในรัฐเมฆาลัย อินเดีย กลุ่มภาษาปะหล่อง ในชายแดนจีน-พม่า และภาคเหนือของไทย กลุ่มภาษาขมุในลาวภาคเหนือ กลุ่มภาษาม้งในเวียดนามและจีน กลุ่มภาษาปยูในจีน
- กลุ่มใต้ ได้แก่ กลุ่มภาษามอญในพม่าและไทย กลุ่มภาษาอัสเลียนในภาคใต้ของไทยและมาเลเซีย กลุ่มภาษานิโคบาร์ในหมุ่เกาะนิโคบาร์
- กลุ่มที่จำแนกไม่ได้ ได้แก่ภาษาบูกัน บูซินชัว เกเมียฮัวและกวนฮัวในจีน
เวียดนามใช้ตระกูล กลุ่มภาษาเวียตติก หรือ กลุ่มภาษาเวียต-เหมื่อง เป็นสาขาของตระกูลออกโตรเอเชียติกซึ่งรวมภาษาเวียดนามและภาษาเหมือง ไว้ในกลุ่มนี้ ภาษาเวียดนามจัดอยุ่ในตระกูลออสโตรเอเชียติกซึ่งรวมภาาาเวียดนาม และภาษาเหมื่อง ไว้ในกลุ่มนี้ ภาษาเวียดนามจัดเขาอยุ่ในตระกูลออสโตรเอเชียติกเมื่อ พ.ศ. 2493 มีคำยืมจากภาษาจีนและกลุ่มภาษาไทมากจนปัจจุบันกลายเป็นภาษาคำโดดที่มีวรรณยุกต์คล้ายกับภาษาไทยหรือภาษาจีนสำเนียงทางใต้มากกว่าภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกอื่นpi-nu.blogspot.com
เป้าหมายของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนมีเป้าหมายในการดำเนินการ 5 ประการ ได้แก่
- ทำให้ประชาคมอาเวียน นั้นมีประชาชนเป้นศูนย์กลาง และเป็นสังคมที่มีความรับผิดชอบ มีความเื้ออาทรต่อกัน ซึ่งจะนำมสู่ ความเป็นหนึ่งเดียวกันในภูมิภาค
- เน้นการส่งเสริมและคุ้มครองในเรื่องสิทธิมนุษยชน ความยุติธรรมทางังคมการเคารพในสิทธิเสรีภาพขึ้นพื้นฐาน ความเท่าเทียมกันทางเพศ อันเป็นพื้นฐานของการพัฒนามนุษย์และสังคม
- เน้นความเคารพในความหลากหลายทางวัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ของประชาชนชาติต่างๆ ในประเทศสมชิกอาเวยโดยได้เน้นถึงการให้คุณต่าร่วมกันรวมถึงการปรับตัวให้เข้ากับสถานการ์ต่างๆ ในปจจุบัน
- เน้นการลดช่องว่างทางสังคมของประชาชนในอาเซียนโดยให้มีการพัฒนาไปในแนวทางเดียวกันwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4001&filename=aseanknowledge
โดยรวมแล้วกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถจำแนกออกเป็น 3 กลุ่ม วัฒนธรรมหลัก ตามลักษณะที่ตั้ง ซึ่งสะท้อนวิถีชีวิตวัฒนธรรมที่สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม ดังนี้
กลุ่มวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง ประกอบด้วย ไทย ลาว เขมร พม่า เวียดนาม ซึ่งกลุ่มประเทศเหล่านี้พุดภาษาในตระกูล ไท-กะได ได้แก่ ประเทศ ไทย ลาว ตระกูลภาษามอญ-เขมร ได้แก่ ประเทศ เขมร และ เวียดนาม และ จีน-ทิเบต สาขาย่อยทิเบต-พม่า
กลุ่มวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง มีประเพณีและวัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกัน เช่น ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งเป็นการเฉลิมฉลองการขึ้นปีใหม่ของการเพาะปลูกเป็นต้น การแสดงรามเกียรติ์ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากอินเดีย จากเรื่อง รามยณะ ในกลุ่มวัฒนธรรมนี้ จะได้รับอิทธิพลจากอินเดียทางด้านวัฒนธรรม โดยเฉพาะเขมร ซึ่งแต่ก่อนอาณาจักรขอมโบราณ นับถือศาสนาฮินดู ปกครองด้วยระบอบสมมุติเทพ ก่อนจะมาเสียราชธานีให้กับอโยทยา เวียดนามจะได้รับอิทธิพลจากจีนมากกว่าประเทศอื่น เพราะเคยตกอยู่ภายใต้การปกครองของจีนเป็นเวลานาน ในประเทศอื่นๆ ในกล่มวัฒนธรรมนี้ อิทธิพลของวัฒนธรรมจีนจะเข้ามากับชนกลุ่มน้อย หรือผุ้ที่อพยพลงมาจากจีนและนำวัฒนธรรมประเพณีเข้ามาด้วย
ทางด้านภาษา ภาษามอญเป็นภาษาที่เก่าแก่ในภูมิภาคนี้ หลักแหล่งเดิมของชาวมอญอยุ่ในประเทศพม่าปัจจุบัน เนื่องจากแพ้สงครามต่ออาณาจักรพุกาม และเรื่อยมา กระทั่งถูกพม่ากลืนชาติ ชาวมอญจึงอพยพมายังประเทศไทยในปัจจุบัน แต่ในทางกลับกัน ประเพณีวัฒนธรรมต่างๆ ได้แทรกซึมเข้าสู่พม่า กระทั่งพม่าต้องยอมรับประเพณีนั้นเป็นของตน เช่น ประเพณีสงกรานต์เป็นต้น
ส่วนภาษาพม่านั้นจัดอยู่ในกลุ่มภาษาจีน-ทิเบต สาขาย่อย ทิเบต-พม่า ภาษาถิ่นและสำเนียง ภาษาพม่ามาตรฐานคือสำเนียงย่างกุ้ง ภาษาถิ่นในพม่าภาคเหนือและภาคใต้จะต่างจากภาษากลาง ภาษาถิ่นในเขตยะไข่หรือารกั ยังมีเสียง/ร/ แต่สำเนียงย่างกุ้งออกเสียงเป็น /ย/ ภาษาพม่าแบ่งอย่างกว้างๆ ได้ 2 ระดับ คือระดับทางการใช้งานวรรณคดี งานราชการและวิทยุกระจายเสียงระดับไม่เป็นทางการใช้ภายในครอบครัวและเพื่อ พระภิกษุชาวพม่ามักพุดกันเองด้วยภาษาบาลีซึ่งได้รับอิทธพิบจากพุทธศาสนา
ไทย กับลาวนั้น เป็นสองประเทศที่ใช้ภาษาในกลุ่มไท-กะไดเป็นภาษาราชการ กลุ่มภาษาไท-กะไดนั้น มีแหล่งกำเนิดจากตอนใต้ของจีนและเรื่อยลงมาถึงภาคกลางของไทยในปัจจุบัน
ความหลากหลายของตระกูลภาษาไท-กะไดในทางตอนใต้ของประเทศจีนบ่งบอกถึงมีความสัมพันธ์กับถิ่นกำเนิดของภาษา ผู้พูดภาษาสาขาไทอพยพจากตอนใต้ของจีนลงทางใต้เข้าสู่เอเซียตะวันออกเฉียงใต้แต่คร้ังโบราณ เข้าสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยและลาวบริเวณนี้เป็นบริเวณที่พบผุ้พูดภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียติก
ชื่อ "ไท-กะได" มาจากการจัดแบ่งตระกูลภาษาออกเป็นสองสาขาคือ "ไท" และ "กะได" ซึ่งเลิกใช้แล้วเนื่องจากกะไดจะเป็นกลุ่มภาษาที่เป็นไปได้ก็ต่อเมื่อมีกลุ่มภาษาไทรวมอยุ่ด้วย ในบางบริบทคำว่ากะไดจึงใช้เีรียกตระกูลภาษาไท-กะไดทั้งตระกูล แต่บางบริบทก็จำกัดการใช้คำนี้ให้แคบลง โดยหมายถึงกลุ่มภาษาขร้าที่เป็นส่วนหนึงของตระกุลภาษานี้
กลุ่มภาษามอญ-เขมร เป็นกลุ่มของภาษาพื้นเมืองในแถบอินโดจีน อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกเช่นเดียวกับ กลุ่มภาษามุนดาในอินเดีย การแบ่งกลุ่มย่อยของภาษาในกลุ่มนี้ เมื่อ พ.ศ. 2517 มีดังนี้
- กลุ่มตะวันออกได้แก่ ภาษาเขมรที่ใช้พูดในกัมพุชา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย และภาคใต้ของเวียดนาม ราว 15-22 ล้านคน กลุ่มภาษาเบียริก ในภาคใต้ของกัมพุชา กลุ่มภาษาบะห์นาริก ในเวียดนาม กัมพุชาและลาว กลุ่มภาษากะตู ในลาวภาคกลางกลุ่มภาษาเวียดติกในเวียดนาม
- กลุ่มเหนือ ได้แก่ภาษากาสีในรัฐเมฆาลัย อินเดีย กลุ่มภาษาปะหล่อง ในชายแดนจีน-พม่า และภาคเหนือของไทย กลุ่มภาษาขมุในลาวภาคเหนือ กลุ่มภาษาม้งในเวียดนามและจีน กลุ่มภาษาปยูในจีน
- กลุ่มใต้ ได้แก่ กลุ่มภาษามอญในพม่าและไทย กลุ่มภาษาอัสเลียนในภาคใต้ของไทยและมาเลเซีย กลุ่มภาษานิโคบาร์ในหมุ่เกาะนิโคบาร์
- กลุ่มที่จำแนกไม่ได้ ได้แก่ภาษาบูกัน บูซินชัว เกเมียฮัวและกวนฮัวในจีน
เวียดนามใช้ตระกูล กลุ่มภาษาเวียตติก หรือ กลุ่มภาษาเวียต-เหมื่อง เป็นสาขาของตระกูลออกโตรเอเชียติกซึ่งรวมภาษาเวียดนามและภาษาเหมือง ไว้ในกลุ่มนี้ ภาษาเวียดนามจัดอยุ่ในตระกูลออสโตรเอเชียติกซึ่งรวมภาาาเวียดนาม และภาษาเหมื่อง ไว้ในกลุ่มนี้ ภาษาเวียดนามจัดเขาอยุ่ในตระกูลออสโตรเอเชียติกเมื่อ พ.ศ. 2493 มีคำยืมจากภาษาจีนและกลุ่มภาษาไทมากจนปัจจุบันกลายเป็นภาษาคำโดดที่มีวรรณยุกต์คล้ายกับภาษาไทยหรือภาษาจีนสำเนียงทางใต้มากกว่าภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกอื่นpi-nu.blogspot.com
วันอาทิตย์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2560
Group Cultural (ASEAN)
ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของอาเซียน
ในทางประวัติศาสตร์ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจาอินเดียและจีน ซึ่งแต่ละประเทศต่างก็รับเอาวัฒนธรรมจากทั้งสองชาตินี้เข้ามาในระดับที่แตกต่างกัน เช่น ไทยและลาวได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียเป็นส่วนใหญ่ ส่วนเวียดนามได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมมาจากจีนเป็นส่วนใหญ่ โดยรวมกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถจำแนกออกเป็ส 3 กลุ่มวัฒนธรรมหลัก ตามลักษณะที่ตั้ง ซึ่งสะท้อนวิถีชีวิตวัฒนธรรมที่สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม ด้งนี้
- กลุ่มวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง ไทย-ลาว-เขม-พม่า-เวียดนาม
ลุ่มน้ำโขงเป็นที่อยุ่อาศัยของหลายชุมชนที่มีอาณาเขตติดต่อกันหลายประเทศนับเป็นแปล่งอารยธรรมที่สำคัญซึ่งมีประเพณี ดนตรี วัฒนธรรม ความเชื่อ ค่านิยม ทั้งที่มีความคล้ายคลึงและแตกต่าง ด้วยลักษณะทางภูมิาสตร์ที่ใกล้เคยงกัน รวมทั้งมีการไปหาสู่ มีการต้าขาย และกิจกรรมอื่นๆ ร่วมกันอย่างสมำเสมอและต่อเนื่อง ส่งผลให้วัฒนธรรมของแต่ละประเทศ มีทั้งที่แสดงออกถึงลักษระเฉพาะของตนเอง ขณะที่มีความคล้ายคลึงในบางส่วนของการดำเนินวิุถีชีิวิต กล่าวได้ว่าไทย ลาว กัมพูชามีรากวัฒนธรรมเดียวกัน จึงมีความพ้องของวัฒนธรรมมากว่า พม่าและเวียดนามซึ่งได้รับอิทธิพลจากจีน ในที่นี้ ขอหยิบยกตัวอย่างมรดกร่วมทางวัฒนธรรม อาทิ
การแสดงรามเกียรติ์ เป็นมรดกร่วมทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นของอาเซยน ต้นเค้าของเรื่องรามเกี่ยติ์น่าจะมาจากเรื่อง รามายณะของอินเดีย ซึ่งเป็นนิทานที่แพร่หลายอยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียใต้ ต่อมาอารยธรรมอินเดียได้แพร่หลายเข้ามาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้เรื่องรามายณะแพร่หลายไปทั่วภูมิภาค ได้ปรับเปลี่ยนเนื้อหาให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมของประเทศนั้นจนกล่ายเป็นวรรณคดีประจำชาติไป ดังปรากฎในหลายๆ ชาติ เช่น ลาว พม่า กัมพูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย ล้วนมีวรรณคดีเรื่องรามเกี่ยติ์เป็นวรรณคดีประจำชาติทั้งสิ้น
นาฎศิลป์และดนตรี การแสดงรำของ ไทย ลาว เขมรมีความคล้ายคลึงกัน รวมทั้ง เคืรองดนตรีที่ได้รับอิทธิพลซึ่งกันและกัน แต่มีการปรับเปลี่ยนให้เข้ากับวัฒนธรรมประเพณีของประเทศนั้นๆ ทั้งนี้ ด้วยสภาพภูมิศาสตร์ และลักษระการประกอบอาชีพที่เป็นเกษตรกรรม ส่งผลต่อวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของประชาชนที่อาศัยอยู่ในแถบใกล้เคียงกัน
ประเพณีสงกรานต์ เป็นประเพณีปีใหม่ของประเทศไทย ลาว กัมพูชา พม่า ชนกลุ่มน้อยชาวไตแถบเวียดนามและมณฑลยูนนานของจีน ศรีลังกาและทางตะวันออกของประเทศอินเดีย และเป็นประเพณีเก่าแก่ซึ่งสืงทอดมาแต่โบราณคู่มากับประเพณีตรุษ จึงมีการเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษสงกรานต์ หมายถึงประเพณีส่งท้ายปีเก่า และต้อนรับปีใหม่ คำว่า "ตรุษ" เป็นภาษาทมิฬ แปลว่า "การสิ้นปี"
พิธีสงกรานต์ เป็นพิธีกรรมที่เกิดขึ้นในสมาชิกในครอบครัว หรือชุมชนบ้านใกล้เรือนเคียง แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนไปสู่สังคมในวงกว้าง และมีแนวโน้มที่จเปลี่ยนทัศนคติ และความเชือไป ในความเชื่อดั้งเดิมใช้สัญลักษณ์เป็นองค์ประกอบหลักในพิธี ได้แก่ การใช้น้ำเย็น ใช้น้ำรดให้แก่กันเพื่อความชุ่มชื่น มีกาขอพรจากผุ้ใหญ่ การำลคกและกตัญญุต่อบรรพบุรุษที่ล่งลับ ในชีวิตสมัยใหม่ของสังคมไทยเกิดประเพรีกลับบ้านในเทศกาลสงกรานต์ นับวันสงกรานต์เป็นวันครอบครัว ในพิธีเดิมมีการสรงน้ำพระที่นำสิริมงคล เพื่อให้เป็นการเริ่มต้นปีใหม่ที่มีความสุข
กลุ่มวัฒนธรรม มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน ดารุสซาลาม สิงคโปร์
เป็นกลุ่มประเทศที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม แต่ก็มีประชาชส่วนหนึ่งนับถือศาสนาพุทธ คริสต์ และฮินดุด้วยสัดส่นที่แตกต่างกันไป ตังนั้น วัฒนธรรมประเพณี ศิลปะ การแสดง จะมีความคล้ายคลึงกัน ในขณะที่สิงคโปร์เป็นสังคมผสมผสานระหว่างจีน มาเลย์ อินเดีย ดังน้้น จึงมีความหลากหลายของวัฒนธรรม ตัวอย่างของมรดกวัฒนธรรมร่วมในกลุ่มนี้ ได้แก่
การใช้ภาษา การแต่งกาย ชุมชนที่นับถือศาสนาอิสลามจะแต่งกายคล้ายคลึงกัน เช่น กลุ่มคนภาคใต้ล่าง ประชาชนชาวมาเลเซีย อินโดนีเซีย
การแสดงหนังตะลุง หรือ แวแยง ซึ่งหมายถึง ศิลปะการเชิดหนังหรือหุ่นเป็นสิ่งที่สแดงถึงวัฒนธรรมร่วมของประเทศในภูมิภาคอาเซียน เช่น ไทย อินโดนีเซีย หนังตะลุงมีต้นกำเนิดมาจากเกาะทั่วไป หนังตะลุงจากทุกที่จะต่างกันอ้วยขนาดรูปร่างและรูปแบบ แต่จะมีความเหมือนกันคือจะทำจากหนังวัวและมีคันชัก และเล่นประกอบดนตรีเคืรองทองเหลืองเช่น ฆ้อง
ขณะที่สิงคโปร์มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ อีกทั้งสวนใหญ่ยังยึดถือธรรมเนียมปฏิบัติดั้งเดิม ทำให้สิงคโปร์มีวัฒนธรรมหลากหลาย ทั้งทางด้านอาหาร การแต่งกาย ตลอดจนการเซ่นไหว้วิญญาณบรรพบุรุษ และความเชื่อในเรื่องเทพเจ้าที่แตกต่างกันไ ปชาวจีนส่วนมากบูชาเจ้าแม่กวนอิม กวนอูเทพเจ้าแห่งความยุติธรรม รวมถึงเทพเจ้าจีนองค์อื่นๆ ขณะที่ชาวฮินดูบูชาเทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์ เป็นต้น
กลุ่มวัฒนธรรม ฟิลิปปินส์
ถึงแม้ว่า ภูมิประเทศของอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ จะมีความคล้ายคลึงกัแต่วัฒนธรรมของฟิลปปินส์เป็นการผสมผสานกันระหว่างตะวันตกและตะวันออก ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะวัฒนธรรมฟิลิปปินส์ที่ได้รับอิทธิพลจากสเปน ซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคมมาเป็นะยะเวลานาน ในขณะเดียวกันก็ได้ปสานวัฒนธรรมพื้นเมือง ตัวอย่างของมรดกวัฒนธรรมกลุ่มนั้
มีการใช้ภาษามากว่า 170 ภาษา นาฎศิลป์ดนตรี สเปนเป็นชาติตะวันชาติหนึ่งที่มายึดครองอินแดนในเอเชียเป็นระยะเวลายาวนาน ดดยเฉพาะประเทศฟิลิปปินส์ และสเปนพยายามสร้างฟิลิปปินส์ ซึ่งมีชาวพื้นเมืองเดิมเป็นชาวเกาะที่นับถือศาสนาอิสลามให้เป็นตัวแทนของสเปนในภูมิภาคตะวันออก ด้วยเหตุนี้สเปนจึงนำเาอประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจนศาสนาเข้ามาครอบคลุมชาวพ้นเมือง ศิลปะการแสดงตามแบบฉบับของสเปนจึงปรากฎขึ้นในดินแดนของประเทศฟิลิปปินส์และเมื่อชาวพื้นเมืองฟิลิปปินส์ได้มีการติดต่อกับชาวพื้นเมืองมลายูซึ่งนับถือศาสนาอิสลามด้วยกัน จึงทำให้นาฎศิลป์ได้แพร่ขยายเข้ามาในดินแดนมลายูด้วย การแต่งกาย ชุดแต่งกายประจำชาติของฟิลิปปินส์ ชายสวมเสื้อที่เรียกว่า บารอง หญิงแต่งชุดกระโปรงยาว สวมเสื้อแขนสั้นจับจีบ แล้วยกตั้งขึ้นเหนือไหล่ คล้ายปีกผีเสื้อ เรียกว่าชุด ลาลินตาวัก ซึ่งได้รับอิทธิพลจากตะวันตก
ประเพณี ฟิลิปปินส์ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมจากสเปนและเม็กซิโก จะเห็นได้จากความเชื่อในศาสนาคาธอลิกงานประเพณีทางศาสนาในทุกปี ฟิลิปปินส์จะมีงานรื่นเริง เรียกว่า บาร์ริโอ เฟียสตาร์ เป็นการฉลองนักบุญของเมือง หมู่บ้านและเขตการปกครองต่างๆ มีการประกอบพิธีทางศาสนา การเดินขบวนในเมืองฉลองนักบุญ การจุดพลุไฟ การประกวดความงาม และการเต้นรำ รวมทั้งมีการตีไก่...
- http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4001&filename=aseanknowledge
ในทางประวัติศาสตร์ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจาอินเดียและจีน ซึ่งแต่ละประเทศต่างก็รับเอาวัฒนธรรมจากทั้งสองชาตินี้เข้ามาในระดับที่แตกต่างกัน เช่น ไทยและลาวได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียเป็นส่วนใหญ่ ส่วนเวียดนามได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมมาจากจีนเป็นส่วนใหญ่ โดยรวมกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถจำแนกออกเป็ส 3 กลุ่มวัฒนธรรมหลัก ตามลักษณะที่ตั้ง ซึ่งสะท้อนวิถีชีวิตวัฒนธรรมที่สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม ด้งนี้
- กลุ่มวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง ไทย-ลาว-เขม-พม่า-เวียดนาม
ลุ่มน้ำโขงเป็นที่อยุ่อาศัยของหลายชุมชนที่มีอาณาเขตติดต่อกันหลายประเทศนับเป็นแปล่งอารยธรรมที่สำคัญซึ่งมีประเพณี ดนตรี วัฒนธรรม ความเชื่อ ค่านิยม ทั้งที่มีความคล้ายคลึงและแตกต่าง ด้วยลักษณะทางภูมิาสตร์ที่ใกล้เคยงกัน รวมทั้งมีการไปหาสู่ มีการต้าขาย และกิจกรรมอื่นๆ ร่วมกันอย่างสมำเสมอและต่อเนื่อง ส่งผลให้วัฒนธรรมของแต่ละประเทศ มีทั้งที่แสดงออกถึงลักษระเฉพาะของตนเอง ขณะที่มีความคล้ายคลึงในบางส่วนของการดำเนินวิุถีชีิวิต กล่าวได้ว่าไทย ลาว กัมพูชามีรากวัฒนธรรมเดียวกัน จึงมีความพ้องของวัฒนธรรมมากว่า พม่าและเวียดนามซึ่งได้รับอิทธิพลจากจีน ในที่นี้ ขอหยิบยกตัวอย่างมรดกร่วมทางวัฒนธรรม อาทิ
การแสดงรามเกียรติ์ เป็นมรดกร่วมทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นของอาเซยน ต้นเค้าของเรื่องรามเกี่ยติ์น่าจะมาจากเรื่อง รามายณะของอินเดีย ซึ่งเป็นนิทานที่แพร่หลายอยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียใต้ ต่อมาอารยธรรมอินเดียได้แพร่หลายเข้ามาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้เรื่องรามายณะแพร่หลายไปทั่วภูมิภาค ได้ปรับเปลี่ยนเนื้อหาให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมของประเทศนั้นจนกล่ายเป็นวรรณคดีประจำชาติไป ดังปรากฎในหลายๆ ชาติ เช่น ลาว พม่า กัมพูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย ล้วนมีวรรณคดีเรื่องรามเกี่ยติ์เป็นวรรณคดีประจำชาติทั้งสิ้น
นาฎศิลป์และดนตรี การแสดงรำของ ไทย ลาว เขมรมีความคล้ายคลึงกัน รวมทั้ง เคืรองดนตรีที่ได้รับอิทธิพลซึ่งกันและกัน แต่มีการปรับเปลี่ยนให้เข้ากับวัฒนธรรมประเพณีของประเทศนั้นๆ ทั้งนี้ ด้วยสภาพภูมิศาสตร์ และลักษระการประกอบอาชีพที่เป็นเกษตรกรรม ส่งผลต่อวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของประชาชนที่อาศัยอยู่ในแถบใกล้เคียงกัน
ประเพณีสงกรานต์ เป็นประเพณีปีใหม่ของประเทศไทย ลาว กัมพูชา พม่า ชนกลุ่มน้อยชาวไตแถบเวียดนามและมณฑลยูนนานของจีน ศรีลังกาและทางตะวันออกของประเทศอินเดีย และเป็นประเพณีเก่าแก่ซึ่งสืงทอดมาแต่โบราณคู่มากับประเพณีตรุษ จึงมีการเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษสงกรานต์ หมายถึงประเพณีส่งท้ายปีเก่า และต้อนรับปีใหม่ คำว่า "ตรุษ" เป็นภาษาทมิฬ แปลว่า "การสิ้นปี"
พิธีสงกรานต์ เป็นพิธีกรรมที่เกิดขึ้นในสมาชิกในครอบครัว หรือชุมชนบ้านใกล้เรือนเคียง แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนไปสู่สังคมในวงกว้าง และมีแนวโน้มที่จเปลี่ยนทัศนคติ และความเชือไป ในความเชื่อดั้งเดิมใช้สัญลักษณ์เป็นองค์ประกอบหลักในพิธี ได้แก่ การใช้น้ำเย็น ใช้น้ำรดให้แก่กันเพื่อความชุ่มชื่น มีกาขอพรจากผุ้ใหญ่ การำลคกและกตัญญุต่อบรรพบุรุษที่ล่งลับ ในชีวิตสมัยใหม่ของสังคมไทยเกิดประเพรีกลับบ้านในเทศกาลสงกรานต์ นับวันสงกรานต์เป็นวันครอบครัว ในพิธีเดิมมีการสรงน้ำพระที่นำสิริมงคล เพื่อให้เป็นการเริ่มต้นปีใหม่ที่มีความสุข
กลุ่มวัฒนธรรม มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน ดารุสซาลาม สิงคโปร์
เป็นกลุ่มประเทศที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม แต่ก็มีประชาชส่วนหนึ่งนับถือศาสนาพุทธ คริสต์ และฮินดุด้วยสัดส่นที่แตกต่างกันไป ตังนั้น วัฒนธรรมประเพณี ศิลปะ การแสดง จะมีความคล้ายคลึงกัน ในขณะที่สิงคโปร์เป็นสังคมผสมผสานระหว่างจีน มาเลย์ อินเดีย ดังน้้น จึงมีความหลากหลายของวัฒนธรรม ตัวอย่างของมรดกวัฒนธรรมร่วมในกลุ่มนี้ ได้แก่
การใช้ภาษา การแต่งกาย ชุมชนที่นับถือศาสนาอิสลามจะแต่งกายคล้ายคลึงกัน เช่น กลุ่มคนภาคใต้ล่าง ประชาชนชาวมาเลเซีย อินโดนีเซีย
การแสดงหนังตะลุง หรือ แวแยง ซึ่งหมายถึง ศิลปะการเชิดหนังหรือหุ่นเป็นสิ่งที่สแดงถึงวัฒนธรรมร่วมของประเทศในภูมิภาคอาเซียน เช่น ไทย อินโดนีเซีย หนังตะลุงมีต้นกำเนิดมาจากเกาะทั่วไป หนังตะลุงจากทุกที่จะต่างกันอ้วยขนาดรูปร่างและรูปแบบ แต่จะมีความเหมือนกันคือจะทำจากหนังวัวและมีคันชัก และเล่นประกอบดนตรีเคืรองทองเหลืองเช่น ฆ้อง
ขณะที่สิงคโปร์มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ อีกทั้งสวนใหญ่ยังยึดถือธรรมเนียมปฏิบัติดั้งเดิม ทำให้สิงคโปร์มีวัฒนธรรมหลากหลาย ทั้งทางด้านอาหาร การแต่งกาย ตลอดจนการเซ่นไหว้วิญญาณบรรพบุรุษ และความเชื่อในเรื่องเทพเจ้าที่แตกต่างกันไ ปชาวจีนส่วนมากบูชาเจ้าแม่กวนอิม กวนอูเทพเจ้าแห่งความยุติธรรม รวมถึงเทพเจ้าจีนองค์อื่นๆ ขณะที่ชาวฮินดูบูชาเทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์ เป็นต้น
กลุ่มวัฒนธรรม ฟิลิปปินส์
ถึงแม้ว่า ภูมิประเทศของอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ จะมีความคล้ายคลึงกัแต่วัฒนธรรมของฟิลปปินส์เป็นการผสมผสานกันระหว่างตะวันตกและตะวันออก ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะวัฒนธรรมฟิลิปปินส์ที่ได้รับอิทธิพลจากสเปน ซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคมมาเป็นะยะเวลานาน ในขณะเดียวกันก็ได้ปสานวัฒนธรรมพื้นเมือง ตัวอย่างของมรดกวัฒนธรรมกลุ่มนั้
มีการใช้ภาษามากว่า 170 ภาษา นาฎศิลป์ดนตรี สเปนเป็นชาติตะวันชาติหนึ่งที่มายึดครองอินแดนในเอเชียเป็นระยะเวลายาวนาน ดดยเฉพาะประเทศฟิลิปปินส์ และสเปนพยายามสร้างฟิลิปปินส์ ซึ่งมีชาวพื้นเมืองเดิมเป็นชาวเกาะที่นับถือศาสนาอิสลามให้เป็นตัวแทนของสเปนในภูมิภาคตะวันออก ด้วยเหตุนี้สเปนจึงนำเาอประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจนศาสนาเข้ามาครอบคลุมชาวพ้นเมือง ศิลปะการแสดงตามแบบฉบับของสเปนจึงปรากฎขึ้นในดินแดนของประเทศฟิลิปปินส์และเมื่อชาวพื้นเมืองฟิลิปปินส์ได้มีการติดต่อกับชาวพื้นเมืองมลายูซึ่งนับถือศาสนาอิสลามด้วยกัน จึงทำให้นาฎศิลป์ได้แพร่ขยายเข้ามาในดินแดนมลายูด้วย การแต่งกาย ชุดแต่งกายประจำชาติของฟิลิปปินส์ ชายสวมเสื้อที่เรียกว่า บารอง หญิงแต่งชุดกระโปรงยาว สวมเสื้อแขนสั้นจับจีบ แล้วยกตั้งขึ้นเหนือไหล่ คล้ายปีกผีเสื้อ เรียกว่าชุด ลาลินตาวัก ซึ่งได้รับอิทธิพลจากตะวันตก
ประเพณี ฟิลิปปินส์ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมจากสเปนและเม็กซิโก จะเห็นได้จากความเชื่อในศาสนาคาธอลิกงานประเพณีทางศาสนาในทุกปี ฟิลิปปินส์จะมีงานรื่นเริง เรียกว่า บาร์ริโอ เฟียสตาร์ เป็นการฉลองนักบุญของเมือง หมู่บ้านและเขตการปกครองต่างๆ มีการประกอบพิธีทางศาสนา การเดินขบวนในเมืองฉลองนักบุญ การจุดพลุไฟ การประกวดความงาม และการเต้นรำ รวมทั้งมีการตีไก่...
- http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4001&filename=aseanknowledge
วันเสาร์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2560
Hmong- Mien
ปฏิทิน ม้ง |
ม้ง หมายถึง อิสระชน เดิมอาศัยอยุ่ในประเทศจีน ต่อมาชาวจีนเข้ามาปราบปราม เป็นเหตุให้อพยพลงมาถึงตอนใต้ของจีน และเขตอินโดจีน ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 และตอนเหนือของประเทศไทย ประมาณ พงศ. 2400 โดยมีสองกลุ่มได้แก่ ม้งน้ำเงินและม้งขาว ไม่ชอบให้เรีกว่าแม้ว โดยถือว่าเป็นการดุถูกเหยียดหยาม ประชากรของม้งในประเทศไทย มีมากเป็นอันดับ 2 รองจากกะเหรี่ยง ตั้งถิ่นฐานอยุ่ตามภูเขาสูง หรือที่ราบเชิงเขาในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงราย พะเยา น่าน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน แพร่ ลำปาง กำแพงเพชร เลย พิษณุโลก เพชรบูรณื สุโขทัย และตาก
ในอดีม้งอาศัอยอยู่ตามภูเขาอยุ่ตามธรรมชาติ ม้งต้องตรากตรำทำงานหนักอยู่แต่ในไร่เท่านั้น ทำให้ม้งไม่มีเวลาที่จะดุแลตัวเองและครอบครัว ดังนั้นชีวิตความเป้ฯอยู่ของม้งจึงเป้นแบบเรียบง่าย เพราะคลุกคลีกับธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่เท่านั้น ชีวิตประจำวันของม้งคือ จะทำไร่ ทำสวน และหารายได้เล็กน้อยเพื่อจุนเจือครอบครัว ส่วนเรื่องอาหารก็จะเป็นเรื่องเรียบง่าย
ในการกินอาหาร ม้งนิยมใช้ตะเกียบซึ่งรับมาจากธรรมเนียมจีน ส่วนเหล้าจะนิยมดื่มกันในงานเลื้องต่างๆ เช่น งานแต่างงาน งานเลี้ยงญาติ อาจเป็นญาติของภรรยาที่มาเยี่ยม ฝ่ายฐาติทางสามีจะต้องรินแก้วเหล้าแจก ครั้งละ 2 แก้ว โดยเชื่อกันว่าจะทำให้คู่สามีภรรยาอยุ่ด้วยกันตลอดไป ก่อนจะดือมเหล้าแต่ละคนจะพูดว่า "ผมจะดื่มเพื่อทุกคน" และจะต้องคว่ำจอก หรือคว่ำแก้วเมื่อหมดแล้ว ม้งจะนิยมดื่มเหล้าครั้งเดียวหมดแก้ว มีการดื่มซ้ำวนเวียนหลายคร้ง ผุ้ที่มิใช้นักอื่มย่อมจะทนไม่ได้อาจของใหบุคคลอื่นช่วยดื่มแทนก็ได้ เหล้าจะทำกันเองในปมู่บ้าน ซึ่งทำจากข้าวโพด ข้าว หรือข้าวสาลี ม้งให้เกียรติแก่ผุ้ชาย เพราะฉะนั้นผุ้หญิงจึงรับประทานอาหาร หลังผุ้ชายเสมอ การประกอบอาหารของม้งสวนใหญ่จะเป้ฯในลัการะการต้ม ทอด และ ม้งยังมีความสามารถในการถนอมอาหาร ึ่งในการถนอมอาหารสามารถถนอมได้หลายแบบ เช่น การหมัก การดอง...
ภาษาม้ง อยุ่ในตระกูลม้ง-เมี่ยน หรือ แม้ว-เย้า ใช้กันในชาวม้งในเอ่เซียตะวันออกเแียงใต้ และบางส่วนของจีนจัดเป็นภาษาคำโดด โดยหนึงคำมีเสียงพยั๙ญชนะต้น สระ และวรรณยุกต์ ไม่มีเสียงตัวสะกด มีวรรณยุกต์สนธิหรือการผสมกันของเสียงวรรณยุกต์เมื่อนำคำมาเรียงต่อกันเป็น ประโยค ในประเทศไทยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม
ภาษาม้งเขียว หรือ มั้งจั้ว ภาษาม้งเขียว หรือ ภาษาม้งจั็ว ภาษาม้งตะวันตก มีผุ้พูดกว่าหนึ่งล้านสองแสนคน พบในจีน หนึ่งล้านคน ซึ่งรวมชาวบูนูที่เป็นชนกลุ่มเย้าแต่พูดภาษานี้เป็นภาษาแม่ 29,000 คนเข้าไปด้วย ในบริเวณกุ้ยโตจว เสฉวน และยูนนาน พบในลาว 145,000 คน (พ.ศ. 2538) ทางภาคเหนือ พบในพม่า 10,000 คน พบในไทย 33,000 คน ในจัวหวัดตาก น่าน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เพชรบูรณ์ เชียงราย พะเยา เลย สุโขทัย แพร่ กำแพลเพชร อุทัยธานี พบในเวียดนาม ทางภาคเหนือ พบได้บ้างในจังหวัดทางภาคใต้เช่น จังหวัดดักสัก มีผุ้พูดภาษานี้ในฝรั่งเศสและสหรัฐอ้วย
ภาษาม้งขาว หรือ ม้งเต๊อว ภาษาม้งขาว หรือ ภาษาม้งเด็อว มีผุ้พูดทั้งหมด 514,895 คน พบในจี สองแสนสามหมื่นคน ทางตะวันตกของกุ้งโจว ทางต้ของเสฉวน และยูนนาน พบในลาว หนึ่งแสนหกพันคน ทางภาคเหนือ พบในไทย สามหมื่นสองพันคน ในจังหวัดเพชรบูรณ์ ตาก แม่ฮ่องสอน เชียงราย น่าน พิษณุโลก เลย สุโขทัย กำแพงเพชร แพร่ พระเยา อุตรดิตุถ์ ลำปาง ในเวียดนามพบทางภาคเหนือพบได้บ้างในจังหวัดทางภาคใต้เช่น จังหวัดดักลัก มีผุ้พุดภาษานี้ในฝรั้งเศส และสหรัฐอเมริกาด้วย..
เมี่ยน (เย้า ) ปรากฎครั้งแรกในเอกสารบันทักของจีน สมัยราชวงศืถัง โดยปรากฎในชื่อ ม่อ เย้า มีความหมายว่าไม่อยู่ใต้อำนาจของผุ้ใด เล่ากันว่า เมื่อประมาณ 2000 กว่าปีมาแล้วบรรพชน ได้ตั้งถิ่นฐานอยุ่ในที่ราบรอบทะเลสาปตงถิง แถบแม่น้ำแยงซี ยอมอ่อนน้อมให้ชนชาติผุ้ปกครองรัฐ และไม่ยินยอมอยุ่ภายใต้การบังคับกดขี่ของรัฐ จึงได้ทำการอพยพเข้าไปใในป่าลึกบนภูเขาสูง ได้ตั้งถิ่นฐานสร้างบ้านด้วยมือของเขาเอง เพื่อปกป้องเสรีภาพจึงถูกขนานนามว่า ม่อ เย้า ซึ่ง เหยา ซี เหลียน ได้พันทึกไว้ในเหลียงซูต่อมาในสมัยราชวงศ์ซ่งคำเรียกนี้ถูกยกเลิกไปเหลือแต่คำว่า "เย้า" เท่านั้น..
ชาวเมี่ยนมีอิสระเสรีในการเลือกคู่ครอง โดยไม่มีการบังคับกัน เมี่ยนมีประเพณีเที่ยวาว ซึ่งได้ยึดถอืปฏิบัติมาจนทุกวนนี การเที่ยว สาวนั้นไม่ได้มีเพียงการพูดจาเกี่้ยวพาราสีเท่านั้น แต่เมื่อหญิงสาวชาวเมี่ยนพอใจหนุ่มใดเป็นพิเศษ ก็อาจจะร่วมหลับนอนกับชายคนนั้นได้ภายในห้องนอนของตนเอง
ครอบครัวเมี่ยน มักไม่ค่อยมีการหย่าร้อง (การมีชู้เป็นเรื่องน่าอับอายสำหรับเมี่ยน) ผุ้ชายชาวเมี่ยนมีศักดิ์เหนือกว่าสตรีและเด็กในครอบครัว เวลากินอาหาร จะจัดให้ผุ้ชายก่อน สตรีและเด็กจะมากินที่หลัง ภรรยาต้องเคารพสามี ตื่นก่อนนอนที่หลัง
ลักษณะบ้านเรือน นิยมตั้งหมุ่บ้านบนไหล่เขา บริเวณต้นน้ำลำธารสุงประมาณ สามถึงสามพันห้าร้อยฟุต ซึ่งอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าหมุ้บ้านม้งและลีซอ หมุ่บ้านเมี่ยนมีขนาดเล็กประมาณ 15 หลังคาเรือน มีการโยกย้ายหมู่บ้านบ่อยๆ ในช่วงเวลา 10-15 ปี แต่บางแห่งตั้งอยู่อย่างถาวร..
ภาษาเมี่ยน มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาม้งมากว่าภาษาชาวเขาอื่นๆ ภาษาเขียน เมี่ยนได้รับอิทธิพบจากจีน เป็นคำเดียวโดด ๆ ไม่มีภาาาเขียนเป็ฯของตนเองเมี่ยนที่อยุ่ในเมืองไทยส่วนใหญพุดภาษาไทยเหนือหรือคำเมืองพอรู้เรื่องบางคนพุดภาษาไทยกลาางได้ ใช้ภาษาฮั่นเป็นตัวอักษรในภาษาเขียน แต่รูปแบบต่างจากภาษาฮั่นมาตรฐาน คนที่มีอายุพูดภาษาจีนกลางและจีนฮ่อได้ ผุ้ชายชาวเมี่ยนมีคำนำหน้าว่า "เลา" ส่วนผุ้หญิงมีคำนำหน้าว่า "อ่ำ" บุตรชายคนแรกเรียก ต่อนโห หรือ ต่อนเก๊า ลูกสาวคนแรกเรียก อ่ำม๋วย ...
- www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/hmong.html
- hmong21.net/hmong&moob/hm0010.php#.WYW-TITyjIW
- th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน
- www.openbase.in.th/node/1012
- prezi.com/wgesocpzwbg-/presentation/
วันศุกร์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2560
Tagish Language (Tagalong + English)
มีการใช้ภาษามากกว่า 170 ภาษา โดยส่วนมากหรือเกือบทั้งหมดนั้นเป็นตระกูลภาษาย่อยมาลาโบ-โปลินีเซียนตะวันตก แต่ในปี พ.ศ. 2530 รัฐธรรมนูญได้ระบุให้ภาษาฟิลิปปิโน และภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ
โดยฟิลิปปินส์นั้น มีภาษาประจำชาติ คือ ภาษาตากาล็อก (จกาการพุดคุญกับชาวฟิลิปปินส์ รวมถึงนั่งดุรายการทีวีและฟังจากสถานีวิทยุ ทราบได้ว่า ชาวฟิลิปปินส์ มีการใช้ภาษาที่เรียกว่า ทากรีส(Tagalog + English) คือพูดตากาล็อกคำอังกฤษคำ ผสมกันไปในประโยคสนทนา แต่เป็นที่เข้าใจกันในหมู่ของประชาชน แม้แต่ในรายการทีวีและรายการวิทยุ
ภาษาฟิลิปปินส์ หรือ ภาษาฟิลิปิโน เป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการภาษาหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์คู่กับภาษาอังกฤษกำหนดเมื่อ พ.ศ. 2530 ภาษานี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาตากาล็อก เมื่อ พฤศจิการยน พ.ศ. 2480 สถบันภาษาแห่งชาติเลือกภาษาตาการล็อกซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นที่มีการใช้เป็นภาษาเขียนมากที่สุดมาเป็นพื้นฐานของภาษาประจำชาติภาษาใหม่ใน พงศ. 2504 ภาษานี้เป็ฯที่รู้จักในชื่อ ปิลิปิโน และเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาฟิลิปปินส์เมื่อ พ.ศ. 2515
ภาษาตากาล็อกเป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสดตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับ ภาษาอินดดนีเซเีย ภาษามาเลย์ ภาษาฟิจิ ภาาาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮิติ ภาษาซามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาษากลางภายในประทเศ มีผุ้พุดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากกว่า
ε และ o นอกจากนั้นมีสระประสมเพ่ิมอีก 4 สียง คือ aI, oI, aU,iU พยัญชนะในภาษาตากาล็อกไม่มีเสียงลมแทรก มีการเน้นเสียงหนักภายในคำที่ทำให้เสียงสระยาวขึ้นด้วย
โฮเซ่ รีซัล วีรบุรุษของชาวฟิลิปปินส์ ผู้ต่อสู้กับเจ้าอาณานิคม ผ่านทางงานเขียนและเป็นผุ้จุดประกายการต่อสู้เพื่อเอกราชของฟิลิปปินส์ นักปฏิวัติ ติดต่อรีซัลให้เข้าร่วมปฏิวัติด้วยความรุนแรงแต่เขาปฏิเสธ เขาถูกสเปนตัดสินประหารชีวิต เมื่อ 26 ธันวาคม การประหารชีวิตมีขึ้นในตอนเช้าวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2439 ทำให้รีซัลกลายเป็นวรีบุรุษของฟิลิปปินส์ไปในที่สุด
ภาษาตากาล็อกมีหน่วยเสียง 21 เสียง เป็นเสียงพยัญชนะ 16 เสียง เสียงสระ 5 เสียง ก่อนการเข้ามาของชาวสเปน ภาษาตากาล็อกมีเสียงสระเพียง 3 เสียง คือ a, i, u เอมีคำยืมจากภาษาสเปนจึงเพ่ิมสระอีก 2 เสียง คือ
บทกวีลาตาย
ก่อนถูกประหารชีวิต เขาเขียนบทกวีลาตายไว้ ขนาดยาว 14 บาท เป็นภาษาสเปนชื่อ mi último adiós บทกวีนี้ได้รับการส่งเสริมให้เเแปลเป็นภาษาต่างๆ ทั่วโล รวมทั้งภาษาท้องถิ่นของฟิลิปปินส์โดยสถาบันประวัติศาสตร์แห่งชาติฟิลิปปินส์ ปัจจุบันแปลเป็นภาษาต่างๆ มากว่า 100 ภาษารวมทั้งภาษาไทย..
... โฮเซ่ ริซัล
- th.wikipedia.org/wiki/ภาษาฟิลิปีโน
- http://fldeptsa.blogspot.com/2012/07/tagalog.html
- /th.wikipedia.org/wiki/ประเทศฟิลิปปินส์#.E0.B8.A0.E0.B8.B2.E0.B8.A9.E0.B8.B2
- th.wikipedia.org/wiki/โฮเซ_รีซัล
โดยฟิลิปปินส์นั้น มีภาษาประจำชาติ คือ ภาษาตากาล็อก (จกาการพุดคุญกับชาวฟิลิปปินส์ รวมถึงนั่งดุรายการทีวีและฟังจากสถานีวิทยุ ทราบได้ว่า ชาวฟิลิปปินส์ มีการใช้ภาษาที่เรียกว่า ทากรีส(Tagalog + English) คือพูดตากาล็อกคำอังกฤษคำ ผสมกันไปในประโยคสนทนา แต่เป็นที่เข้าใจกันในหมู่ของประชาชน แม้แต่ในรายการทีวีและรายการวิทยุ
ภาษาฟิลิปปินส์ หรือ ภาษาฟิลิปิโน เป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการภาษาหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์คู่กับภาษาอังกฤษกำหนดเมื่อ พ.ศ. 2530 ภาษานี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาตากาล็อก เมื่อ พฤศจิการยน พ.ศ. 2480 สถบันภาษาแห่งชาติเลือกภาษาตาการล็อกซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นที่มีการใช้เป็นภาษาเขียนมากที่สุดมาเป็นพื้นฐานของภาษาประจำชาติภาษาใหม่ใน พงศ. 2504 ภาษานี้เป็ฯที่รู้จักในชื่อ ปิลิปิโน และเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาฟิลิปปินส์เมื่อ พ.ศ. 2515
ภาษาตากาล็อกเป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสดตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับ ภาษาอินดดนีเซเีย ภาษามาเลย์ ภาษาฟิจิ ภาาาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮิติ ภาษาซามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาษากลางภายในประทเศ มีผุ้พุดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากกว่า
ε และ o นอกจากนั้นมีสระประสมเพ่ิมอีก 4 สียง คือ aI, oI, aU,iU พยัญชนะในภาษาตากาล็อกไม่มีเสียงลมแทรก มีการเน้นเสียงหนักภายในคำที่ทำให้เสียงสระยาวขึ้นด้วย
โฮเซ่ รีซัล วีรบุรุษของชาวฟิลิปปินส์ ผู้ต่อสู้กับเจ้าอาณานิคม ผ่านทางงานเขียนและเป็นผุ้จุดประกายการต่อสู้เพื่อเอกราชของฟิลิปปินส์ นักปฏิวัติ ติดต่อรีซัลให้เข้าร่วมปฏิวัติด้วยความรุนแรงแต่เขาปฏิเสธ เขาถูกสเปนตัดสินประหารชีวิต เมื่อ 26 ธันวาคม การประหารชีวิตมีขึ้นในตอนเช้าวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2439 ทำให้รีซัลกลายเป็นวรีบุรุษของฟิลิปปินส์ไปในที่สุด
ภาษาตากาล็อกมีหน่วยเสียง 21 เสียง เป็นเสียงพยัญชนะ 16 เสียง เสียงสระ 5 เสียง ก่อนการเข้ามาของชาวสเปน ภาษาตากาล็อกมีเสียงสระเพียง 3 เสียง คือ a, i, u เอมีคำยืมจากภาษาสเปนจึงเพ่ิมสระอีก 2 เสียง คือ
บทกวีลาตาย
ก่อนถูกประหารชีวิต เขาเขียนบทกวีลาตายไว้ ขนาดยาว 14 บาท เป็นภาษาสเปนชื่อ mi último adiós บทกวีนี้ได้รับการส่งเสริมให้เเแปลเป็นภาษาต่างๆ ทั่วโล รวมทั้งภาษาท้องถิ่นของฟิลิปปินส์โดยสถาบันประวัติศาสตร์แห่งชาติฟิลิปปินส์ ปัจจุบันแปลเป็นภาษาต่างๆ มากว่า 100 ภาษารวมทั้งภาษาไทย..
"Mi Ultimo Adios".. บทอำลาสุดท้าย
ลาก่อน แผ่นดินที่รักยิ่งของแัน ดินแดนแห่งตะวันอันอบอุ่น
ไข่มุกแห่งทะเลบูรพา สวนอีเอนของพวกเรา
ด้วยความปิติ ฉันของมอบชีวิตที่แสนเสร้าและหมองมัวของฉันให้กับเธอ
และขอให้มันเจิดจรัสยิ่งขึ้น มีชีวิตชีวาย่ิงขึ้น มากที่สุดเท่าที่มันจะมีได้
เพื่อที่แันจะมอบมันให้กับเธอ เพื่อเธอจะได้มีความผาสุขชั่วกัปกัลป์
ในสนามรบ ท่ามกลางความรุนแรงของการต่อสู้
ผุ้คนมอบชีวิตให้กับเธอ โดยปราศจากความลังเลและความเจ็บปวด
ณ หนใด ไม่สำคัญ แท่านแห่งเกียรติยศ สถานที่อันศึกดิสิทธิ
แดนประการ ทุ่งร้าง เขตปรกปักษื หรือทัฒฑสถาน
มันไม่มีความแตกต่างกันเลย หากว่าเป็นความต้องการของมาตุภูมิ
ความตายของฉันเปรียบเสมือนแสงแรกแห่งอรุณ
และแสงเรืองรองสุดท้ายของวารวัน ที่ส่องสว่างหลังจากค่ำคืนอันมืดมน
ถ้าเธอต้องการสีเพื่อย้อมอรุณรุ่ง
รินเลือดของฉัน และ้วระบายลงให้ทั่ว
จากนั้นจึงสาดส่องด้วยแสงแรกของแผ่นดิ
ความฝันของฉัน เมื่อแรกเติบใหญ่จากวัยเยาว์
ความฝันของฉันเมืองครั้งวัยแรกรุ่น เต็มเปี่ยมไปด้วยพลังที่จะค้นหา
เพื่อที่จะได้พบกับเธอ อัญมณแห่งทะเลบูรพา
ดวงตาที่ดำขลับ คิ้วที่รับกับหน้าผาก ปราศจากรอยขมวด
ใบหน้าที่เรียบลื่น และผุดผ่องไร้รอยราคี
ชีวิตของฉันเต็มไปด้วยจินตนาการ ความเร่าร้อนของฉัน เปี่ยมไปด้วยแรงปรารถนา
มาเถิด! เสียงร่ำร้องจากวิญญาณของฉันเรียกหาเธอ มันจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของเธอ
มาเถิด! มันช่างแสนหวานที่จะได้เติมเต็มใหนสิ่งทีเธอตอ้งการ
ตายเพ่อกำเนิดชีวิตให้กับเธอ อยู่ใต้ฟ้าของเธอจนลมหายใจสุดท้าย
และอยู่ใต้ผืนดินที่มีมนต์ขลังของเธอ เพื่อหลับไปชั่วนิรันดต์
หากวันใดเธอเห็นสายลมอยุ่เหนือหลุ่มศพของฉัน
สายลอที่ผ่านพัดดอกไม้ที่เอนลู่ ท่ามกลางพงหญ้าที่รกร้าง
ขอเธอนำมันมาเคยงริมฝีปาก และโปรดจุมพิตดวงจิตของฉัน
ใต้หลุมศพที่หนาวเย็น ฉันจะรับรู้ได้ผ่านสายลม
ลมหายใจที่อบอุ่นของเธอ สัมผัสแห่งความรักและอาทร
ขอให้ดวงจันทร์ทอแสงนวลใยโอบไล้ฉัน
ขอให้อรุณฉายทาทาบฮันด้วยแสงทองของวันใหม่
ขอให้สายลมผ่านพัดเสียงครวญคร่ำ
และถ้าจะมีนกมาเกาะที่ไม้กางเขนที่เหนือหลุมศพ
ขอให้มันขับขานบทเพลงแห่งสันติสุขแด่เถ้ากระดูกของฉัน
ขอให้ดวงตะวันแผดเผาไอหมกให้ลอยขึ้นสู่ฟ้า
และด้วยเสียงตระโกนไล่หลังของแัน จะทำให้ท้องฟ้าแจ่มใส
ขอให้เพื่อนหลั่งน้ำตาให้กับเป้าหมายในชีวิตของฉัน
และในตอนบ่ายที่เงียบสงบเมื่อใครสักคนหนึ่งสวดภาวนา
ฉันจะภาวนาไปพร้อมกัน โอ มาตุภูมิของฉันขอให้แันได้พำนักอยู่กับพระผู้เป็นเจ้า
และโปรดภาวนาให้กับผุ้เคราะห์ร้ายที่ได้พรากจากให้กับผุ้ที่ได้รับความทุกข์ยากจากความอยุติธรรม
ให้กับเหล่าแม่ของเราที่ต้องร้องไห้ด้วยความขมขื่น
ให้กับเหล่ากำพร้าและแม่หม้าย ให้กับผุ้ที่ถูกจับไปทัณฑ์ทรมาน
ฉันจะภาวนาพร้อมกับเธอ เพื่อให้เธอได้รับการชำระบาปจากพระองค์
และเมื่อรัตติกาลที่มือมิดปกคลุมไปทั่วสุสาน
และมีเพียงผุ้ที่ตายจาก ทอดร่างอย่างสงบอยู่ ณ ที่แห่งนี้
อย่ารบกวนการพักผ่านของพวกเขา อย่ารบกวนความสงบสุขของพวกเขา
ถ้าเธอได้ยินเสียงดีดสีธเธอร์หรือเสียงพิณดังแว่วมา
นั่นคือฉันเอง แผ่นดินที่รัก ฉันกำลังบรรเลงกล่อมเธอ
และในวันที่หลุ่มศพของแนถูกลืมเลือน
ปราศจากไม้กางเขนหรือป้ายบอกขื่อเป็นที่สังเกตอีกต่อไป
ขอให้มันถูกกวาดถูกขุดรื้อทิ้งไป
และขอให้เถากระพูกของฉันผุพังสูญสลาย
กลายเป็นธุลีกลับคืนสู่ผืนแผ่นดิน
ไม่เป็นไรหรอกถ้าเธอจะลืมเลือนฉันไป
ในอากาศ ในท้องฟ้า ในหุบเขา รอบตัวเธอ ฉันจะข้ามผ่าน
ฉันจะเป็นเสียงพิสุทธิ์สำหรับเธอ
กลิ่นที่หอม แสงสว่าง สีสันอันงดงาม เสียงกระซิบ บทเพลง เสียงกรน
จะคอยย้ำแก่นแท้ของศรัทธาของฉันตลอดไป
มาตุภูมิที่รักยิ่งของฉัน ผุ้ซึ่งเสียใจกับความทุกข์ที่ฉันได้รับ
ฟิลิปปินส์ที่รัก โปรดได้ฟังการอำลาเป็นครั้งสุดท้ายจากฉัน
ฉันต้องจากทุกคนไปแล้ว พ่อ แม่ และเธอ ที่รักของฉัน
ฉันจะไปยังสถานที่ ที่ซึ่งไม่มีใครต้องเป็นทาส ไม่มีทรราชผุ้กดขี่
ที่ซึ่งศรัทธาจะไม่ถุกทำลาย และที่ซึงปกครองโดยพระผุ้เป็นเจ้า
ลาก่อนครับพ่อ ลาก่อนครับแม่ ลาก่อนพี่น้องที่รักทุกคน
เพื่อนสมัยยังเด็ก เพ่อในที่คุมขัง
ขอบคุณที่แันจะได้พ้นจากวันที่น่าเบื่อหน่าย
ลาก่อน ทุกคนที่ฉันผ่านพบ เพื่อนผุ้ซึ่งทำให้ชีวิตของแันสดใสทุกคน
ลาก่อน ผู้เป็นที่รักของฉันทุกคน
การตายคือการพักผ่อนนิจนิรันดร์
... โฮเซ่ ริซัล
- th.wikipedia.org/wiki/ภาษาฟิลิปีโน
- http://fldeptsa.blogspot.com/2012/07/tagalog.html
- /th.wikipedia.org/wiki/ประเทศฟิลิปปินส์#.E0.B8.A0.E0.B8.B2.E0.B8.A9.E0.B8.B2
- th.wikipedia.org/wiki/โฮเซ_รีซัล
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...