เป้าหมายของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนมีเป้าหมายในการดำเนินการ 5 ประการ ได้แก่
- ทำให้ประชาคมอาเวียน นั้นมีประชาชนเป้นศูนย์กลาง และเป็นสังคมที่มีความรับผิดชอบ มีความเื้ออาทรต่อกัน ซึ่งจะนำมสู่ ความเป็นหนึ่งเดียวกันในภูมิภาค
- เน้นการส่งเสริมและคุ้มครองในเรื่องสิทธิมนุษยชน ความยุติธรรมทางังคมการเคารพในสิทธิเสรีภาพขึ้นพื้นฐาน ความเท่าเทียมกันทางเพศ อันเป็นพื้นฐานของการพัฒนามนุษย์และสังคม
- เน้นความเคารพในความหลากหลายทางวัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ของประชาชนชาติต่างๆ ในประเทศสมชิกอาเวยโดยได้เน้นถึงการให้คุณต่าร่วมกันรวมถึงการปรับตัวให้เข้ากับสถานการ์ต่างๆ ในปจจุบัน
- เน้นการลดช่องว่างทางสังคมของประชาชนในอาเซียนโดยให้มีการพัฒนาไปในแนวทางเดียวกันwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4001&filename=aseanknowledge
โดยรวมแล้วกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถจำแนกออกเป็น 3 กลุ่ม วัฒนธรรมหลัก ตามลักษณะที่ตั้ง ซึ่งสะท้อนวิถีชีวิตวัฒนธรรมที่สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม ดังนี้
กลุ่มวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง ประกอบด้วย ไทย ลาว เขมร พม่า เวียดนาม ซึ่งกลุ่มประเทศเหล่านี้พุดภาษาในตระกูล ไท-กะได ได้แก่ ประเทศ ไทย ลาว ตระกูลภาษามอญ-เขมร ได้แก่ ประเทศ เขมร และ เวียดนาม และ จีน-ทิเบต สาขาย่อยทิเบต-พม่า
กลุ่มวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง มีประเพณีและวัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกัน เช่น ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งเป็นการเฉลิมฉลองการขึ้นปีใหม่ของการเพาะปลูกเป็นต้น การแสดงรามเกียรติ์ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากอินเดีย จากเรื่อง รามยณะ ในกลุ่มวัฒนธรรมนี้ จะได้รับอิทธิพลจากอินเดียทางด้านวัฒนธรรม โดยเฉพาะเขมร ซึ่งแต่ก่อนอาณาจักรขอมโบราณ นับถือศาสนาฮินดู ปกครองด้วยระบอบสมมุติเทพ ก่อนจะมาเสียราชธานีให้กับอโยทยา เวียดนามจะได้รับอิทธิพลจากจีนมากกว่าประเทศอื่น เพราะเคยตกอยู่ภายใต้การปกครองของจีนเป็นเวลานาน ในประเทศอื่นๆ ในกล่มวัฒนธรรมนี้ อิทธิพลของวัฒนธรรมจีนจะเข้ามากับชนกลุ่มน้อย หรือผุ้ที่อพยพลงมาจากจีนและนำวัฒนธรรมประเพณีเข้ามาด้วย
ทางด้านภาษา ภาษามอญเป็นภาษาที่เก่าแก่ในภูมิภาคนี้ หลักแหล่งเดิมของชาวมอญอยุ่ในประเทศพม่าปัจจุบัน เนื่องจากแพ้สงครามต่ออาณาจักรพุกาม และเรื่อยมา กระทั่งถูกพม่ากลืนชาติ ชาวมอญจึงอพยพมายังประเทศไทยในปัจจุบัน แต่ในทางกลับกัน ประเพณีวัฒนธรรมต่างๆ ได้แทรกซึมเข้าสู่พม่า กระทั่งพม่าต้องยอมรับประเพณีนั้นเป็นของตน เช่น ประเพณีสงกรานต์เป็นต้น
ส่วนภาษาพม่านั้นจัดอยู่ในกลุ่มภาษาจีน-ทิเบต สาขาย่อย ทิเบต-พม่า ภาษาถิ่นและสำเนียง ภาษาพม่ามาตรฐานคือสำเนียงย่างกุ้ง ภาษาถิ่นในพม่าภาคเหนือและภาคใต้จะต่างจากภาษากลาง ภาษาถิ่นในเขตยะไข่หรือารกั ยังมีเสียง/ร/ แต่สำเนียงย่างกุ้งออกเสียงเป็น /ย/ ภาษาพม่าแบ่งอย่างกว้างๆ ได้ 2 ระดับ คือระดับทางการใช้งานวรรณคดี งานราชการและวิทยุกระจายเสียงระดับไม่เป็นทางการใช้ภายในครอบครัวและเพื่อ พระภิกษุชาวพม่ามักพุดกันเองด้วยภาษาบาลีซึ่งได้รับอิทธพิบจากพุทธศาสนา
ไทย กับลาวนั้น เป็นสองประเทศที่ใช้ภาษาในกลุ่มไท-กะไดเป็นภาษาราชการ กลุ่มภาษาไท-กะไดนั้น มีแหล่งกำเนิดจากตอนใต้ของจีนและเรื่อยลงมาถึงภาคกลางของไทยในปัจจุบัน
ความหลากหลายของตระกูลภาษาไท-กะไดในทางตอนใต้ของประเทศจีนบ่งบอกถึงมีความสัมพันธ์กับถิ่นกำเนิดของภาษา ผู้พูดภาษาสาขาไทอพยพจากตอนใต้ของจีนลงทางใต้เข้าสู่เอเซียตะวันออกเฉียงใต้แต่คร้ังโบราณ เข้าสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยและลาวบริเวณนี้เป็นบริเวณที่พบผุ้พูดภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียติก
ชื่อ "ไท-กะได" มาจากการจัดแบ่งตระกูลภาษาออกเป็นสองสาขาคือ "ไท" และ "กะได" ซึ่งเลิกใช้แล้วเนื่องจากกะไดจะเป็นกลุ่มภาษาที่เป็นไปได้ก็ต่อเมื่อมีกลุ่มภาษาไทรวมอยุ่ด้วย ในบางบริบทคำว่ากะไดจึงใช้เีรียกตระกูลภาษาไท-กะไดทั้งตระกูล แต่บางบริบทก็จำกัดการใช้คำนี้ให้แคบลง โดยหมายถึงกลุ่มภาษาขร้าที่เป็นส่วนหนึงของตระกุลภาษานี้
กลุ่มภาษามอญ-เขมร เป็นกลุ่มของภาษาพื้นเมืองในแถบอินโดจีน อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกเช่นเดียวกับ กลุ่มภาษามุนดาในอินเดีย การแบ่งกลุ่มย่อยของภาษาในกลุ่มนี้ เมื่อ พ.ศ. 2517 มีดังนี้
- กลุ่มตะวันออกได้แก่ ภาษาเขมรที่ใช้พูดในกัมพุชา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย และภาคใต้ของเวียดนาม ราว 15-22 ล้านคน กลุ่มภาษาเบียริก ในภาคใต้ของกัมพุชา กลุ่มภาษาบะห์นาริก ในเวียดนาม กัมพุชาและลาว กลุ่มภาษากะตู ในลาวภาคกลางกลุ่มภาษาเวียดติกในเวียดนาม
- กลุ่มเหนือ ได้แก่ภาษากาสีในรัฐเมฆาลัย อินเดีย กลุ่มภาษาปะหล่อง ในชายแดนจีน-พม่า และภาคเหนือของไทย กลุ่มภาษาขมุในลาวภาคเหนือ กลุ่มภาษาม้งในเวียดนามและจีน กลุ่มภาษาปยูในจีน
- กลุ่มใต้ ได้แก่ กลุ่มภาษามอญในพม่าและไทย กลุ่มภาษาอัสเลียนในภาคใต้ของไทยและมาเลเซีย กลุ่มภาษานิโคบาร์ในหมุ่เกาะนิโคบาร์
- กลุ่มที่จำแนกไม่ได้ ได้แก่ภาษาบูกัน บูซินชัว เกเมียฮัวและกวนฮัวในจีน
เวียดนามใช้ตระกูล กลุ่มภาษาเวียตติก หรือ กลุ่มภาษาเวียต-เหมื่อง เป็นสาขาของตระกูลออกโตรเอเชียติกซึ่งรวมภาษาเวียดนามและภาษาเหมือง ไว้ในกลุ่มนี้ ภาษาเวียดนามจัดอยุ่ในตระกูลออสโตรเอเชียติกซึ่งรวมภาาาเวียดนาม และภาษาเหมื่อง ไว้ในกลุ่มนี้ ภาษาเวียดนามจัดเขาอยุ่ในตระกูลออสโตรเอเชียติกเมื่อ พ.ศ. 2493 มีคำยืมจากภาษาจีนและกลุ่มภาษาไทมากจนปัจจุบันกลายเป็นภาษาคำโดดที่มีวรรณยุกต์คล้ายกับภาษาไทยหรือภาษาจีนสำเนียงทางใต้มากกว่าภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกอื่นpi-nu.blogspot.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น