เมียนมาร์ โรงเรียนมนประเทศเมียนมรร์ จะเปิดในเดือนมิถุนายนและปิดในเดือนมิถุนายมและปิดในเดือนมีนาคมในปีถัดไป เด็กๆ ที่มิีอายุ 5 ขวบ ต้องเข้าดรงเรยนประถม รับบาลเมีนยมาร์จะดูแลรับผิดชอบการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เร่ิมขึ้นจากช่วงการศึกษาระดับประถมในระยะเวลา 5 ปี และตามด้วยการศึกษาระดับมัธยมเป้นเวลา 4 ปี และอีก 2 แี สำหรับการศึกษาระดับประถมศึกษาตอนปลาย โดยรวมแล้วรัฐบาลเมียนมาร์จัดให้มีการศึกษาทั่วไปๆ ไปเป็นเวลา 11 ปี นโยบายการศึกษา
การศึกษาของประเทศเมียนมาร์นั้นได้มุ่งเน้นไปที่การพัฒนาการของเด็กทั้ง 2 ด้าน คือทั้งทางด้านจิตใจ และทางกายควบคู่กับไปและเน้นเรื่องการใช้ชีวิต และพฤติกรรมที่พึงมีต่อสังคม
วิสัยทัศน์ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวว่า "การศึกษาเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์และเป็นส่วนประกอบนสำคัญ ในคุณภาพชีวิต เป็นเครื่องค้ำประกันคุณค่าทางสังคมและศีลธรรมเป็นเครื่องมือสำหรับผลิตผลทางเศราฐกิจวัตถุประสงค์ด้านสังคมสำหรับการศึกษาในประเทศเมียนมารร์นั้นมีความมุ่งหมายสูง รวมถึงการพัฒนานักเรียนเพื่อการแก้ปัญหา และมีความคิดสร้างสรรค์ นำไปสู่การพัฒนาสถาบันและสังคม ส่งเสริมความเป็นเอกภาพของชาติและขจัดความแบ่งแยก เรียนรุ้ที่จะทำงานร่วมกับผุ้อื่น และพัฒนาความมั่นใจในตนเองจุดมุ่งหมายดังกล่าวของนโยบายการศึกษาของรับบาล ก็เพื่อจะสร้างระบบการศึกษาซึ่งก่อให้เกิดสังคมของการเรียนรุ้ที่สมารถเผชิญหน้ากับคท้าทายในยุคแห่งการเรียนรู้
นอกจากนั้น กระทรวงการต่างประเทศของเมียนมาร์ที่ได้กล่าวถึงการศึกษาของเมียนมาร์ ดังนี้
"เด็กในวัยเรียนทุกคนต้องอยู่ในโรงเรียน" และ "การศึกษาสำหรับทุกคน" เป้นคำขวัญซึ่งเป้นแนวทางในการจัดการศึกษาของประเทศเมียนมาร์ เพื่อให้ทันกับยุคข้อมูลข่าวสารในปัจจุบยัน โรงเรียนมัธยมและโรงเรียนประถมศึกษาได้มีการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยให้นักเรียนได้มีความคุ้นเคยกับสืออิเล็กทอรนิกส์ แต่อย่างไรก็ตามวิธีการที่สมบุรณ์แบบ นั่นก็คือการพัฒนาด้านจิตใจ ให้มีศีลธรรมภายในร่างกายที่มีสุขภาพดี โรงเรียนได้ฝึกฝนนักเรียน ใด้านศีลธรรมและพฤ๖ิกรรมการอยู่ร่วมในสััคม เพื่อสนับสนุนจุดประสงค์นี้ต่อไปโรงเรียนของัดจึงได้รับการฟื้นฟูขึ้นมา
ระดับประถมศึกษา
การศึกษาในระดับประถมศึกาาเป้นช่วงเรียนแรกของการศึกษาขั้นพื้นฐานและเป้ฯการศึกษาภาคบังคับ ระยะเวลบาเรียนประมาณห้าปีที่ซึ่งรวมในปีที่รับเข้าม แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือประถมศึกษาตอนต้น ตั้งแต่ เกรด 1-3 และระดับประถมศึกาาตอนปลาย คือ เกรด 4 และเกรด 5 ในการับเข้าศึกษาในระดับปรถมศึกษานั้นจะรับนักเรียนที่มีอายุประมาณ 5 ขวบ แต่บลางครั้งก็มีนักเรียนบางคนเข้าเรียนในขณะที่มีอายุเกิน 6 ขวบก็มี และเมื่อจบการศึกษาระดับประถมศึกษาแล้วนักเรียนะต้องผ่านการทดอสอบ
ระดับมัธยมศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาเป้ฯการศึกษาในช่วงที่ 2 ของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งใในระดับมัธยมศึกษาแบ่งระดับออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (เกรด 6-9) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเกรด 10-11 เมื่อนักเรียนจบระดับมัะยมศึกษาตอนต้น นักรเียนจะต้องผ่านการทดสอบความรู้พื้นฐาของมัะยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย
ลาว ภายหลังเปลี่ยนการปกครองเมือปี ค.ศ. 1975 (พ.ศ. 2528) เป้นต้นมา ลาวได้ใช้ระบบการศึกาาเป้นปบบ 11 ปี คือ ระบบ 5 3 3 โดยแบ่งออกเป็นระบบการศึกษา 3 ประเภทด้วยกัน คือ
สามัญศ฿กาา ประกอบด้วย
- ระดับเตรียมอนุบาลและอนุบาล 3 ปี
- ประถมศึกษา 5 ปี ใช้เวลาในการศึกษา 5 ปี
เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมืออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป้ฯการศึกษาภาคบังคับง เด็กทุกคนต้องจบการศึกษาในระดับนี้ แต่ในทางปฏิบัติการศึกษาภาคบังคับจะมีผลดีแต่เฉพาะเด็กในเมืองใหญ่เท่านั้นเนื่องจากลาวมีพื้นที่ประเทศกว้างขวางและประชกรกระจายกัน
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี ใช้เวลาในการศึกษา 3 ปี และในอนาคตจะให้เด็กได้เรียนภาษาอังกฤษเพิ่มมากขึ้น
อาชีวะศึกาา ประกอบด้วย
- ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพและช่างเทคนิค
- ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย ประกอบ้ดวย วิทยาลัย มี 38 แห่ง และมหาวิทยาลัย 3 แห่งมหาวิทยาลัยทั้ง 3 แห่งได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาวนครเวียงจันทน์ ซึ่งใช้เวลา 5-7 ปี ประกอบไปด้วย 6 วิทยาเขต 10 คณะวิชา ใน พ.ศ. 2551 ได้เปิดสอนระดับปรญญาเอก เป็นโครงการร่วมมอกับมหาวิทยาลัยเศรษฐกิจของเวียดนาม มหาวิทยาลัยสุพานุวง แขวงหลวงพระบางมหาวิทยาลัยจำปาสัก แขวงจำปาสัก
การศึกษานอกระบบโรงเรียนแบ่งเป้ฯ 4 ประเภท คือ
- การฝึกอบรมผุ้ใหญ่ที่อ่านและเขียนหนังสือไม่เป็น
- การยกระดับวิชาชีพแก่ผุ้ใหญ่และการยกเระดับวิชาชีพแก่เจ้าหน้าที่และพนักงาน
- การศึกาาภาคเอกชน ที่ทางรัฐบาลอนุญาตให้ทางเอกชนจัดระบบการเรียนการสอนในระดับอนุบาล จนถึงปริญญาตรี ปรญญาโทและปรญญาเอก
- โรงเรียนสงฆ์ ตั้งอยู่ในหลวงพระบาง ซึงได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐเป็นอย่างดีและเก็บค่าเล่าเรียนในอัตราที่ถุก คือ 35,000 กีบหรือประมาณ 140 บาทต่อปี ทำให้มีผุ้มาบวชเรียนจำนวนมาก แต่จำกัดเฉพาะเพศชายเท่านั้นบ่อเกิดของสิทธิในการศึกษาภาคใต้กรอบนโยบายของลาว
.. บางส่วนจาก รวมบทความเรื่อง "การจัดการการศึกษาในประชาคมอาเวียน และคู่เจรจา : สิงคโปร์ บรูไน ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย เวียดนาม พม่า และลาว : จีน อินเดีย ญี่ปุ่น และนิวซีแลนด์", โดยคณะนักศึกษาหลักสุตรศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัฒฑิต ปีการศึกษา 2556 สาขาวิชาการจัดการการศึกษา วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
กัมพูชา การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และเศราฐกิจสังคม นำไปสู่การปฏิรูปด้านการศึกษาของกัมพุชาก่อนปี พ.ศ. 2518 ได้ยึดระบบการศึกษาแบบฝรั่งเศสซึ่งให้มีการศึกษาภาคบังคับ 13 ปี ( 6+1) ภายหลังปี พงศ. 2522 กระทรวงศึกษาฯ ใช้ระบบการศึกษาแบบ 10 ปี 4+3+3 และต่อมาได้ขยายเป็นแบบ 11 ปี และใช้สืบเนื่องจากปี พ.ศ. 2529 -2539 กระทรวงศึกษาฯ ยังคงดำเนินการพัฒนาระบบการศึกษา มีการปฏิรูปหลักสูตรมีการพัฒนาตำราเรียนใหม่และนำเทคนิคการสอนใหม่ๆ มาหใ้กับครูเพื่อเตรียมสำหรับการนำระบบการศึกษาแบบ 12 ปีมาใช้ 6+3+3 ในปีการศึกาา 2539-2540 โดยระบบใหม่นี้ จะแบ่งเป็นการศึกษาก่อนประถมศึกษา 3 ปี ประถมศึกษา 6 ปี มัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี และระดับอุดมศึกษา 4-7 ปี ส่วนการจัดการศึกษาด้านอาชีวะและเทคนิคจัดให้ตั้งแต่ 1 ปี ไปจนถึง 3-5 ปีการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกาานี้บางสถบันการศึกษาอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงเกษตรสาะารรสุขหรือแรงงานการจัดการศึกษานอกระบบจะเน้นการฝึกทักษะให้กับประชาชนsites.google.com/site/kamphucha5089/kar-suksa
มาเลเซีย รัฐบาลของประเทศมาเลเซียต้องการพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางของความเป็นเลิศทางด้านการศึกษาในภูมิภาคนี้โยมีการวางแผนพัฒนายุทธศาสตร์ด้านการศึกษาอย่างต่อเนื่องผลของการพัฒนาเห้ฯได้ชัดจากการที่มีนักเรียนต่างชาติเดิมนทางเข้ามาศึกษาที่ประเทศมาเลเซียสุงมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง และในปัจจุบันมีนักเรียนนักศึกษาต่างชาติมากถึง 50,000 คน จากประเทศต่างๆ กว่า 100 ประเทศ แสดงให้เห็นถึงความพร้อมของการศึกษาระดับนนาชาติที่มีคุณภาพ ประกอบกับหลักสูตรที่มีความหลากหลายเป็นที่ยอมรับ และมีราคาที่เหมาสมด้วย
ระบบการบริหารการศึกษาของประเทศมาเลเซีย อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการแบ่งระดับการบริหารเ็น 5 ระดับคือ ระดับชาติ ระดับรัฐ ระดับอำเภอ ระดับกลุ่มโรงเรียน และระดับโรงเรียน การบริหารโรงเรียนระดับชาติอยุ่ในความควบคุมของรัฐบาลกลาง การศึกษาทุกประเภทอุกระดับอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการเพียงกระทรวงเดียว ยกเวนการศึกษาที่มีลักษณะเป้นการศึกษานอกระบบจะมีกรมจากกระทรวงอื่นที่เกี่ยวข้องรับผิดชอบ เช่น กรมแรงงาน กรมเกษตร เป็นต้น
ระบบการจัดการศึกษาของมาเลเซีย เป็นระบบ 6:3:2 คือระบบการศึกษาของมาเลเซียจัดอยุ่ในระดับที่มีมาตรฐานสุงตามแบบของประเทศอังกฤษ สถาบันการศึกาาส่วนใหย่จะใช้ภาาาอังกฤษเป้นสื่อในการสอน ระบบการเรียน การสอนแบบ ทิวินนิ่ง โปรแกรมเป้ฯระบบที่ได้รับความนิยมอย่างมกเป้ฯการร่วมมือกับสถาบันในประเทศ อเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ แคนนาดา สวิสเซอร์แลนด์ ฯลฯ
การศึกษาในประเทศมาเลเซียน ระดับประถมศึกษาหลักสุตร 6 ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หลักสุตร 3 ปีการศึกษา, ระดับมัธยมศึกาาตอนปลาย หลักสูตร 2 ปีการศึกษา, ระดับเตรียมอุดมศึกษา หลักสูตร 1 หรือ 2 ปีการศึกษา, ระดับอุดมศึกษา หลักสุตรเฉลี่ยประมาณ 3 ปีครึ่ง ถึง 4 ปีการศึกษาwww.sjworldedu.com/country/malaysia/malaysia-education-system/
ไทย ระบบกรศึกาาในโรงเรียนของประเทศไทยนั้นจะแบ่งการศึกษาออกเป็น 4 ช่วงชั้น คือ 1 ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3, 2) ตั้งแต่ระดับชั้นที่ 1 ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 3) ระดับชั้นมัธยมึกษาตอนต้น (มัธยมศึกษา 1-3) และ4 คือระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย(มัธยมศึกษาปีที่ 4-6) โดยในชั้นที่ 4 นอกจากจะมีการจัดการศึกษาในสายสามัญแล้ว ยังวีการจัดการศึกษาในสายอาชีพด้วย ซึ่งในระดับชั้น ปวช. 1-3 นั้นจะเทียบเท่ากับระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโดยนักเรียนที่เลือกสายสามัญมัมีความตั้งใจที่จะศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ส่วนนักศึกษที่เลือกสายอาชีพมักวางแผนเพื่อเตรียมพร้อมสู่การจ้างงานและศึกษาเพิ่มเติม
นอกจากนี้นักเรียนตะต้องสอบข้อเขียนของโรงเรียนแล้ว นักเรียนจำเป็นจ้องมีคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ(โอเน็ต) ซึ่งมีการจัดสอบในช่วงปลายภาคเรียนที่ 2 ของชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และปลายภาคเรียนที่ 2 ของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ยื่นประกอบในการพิจารณา ส่วนการทดสอบระดับชาติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จะนำไปใช้ใช้ในการรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย
ประเทศไทยมีการแบ่งดรงเรียนออกเป็น 2 รูปแบบ คือ โรงเรียนรัฐและโรงเรียนเอกชน โดยโรงเรียนรัฐ นั้นจะบริหารจัดการโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือหน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ได้สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เช่น องค์กรโดยกลุ่มบุคคลหรือมูลนิธิต่างๆ ที่มีใบอนุญาตัดตั้ง ซึ่งโยส่วนใหญ่แล้วมักเป็นโรงเรียนที่มีส่วนเกี่ยวเนื่องกับศาสนาคริสต์ และศาสนอิสลามเป็นหลัก ในเขตชนบทของประเทศไทยนั้นหลายๆ โรงเรียนมีลักษณะเ็นโรงเรียนขยายโอกาศ คือ มีการจัดการเรียนการสอนระดับชั้นประถมศึกษา-ทัธยศึกษาตอนต้น หรืออาจมีการจัดการเรียนการสอนในระดับกาดรศึกษาปฐมวัยด้วยก็ได้ เนื่องจากการขาดแคลนงบประมาณทางการศึกษาแก่โรงเรียนชนบท ส่งผลให้นักเรียนที่อาศัยอยู่ในเขตชนบทเลืหกที่จะเข้ศึกษาต่อในโรงเรียนเอกชนมากกว่าดรงเรียนของรัฐ เนื่องจากมีความเชื่อมั่นว่าคุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรียนเอกชนอยู่ระดับมรตรฐานที่ดิ หรือเข้าศึกษาต่อในเขตเมืองของจังหวัดนั้นๆ th.wikipedia.org/wiki/การศึกษาในประเทศไทย#.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.A8.E0.B8.B6.E0.B8.81.E0.B8.A9.E0.B8.B2.E0.B8.82.E0.B8.B1.E0.B9.89.E0.B8.99.E0.B8.9E.E0.B8.B7.E0.B9.89.E0.B8.99.E0.B8.90.E0.B8.B2.E0.B8.99
วันอาทิตย์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2560
วันเสาร์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2560
ASEAN :The Basic Education
สิงคโปร์ ด้วยวิสัยทัศน์และนโยบายการจัดการศึกษาของสิงคโปร์ที่โดดเด่นทำให้การศึกษาของสาธารณรัฐสิงคโปร์ก้าวรุดหน้าไปกว่าประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค และยังเป็นประเทศที่มีการปรับปรุงนโยบายทางการศึกษาอย่างต่อเนื่องเพื่อทันต่อการเปลี่ยนแปลงของวิทยาการใหม่ ๆ ของโลก
ในปี พ.ศ. 2547 รัฐบาลนำโดยนายลี เชียน ลุง นายกรัฐมนตรีได้ประกาศวิสัยทัศน์ใหม่ด้านการศึกษาที่สอดคล้องไปกับวิสัยทัศน์ TSLN หรือที่รู้จักดันในวลี "Teach Less, Learn More"ที่เน้นการสอนให้น้อยลงแต่ให้นักเรียนเดิดการเรียนรู้มากขึ้น และนำไปสู่การปฏิบัติ นับเป้นการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนการสอนจากที่เน้นปริมาณสู่การเรียนการสอนเป็นการเน้นคุณภาพการสอน โดยเชื่อว่า การสอนที่เน้นปริมาณไม่สามารถนำนักเรียนเข้าสู่กระบวนการเรียนรู้ได้อย่างเพียงพอ ไม่สามารถจุดประกายความอยากรู้อยากเห็น กระบวนการสอนดังกล่าวนี้ ช่วยให้โรงเรียนและครูสามารถเข้าไปถึงแก่นของการเรียนการสอนว่า การสอนนี้สอนเพื่ออะไร สอนอะไร และสอนอย่างไร ด้วยกระบวนการสอนแบบ ที่กล่าวมา จะไม่เหน้นการเรียนการสอนและการวัดผลแบบเดียวเพื่อที่ใช้กับคนหมุ่มาก แต่เป็นการออกแบบการสอนและการวัดผลที่มีความแตกต่างตามความพร้อมและความสนใจของผุ้เรียน เพื่อให้เกิดผลต่อการเรียนรู้ตลอดชีพ
สิงคโปร์มีการจัดโครงสร้างการบริหารสถานศึกษาออกเป็น 4 ระดับคือ
- ระดับรัฐ รัฐบาลสิงคโปร์โดยกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้กำหนดนโยบายและวางแผนสู่การปฏิบัติใน 3 หน่วยงาน คือ Profressinal Wings เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบทางด้านวิชาการ Policy Wings เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านนโยบายการศึกษา และ Service Wings เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านงานบริการด้านการศึกษาต่างๆ โดยรัฐจะเป็นผุ้กำหนดหลักสูตรแกนกลาง ที่ใช้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นบฐานแก่ทุกโรงเรียน รวมถึงการดุแลเรื่องการสอบและการประเมินผลระดับชาติทั้ง 3 ระดับ คือ เมือจบชั้นประถมศึกษา มัธยมศึกษา และเตรียมอุดมศึกษาอีกด้วย
- ระดับเขตพื้นที่การศึกาา ได้รับการมอบอำนาจให้มีหน้าที่ควบคุมดุแลกลุ่มโรงเรียน ที่อยุ่ในเขตเพื่อให้เป้นไปตามวัตถุประสงค์ที่รัฐบาลได้ตั้งขึ้น ว่าได้เกิดการทำงานร่วมมือกันอย่างดี มีการช่วยเหลือกันในกลุ่มอย่างดีหรือไม่ หัวหน้ากลุ่มได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ควรจะเป็นหรือไม่
- ระดับกลุ่มโรงเรียน ที่เกิดจากการรวมกลุ่มหลายโรงเรรียนเข้าด้วยกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในด้านวิชาการและทิศทางในการพัฒนาบริหารจัดการโรงเรียนปัจจุบันมีการจัดตั้งกลุ่มทั้งสิ้น 28 กลุ่มครอบคลุมทุกโรงเรียนในประเทศ แต่ละกลุ่มมีโรงเรียนในเครือข่ายประมาณ 10-14 โรง บางกลุ่มก็ประกอบด้วยโรงเรียนระดับประถมศึกษาทั้งหมด บางกลุ่มก็ประกอบด้วยโรงเรียนหลายๆ ระดับมารวมกัน แต่ละกลุ่มจะมีการเลือกหัวหน้า จากผุ้บริหารโรงเรียนต่างๆ ที่มีประสบการณืทำหน้าที่ประสานงานและช่วยกำหนดทิศทงการบริหารจัดการให้แก่โรงเรยนในกุ่ม โดยรัฐได้จัดสรรงบประมาณรายปีโดยตรงให้แก่หัวหน้ากล่่มเพื่อใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนา ดูแล ช่วยเหลือ และแนะนำโรงเรียนในกลุ่ม รัฐบาลจับตามองความสามารถของหัวหน้กลุ่มว่ามีสมรนรถภภาพเช่นไร ใช้วบประมาณได้อย่งมีประสิทธิภาพหรือไม่ หากเป็นไปด้วยดีรัฐก็จะมองอำนาจความรับผิดชอบให้หัวหน้ากลุ่มมากขึ้น พร้อมให้อำนาจในการปกครองดูแลโรงเรียนของหัวหน้ากลุ่มเองได้อย่างมีอิสระกว่าโรงเรียนอื่นๆ
- ระดับสถานศึกษา สถานศึกษาเป็นหน่วยงานย่อยที่สุดในการจัดการศึกษาที่มีระดับอิสระในการจัดการต่างกัน หากเป็นโรงเรียนแบบอิสระ และ โรงเรียนปกครองตนเอง จะมีอิสระในการดูแลเรื่องการบริหารจัดการบุคลากร การเงิน และวิชาการบางส่วน เช่น การเลือกแบบเรียน และปรับหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของผุ้เรียนมากกว่าโรงเรียนอื่นโดยโรงเรียนเหล่านี้จะต้องมีการจัดตั้งคณะกรรมกาบริหารโรงเรรียนขึ้นโดยได้รับการอนุมัติจากการะทรวงศึกษาธิการก่อน
อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 เป็นต้นมาที่ได้มีการประกาศวิสัยทัศน์ทางการศึกษา รัฐบาลได้พยายามที่จะเปิดโอกาสให้โรงเรียนอื่นๆ มีความยืดหยุ่นในการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะกับความต้องการของนัเรียนมากยิ่งขึ้น
บรูไนได้กระจายอำนาจการจัดการการศึกษา โดยเปลี่ยนจากการแบ่งอำนาจ สุ่ การมอบอำนาจ โดยมอบอำนาจตามประเภทของงาน คือการให้อำนาจความรับผิดชอบของหน่วยงานส่วนกลางไปยังโรงเรียน แต่ความรับผิดชอบสูงสุดยังอยู่ที่หน่วยงานส่วนลางเช่นการเสริมสร้างกำลงคนขึ้นอยู่กับผุ้นำในโรงเรียนและครูกระทรวงศึกษาธิการได้ให้อำนาจบางบริหารแก่ผุ้นำในโรงเรียนและครูผู้สอน มีการพัฒนาระบบเขตพื้นที่การศึกษาสำหรับระดับประถมศึกษา และระบบกลุ่มดรงเรียนสำหรับระดับมัธยม ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมกับดรงเรียนมากขึ้น รวมทั้งให้ผุ้นำโรงเรียนมีอำนาจในการจัดโครงสร้างสถานศึกษาการจัดโซนสำหรับระดับประถมศึกษาและจัดกลุ่มดรงเรียนระดับมัธยมศึกษาได้มีการแต่างตั้งผุ้นำและจัดต้้งเป็นคณะกรรมการทีมผุ้นำ เพื่อให้สาชิกได้ออกความคิดเห็น ข่าวสาร และวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุด มีการอภิปรายประเด็นต่างๆ เพื่อนำไปสู่แผนผฏิบัติการ ผุ้มีส่วนได้เสียของโรงเรียนมีเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระดมสมอง และลงมือปฏิบัติเกี่ยวกับปัญหาทางการศึกษา การปรับปรุงผลการดำเนินงานทั้งด้านวิชาการและไม่ใช่วิชาการ
ฟิลิปปินส์ พระราชบัญญัติฉบับที่ 9155 เป็นพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2544 ที่เกี่ยวกับการกำกับดูแลการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในประเทศฟิลิปปินส์กำหนด บทบาทและความรับผิดชอบ ของระดับการบริหาร ต่างๆ จากส่วนกลางไปถึงระดับโรงเรียน ด้วยพระราชบัญญัติฉบับนี้ชื่อของกรมวัฒนธรรมการศึกษาและกีฬา ถูกเปลี่ยเป็นกรมศึกษาธิการ และกำหนดบทบาทของสำนักงานในพื้นที่ต่างๆ
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ ฉบับดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าหน้าที่หลักของสำนักงานในพื้นที่ต่างๆ คือ การประกันคุณภาพ มีหน้าที่ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของทุกโรงเรียนภายใต้อำนาจของตนและให้การสนับสนุด้านอื่นๆ แก่หน่วยงานระดับอภเภอและโรงเรียน ตามที่พระราชบัญัติการศึกษาแห่งชาติระบุ ครอบคลุมการศึกษาในเด็กปฐมวัย ประถมศึกษาและมัธยมศึกษารวมทั้งระบบการเรียนรู้ทางเลือกสำหรับเด็กและเยาวชนที่ออกจากโรงเรียนและนักศึกษาผู้ใหญ่และรวมถึงการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความต้องการพิเศษ
โดย พ.ร.บ. ดังกล่าว กำหนดรูปแบบเหตุการณ์ ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ ในบริบทของการบริหารโดยใช้ดรงเรยนเป็นฐาน โดยกำหนด วัตถุประสงค์ "เพื่อสนับสนุนส่งเสริม ความคิดริเร่ม เพื่อการพัฒนาโรงเรียนและศูนย์การเรียนรูให้ประสบความสำเร็จ และยั่งยืน" โดยได้มีการกำหนดโครงสร้างของกรมศึกษาธิการกับหน้าที่ความรับผิดชอบที่กระจายอำนาจใน 4 ระดับ จากระดับรัฐ ไปสู่ระดับเขต ระดับอำเภอ และระดับโรงเรียนโดยเป้นการกระจายอำจไปยังโรงเนรียน แต่ไม่ได้กล่าวถึงคณะกรรมการสภาโรงเรียน
กรมศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานภาครัฐพื้นฐานที่รับผิดชอบด้านการศึกษและการพัฒนาอัตรากำลังของชาติ ภารกิจของการพัฒนาหมายถึง การให้การศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพที่มีความเสมอภาคและทุกคนสามารถเข้ารับการศึกษาได้ มีการจัดตั้งมูลนิธิสำกรับการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อให้ทุกคนได้รับการบริการได้ทั่วไปอย่งดี ความรับผิดชอบเบื้องต้นของกรมนี้คือ ริเริ่ม การวางแผน การนำไปปฎิบัติ และประสานความร่วมมือในระดับนโยบาย ความช่วยเหลือในเบื้องต้น มาตรฐาน แผนงานจัดโปรแกรมและโครงการต่างๆ ในพื้นที่ที่เป้นการศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบ เป็นการบริหารสถาบันการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งที่เป็นการศึกษาของรัฐและเอกชน ดูแลการจัดตั้งและบริหารจัดการ บำรุงรักษาให้ดีและเพียงพอ บูรณาการระบบการศึกษาเชื่อมโยงกับเป้าหมายของการพัฒนาชาติ
การกระจายอำนาจบริหารการศึกษาสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ใช้รูปแบบ SBM ซึ่งถูกนำมาใช้ใน 23 หัวเมือง ที่เข้าร่วมในระดับปรถมศึกษา ตามโครงการการศึกาษที่ 3 ในระดับประถมศึกษา ได้รับการสนับสนุน จากธนาคารโลก โครงการจัดหาเงินทุน สำหรับโรงเรียนโครงสร้งพื้นฐานของ การฝึกอบรมการพัฒนาหลักสูตรและตำราเรียน SMB เป็นการกระจายอำนาจการจัดการศึกษาจากกรมศึกษาธิการไปยังสถานศึกษา โดยให้สถานศึกษามีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบ มีอิสระและความคล่องตัวในการตัดสินใจกรบริหารจัดการทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากรและการบิหารทั่วไป โดยมีคณะกรรมการสภาโรงเรียน ซึ่งประกอบด้วย ผุ้บริหาสถานศึกษ ตังแทนผุ้ปกครองและขุชน ตัวแทนครู ผุ้ทรงคุณวุฒิ มีส่วนร่วมกันบริหารสถานศึกษาให้เป็นไปตามความต้องการของผุ้รเียนและผุ้ปกครองให้มากที่สุด ทั้งนี้การบริหารจัการที่รับผิดชอบร่วมกันตามภาระงานของสถานศึกษานั้น จะทำให้เกิความเป็นเจ้าของและทำให้ผลการปฏิบัติงานของสถานศึกาาเป็นที่ยอมรับได้
อินโดนีเซีย จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐวัยด้วยเป้หายหลักของการศึกษาปฐมวัยคือ การพัฒนาด้านร่างกายและจิตใจของนักเรยน เมื่อเด็กต้องกออกมาจากบ้านจากครอบครัวมาเข้าสังคมที่โรงเรียน การจัดการศึกษาระดับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมความพร้อมของผุ้เรียนก่อนเข้าเรียนระดับประถมศึกษา เป็นการเตรียมการพัฒนาการขั้นพื้นฐาน พัฒนาทัศคติ ความรู้ ทักษะ และความคิดริเริ่มรูปแบบของการศึกษาปฐมวัยที่ได้ผลดี ได้แก่การจัดการศึกษาในโรงเรียนอนุบาล หรือสถานอบรมเด็กเล็ก และการเล่นเป้นกลุ่ม การเรียนในโรงเรยนอนุบาลถือเป้นสวนหนึ่งของการศึกษาในระบบ ขณะที่การเรียนรู้จากการเล่นเป็นกลุ่มนั้นจะเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษานอกระบบ การจัดการศึกษาปฐมวัยนี้เป็นการจัดการศึกษาให้กับเด็กอายุระหว่าง 4-6 ขวบ ระยะเวลาเรียน 1-2 ปี ขณะที่การเรียนรุ้โดย "การเล่ินเป็นกลุ่ม" จัดให้เด็กอายุ 3 ขวบ และต่ำกว่า 3 ขวบ
ถ้าตามพระราชบัญญัติการศึกษาปี 2003 จะแบ่งระดบการศึกษาในโรงเรียนออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา การศึกาาระดับอุดมศึกษา
การศึกษาขั้นพ้นฐานเป็นการศึกษาภาคบังคัยมี 3 ระดับ ได้แก่ โรงเรียนประถมศึกษา ให้การศึกษาขั้นพื้นฐาน 6 ปี สำหรับนักเรียนอายุ 7-12 ปี, โรงเรียนมะธยมศึกษาตอนต้น จัดกาศึกษา 3 ปี สำหรับนักเรียนอายุ 13-15 ปี, โรงเรียนพิเศษจัดการศึกษาสำหรับนักเรียนที่มีปัญหาความผิดปกติทางด้น
ร่างกายและจิตใจ
การศึกษาขั้นพื้นฐานมีเป้าหมายเพื่อพัฒนานักรเียนให้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นสมาชิกของสังคม พลเมือง และมนุษยชาติโดยรวมทั้งสามาถศึกษาต่อได้ในระดับสุงต่อไป
เวียดนาม ประเทศเวียดนามต้องการจะพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนชาวเวยดนามให้ดีขึ้นทัดเทียมอารยประเทศและเพื่อแก้ไข ปรับปรุงจุดอ่อนของระบบการบริหารจัดการประเทศเวียดนามที่ใช้รูปแบบ โซเวียต โมเดล จึงได้ประกาศใช้นโยบาย Doi Moi Policy ในปี ค.ศ. 1986 และเร่ิมปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริหารจัดการต่างๆ ของเวียนดนามให้ดีขึ้น โดยในส่วนของระบบการจัดการศึกษา เวียดนามเร่ิมใช้กฎหมายการศึกษาฉบับแรก ในปี พ.ศ. 2533 เรียกว่า 1990 Law และปรับปรุงครั้งที่ 2 ในปี ค.ศ. 1998 (2551) ปัจจุบันเวียดนามใช้กฎหมาย การศึกษาฉบับ 2005 Law ซึ่งปรับปรุง เมื่อวันที่ กรกฎาคม 2553 (2010) อยู่ภายใต้หลัการและแนวคิด "Independent, Freedom and Happiness" แบ่งลักษณะของการจัดการศึกษาไว้ 4 ลักษณะ คือ
1. การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา เป็นการเตรียมความพร้อมด้าน ร่างกาย อารมณ์ สติปัญญา และศิลปะ ประกอบด้วยการเลี้ยงดูเด็ก สำหรับเด็กอายุ 3 เดือน- 6 ปี และอนุบาลสำหรับเด็กอายุ 3-5 ปี เป็นการศึกษาภาคลังคับที่เร่ิมต้น ตามกฎมหาย
2. การศึกาาสามัญ แบ่งเป็นระดับต่างๆ ดังนี้
- ระดับประถมศึกษาเป็นการศึกษาภาคลังคับ 5 ปี ชั้น 1-5 รับนักเรียนอายุ 6-11 ปี เพื่อพัฒนทักษะเพืนฐานของนักเรียน
- ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คือ ชั้น 6-9 กลุ่มนี้จะเรียนวิชาพื้นฐาน 13 วิชา
- ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คือชั้น 10-12 เป็นการศึกษาต่อเนืองจากระดับมัธยมศึกษาตอนต้น แต่จะเจาะลึกและมีการสอบจบ ถ้าผ่านจะได้ใบประกาศ มีจุดประสค์เพื่อเตรียมนักเรียนเข้ามหาวิทยาลัย
3. การศึกษาด้านเทคนิคและอาชีพ มีเทียงเคยงทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย เป้นการศึกษาที่เน้นการประกอบอาชีพ แบ่งเป็น 2 ระดับ
4. การศึกษาระดับอุดมศึกา แบ่งเป็นระดับอนุปริญญา และระดับปริญญา โดยระดับปรญญา เรียน 4 ปี ระดับบัณฑิตศึกษา(ปริญญาโท) และระดับปริญญาเอก..
ทั้งนี้ในการศึกาาสามัญ 12 ปี ของเวียดนามนั้นเวียดนามมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนได้มีวิญญาณในกความเป็นสังคมนิยม มีเอกลักษณ์ประจำชาติ และมีความสามารถในด้านอาชีพ...
- บางส่วนจาก บทความ เรื่อง "การจัดการการศึกษาในประชาคมอาเวียน และคู่เจรจา : สิงคโปร์ บรูไน ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย เวียดนาม พม่า และลาว : จีน อินเดีย ญี่ปุ่น และนิวซีแลนด์
ในปี พ.ศ. 2547 รัฐบาลนำโดยนายลี เชียน ลุง นายกรัฐมนตรีได้ประกาศวิสัยทัศน์ใหม่ด้านการศึกษาที่สอดคล้องไปกับวิสัยทัศน์ TSLN หรือที่รู้จักดันในวลี "Teach Less, Learn More"ที่เน้นการสอนให้น้อยลงแต่ให้นักเรียนเดิดการเรียนรู้มากขึ้น และนำไปสู่การปฏิบัติ นับเป้นการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนการสอนจากที่เน้นปริมาณสู่การเรียนการสอนเป็นการเน้นคุณภาพการสอน โดยเชื่อว่า การสอนที่เน้นปริมาณไม่สามารถนำนักเรียนเข้าสู่กระบวนการเรียนรู้ได้อย่างเพียงพอ ไม่สามารถจุดประกายความอยากรู้อยากเห็น กระบวนการสอนดังกล่าวนี้ ช่วยให้โรงเรียนและครูสามารถเข้าไปถึงแก่นของการเรียนการสอนว่า การสอนนี้สอนเพื่ออะไร สอนอะไร และสอนอย่างไร ด้วยกระบวนการสอนแบบ ที่กล่าวมา จะไม่เหน้นการเรียนการสอนและการวัดผลแบบเดียวเพื่อที่ใช้กับคนหมุ่มาก แต่เป็นการออกแบบการสอนและการวัดผลที่มีความแตกต่างตามความพร้อมและความสนใจของผุ้เรียน เพื่อให้เกิดผลต่อการเรียนรู้ตลอดชีพ
สิงคโปร์มีการจัดโครงสร้างการบริหารสถานศึกษาออกเป็น 4 ระดับคือ
- ระดับรัฐ รัฐบาลสิงคโปร์โดยกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้กำหนดนโยบายและวางแผนสู่การปฏิบัติใน 3 หน่วยงาน คือ Profressinal Wings เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบทางด้านวิชาการ Policy Wings เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านนโยบายการศึกษา และ Service Wings เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านงานบริการด้านการศึกษาต่างๆ โดยรัฐจะเป็นผุ้กำหนดหลักสูตรแกนกลาง ที่ใช้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นบฐานแก่ทุกโรงเรียน รวมถึงการดุแลเรื่องการสอบและการประเมินผลระดับชาติทั้ง 3 ระดับ คือ เมือจบชั้นประถมศึกษา มัธยมศึกษา และเตรียมอุดมศึกษาอีกด้วย
- ระดับเขตพื้นที่การศึกาา ได้รับการมอบอำนาจให้มีหน้าที่ควบคุมดุแลกลุ่มโรงเรียน ที่อยุ่ในเขตเพื่อให้เป้นไปตามวัตถุประสงค์ที่รัฐบาลได้ตั้งขึ้น ว่าได้เกิดการทำงานร่วมมือกันอย่างดี มีการช่วยเหลือกันในกลุ่มอย่างดีหรือไม่ หัวหน้ากลุ่มได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ควรจะเป็นหรือไม่
- ระดับกลุ่มโรงเรียน ที่เกิดจากการรวมกลุ่มหลายโรงเรรียนเข้าด้วยกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในด้านวิชาการและทิศทางในการพัฒนาบริหารจัดการโรงเรียนปัจจุบันมีการจัดตั้งกลุ่มทั้งสิ้น 28 กลุ่มครอบคลุมทุกโรงเรียนในประเทศ แต่ละกลุ่มมีโรงเรียนในเครือข่ายประมาณ 10-14 โรง บางกลุ่มก็ประกอบด้วยโรงเรียนระดับประถมศึกษาทั้งหมด บางกลุ่มก็ประกอบด้วยโรงเรียนหลายๆ ระดับมารวมกัน แต่ละกลุ่มจะมีการเลือกหัวหน้า จากผุ้บริหารโรงเรียนต่างๆ ที่มีประสบการณืทำหน้าที่ประสานงานและช่วยกำหนดทิศทงการบริหารจัดการให้แก่โรงเรยนในกุ่ม โดยรัฐได้จัดสรรงบประมาณรายปีโดยตรงให้แก่หัวหน้ากล่่มเพื่อใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนา ดูแล ช่วยเหลือ และแนะนำโรงเรียนในกลุ่ม รัฐบาลจับตามองความสามารถของหัวหน้กลุ่มว่ามีสมรนรถภภาพเช่นไร ใช้วบประมาณได้อย่งมีประสิทธิภาพหรือไม่ หากเป็นไปด้วยดีรัฐก็จะมองอำนาจความรับผิดชอบให้หัวหน้ากลุ่มมากขึ้น พร้อมให้อำนาจในการปกครองดูแลโรงเรียนของหัวหน้ากลุ่มเองได้อย่างมีอิสระกว่าโรงเรียนอื่นๆ
- ระดับสถานศึกษา สถานศึกษาเป็นหน่วยงานย่อยที่สุดในการจัดการศึกษาที่มีระดับอิสระในการจัดการต่างกัน หากเป็นโรงเรียนแบบอิสระ และ โรงเรียนปกครองตนเอง จะมีอิสระในการดูแลเรื่องการบริหารจัดการบุคลากร การเงิน และวิชาการบางส่วน เช่น การเลือกแบบเรียน และปรับหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของผุ้เรียนมากกว่าโรงเรียนอื่นโดยโรงเรียนเหล่านี้จะต้องมีการจัดตั้งคณะกรรมกาบริหารโรงเรรียนขึ้นโดยได้รับการอนุมัติจากการะทรวงศึกษาธิการก่อน
อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 เป็นต้นมาที่ได้มีการประกาศวิสัยทัศน์ทางการศึกษา รัฐบาลได้พยายามที่จะเปิดโอกาสให้โรงเรียนอื่นๆ มีความยืดหยุ่นในการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะกับความต้องการของนัเรียนมากยิ่งขึ้น
บรูไนได้กระจายอำนาจการจัดการการศึกษา โดยเปลี่ยนจากการแบ่งอำนาจ สุ่ การมอบอำนาจ โดยมอบอำนาจตามประเภทของงาน คือการให้อำนาจความรับผิดชอบของหน่วยงานส่วนกลางไปยังโรงเรียน แต่ความรับผิดชอบสูงสุดยังอยู่ที่หน่วยงานส่วนลางเช่นการเสริมสร้างกำลงคนขึ้นอยู่กับผุ้นำในโรงเรียนและครูกระทรวงศึกษาธิการได้ให้อำนาจบางบริหารแก่ผุ้นำในโรงเรียนและครูผู้สอน มีการพัฒนาระบบเขตพื้นที่การศึกษาสำหรับระดับประถมศึกษา และระบบกลุ่มดรงเรียนสำหรับระดับมัธยม ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมกับดรงเรียนมากขึ้น รวมทั้งให้ผุ้นำโรงเรียนมีอำนาจในการจัดโครงสร้างสถานศึกษาการจัดโซนสำหรับระดับประถมศึกษาและจัดกลุ่มดรงเรียนระดับมัธยมศึกษาได้มีการแต่างตั้งผุ้นำและจัดต้้งเป็นคณะกรรมการทีมผุ้นำ เพื่อให้สาชิกได้ออกความคิดเห็น ข่าวสาร และวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุด มีการอภิปรายประเด็นต่างๆ เพื่อนำไปสู่แผนผฏิบัติการ ผุ้มีส่วนได้เสียของโรงเรียนมีเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระดมสมอง และลงมือปฏิบัติเกี่ยวกับปัญหาทางการศึกษา การปรับปรุงผลการดำเนินงานทั้งด้านวิชาการและไม่ใช่วิชาการ
ฟิลิปปินส์ พระราชบัญญัติฉบับที่ 9155 เป็นพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2544 ที่เกี่ยวกับการกำกับดูแลการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในประเทศฟิลิปปินส์กำหนด บทบาทและความรับผิดชอบ ของระดับการบริหาร ต่างๆ จากส่วนกลางไปถึงระดับโรงเรียน ด้วยพระราชบัญญัติฉบับนี้ชื่อของกรมวัฒนธรรมการศึกษาและกีฬา ถูกเปลี่ยเป็นกรมศึกษาธิการ และกำหนดบทบาทของสำนักงานในพื้นที่ต่างๆ
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ ฉบับดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าหน้าที่หลักของสำนักงานในพื้นที่ต่างๆ คือ การประกันคุณภาพ มีหน้าที่ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของทุกโรงเรียนภายใต้อำนาจของตนและให้การสนับสนุด้านอื่นๆ แก่หน่วยงานระดับอภเภอและโรงเรียน ตามที่พระราชบัญัติการศึกษาแห่งชาติระบุ ครอบคลุมการศึกษาในเด็กปฐมวัย ประถมศึกษาและมัธยมศึกษารวมทั้งระบบการเรียนรู้ทางเลือกสำหรับเด็กและเยาวชนที่ออกจากโรงเรียนและนักศึกษาผู้ใหญ่และรวมถึงการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความต้องการพิเศษ
โดย พ.ร.บ. ดังกล่าว กำหนดรูปแบบเหตุการณ์ ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ ในบริบทของการบริหารโดยใช้ดรงเรยนเป็นฐาน โดยกำหนด วัตถุประสงค์ "เพื่อสนับสนุนส่งเสริม ความคิดริเร่ม เพื่อการพัฒนาโรงเรียนและศูนย์การเรียนรูให้ประสบความสำเร็จ และยั่งยืน" โดยได้มีการกำหนดโครงสร้างของกรมศึกษาธิการกับหน้าที่ความรับผิดชอบที่กระจายอำนาจใน 4 ระดับ จากระดับรัฐ ไปสู่ระดับเขต ระดับอำเภอ และระดับโรงเรียนโดยเป้นการกระจายอำจไปยังโรงเนรียน แต่ไม่ได้กล่าวถึงคณะกรรมการสภาโรงเรียน
กรมศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานภาครัฐพื้นฐานที่รับผิดชอบด้านการศึกษและการพัฒนาอัตรากำลังของชาติ ภารกิจของการพัฒนาหมายถึง การให้การศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพที่มีความเสมอภาคและทุกคนสามารถเข้ารับการศึกษาได้ มีการจัดตั้งมูลนิธิสำกรับการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อให้ทุกคนได้รับการบริการได้ทั่วไปอย่งดี ความรับผิดชอบเบื้องต้นของกรมนี้คือ ริเริ่ม การวางแผน การนำไปปฎิบัติ และประสานความร่วมมือในระดับนโยบาย ความช่วยเหลือในเบื้องต้น มาตรฐาน แผนงานจัดโปรแกรมและโครงการต่างๆ ในพื้นที่ที่เป้นการศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบ เป็นการบริหารสถาบันการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งที่เป็นการศึกษาของรัฐและเอกชน ดูแลการจัดตั้งและบริหารจัดการ บำรุงรักษาให้ดีและเพียงพอ บูรณาการระบบการศึกษาเชื่อมโยงกับเป้าหมายของการพัฒนาชาติ
การกระจายอำนาจบริหารการศึกษาสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ใช้รูปแบบ SBM ซึ่งถูกนำมาใช้ใน 23 หัวเมือง ที่เข้าร่วมในระดับปรถมศึกษา ตามโครงการการศึกาษที่ 3 ในระดับประถมศึกษา ได้รับการสนับสนุน จากธนาคารโลก โครงการจัดหาเงินทุน สำหรับโรงเรียนโครงสร้งพื้นฐานของ การฝึกอบรมการพัฒนาหลักสูตรและตำราเรียน SMB เป็นการกระจายอำนาจการจัดการศึกษาจากกรมศึกษาธิการไปยังสถานศึกษา โดยให้สถานศึกษามีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบ มีอิสระและความคล่องตัวในการตัดสินใจกรบริหารจัดการทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากรและการบิหารทั่วไป โดยมีคณะกรรมการสภาโรงเรียน ซึ่งประกอบด้วย ผุ้บริหาสถานศึกษ ตังแทนผุ้ปกครองและขุชน ตัวแทนครู ผุ้ทรงคุณวุฒิ มีส่วนร่วมกันบริหารสถานศึกษาให้เป็นไปตามความต้องการของผุ้รเียนและผุ้ปกครองให้มากที่สุด ทั้งนี้การบริหารจัการที่รับผิดชอบร่วมกันตามภาระงานของสถานศึกษานั้น จะทำให้เกิความเป็นเจ้าของและทำให้ผลการปฏิบัติงานของสถานศึกาาเป็นที่ยอมรับได้
อินโดนีเซีย จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐวัยด้วยเป้หายหลักของการศึกษาปฐมวัยคือ การพัฒนาด้านร่างกายและจิตใจของนักเรยน เมื่อเด็กต้องกออกมาจากบ้านจากครอบครัวมาเข้าสังคมที่โรงเรียน การจัดการศึกษาระดับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมความพร้อมของผุ้เรียนก่อนเข้าเรียนระดับประถมศึกษา เป็นการเตรียมการพัฒนาการขั้นพื้นฐาน พัฒนาทัศคติ ความรู้ ทักษะ และความคิดริเริ่มรูปแบบของการศึกษาปฐมวัยที่ได้ผลดี ได้แก่การจัดการศึกษาในโรงเรียนอนุบาล หรือสถานอบรมเด็กเล็ก และการเล่นเป้นกลุ่ม การเรียนในโรงเรยนอนุบาลถือเป้นสวนหนึ่งของการศึกษาในระบบ ขณะที่การเรียนรู้จากการเล่นเป็นกลุ่มนั้นจะเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษานอกระบบ การจัดการศึกษาปฐมวัยนี้เป็นการจัดการศึกษาให้กับเด็กอายุระหว่าง 4-6 ขวบ ระยะเวลาเรียน 1-2 ปี ขณะที่การเรียนรุ้โดย "การเล่ินเป็นกลุ่ม" จัดให้เด็กอายุ 3 ขวบ และต่ำกว่า 3 ขวบ
ถ้าตามพระราชบัญญัติการศึกษาปี 2003 จะแบ่งระดบการศึกษาในโรงเรียนออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา การศึกาาระดับอุดมศึกษา
การศึกษาขั้นพ้นฐานเป็นการศึกษาภาคบังคัยมี 3 ระดับ ได้แก่ โรงเรียนประถมศึกษา ให้การศึกษาขั้นพื้นฐาน 6 ปี สำหรับนักเรียนอายุ 7-12 ปี, โรงเรียนมะธยมศึกษาตอนต้น จัดกาศึกษา 3 ปี สำหรับนักเรียนอายุ 13-15 ปี, โรงเรียนพิเศษจัดการศึกษาสำหรับนักเรียนที่มีปัญหาความผิดปกติทางด้น
ร่างกายและจิตใจ
การศึกษาขั้นพื้นฐานมีเป้าหมายเพื่อพัฒนานักรเียนให้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นสมาชิกของสังคม พลเมือง และมนุษยชาติโดยรวมทั้งสามาถศึกษาต่อได้ในระดับสุงต่อไป
เวียดนาม ประเทศเวียดนามต้องการจะพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนชาวเวยดนามให้ดีขึ้นทัดเทียมอารยประเทศและเพื่อแก้ไข ปรับปรุงจุดอ่อนของระบบการบริหารจัดการประเทศเวียดนามที่ใช้รูปแบบ โซเวียต โมเดล จึงได้ประกาศใช้นโยบาย Doi Moi Policy ในปี ค.ศ. 1986 และเร่ิมปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริหารจัดการต่างๆ ของเวียนดนามให้ดีขึ้น โดยในส่วนของระบบการจัดการศึกษา เวียดนามเร่ิมใช้กฎหมายการศึกษาฉบับแรก ในปี พ.ศ. 2533 เรียกว่า 1990 Law และปรับปรุงครั้งที่ 2 ในปี ค.ศ. 1998 (2551) ปัจจุบันเวียดนามใช้กฎหมาย การศึกษาฉบับ 2005 Law ซึ่งปรับปรุง เมื่อวันที่ กรกฎาคม 2553 (2010) อยู่ภายใต้หลัการและแนวคิด "Independent, Freedom and Happiness" แบ่งลักษณะของการจัดการศึกษาไว้ 4 ลักษณะ คือ
1. การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา เป็นการเตรียมความพร้อมด้าน ร่างกาย อารมณ์ สติปัญญา และศิลปะ ประกอบด้วยการเลี้ยงดูเด็ก สำหรับเด็กอายุ 3 เดือน- 6 ปี และอนุบาลสำหรับเด็กอายุ 3-5 ปี เป็นการศึกษาภาคลังคับที่เร่ิมต้น ตามกฎมหาย
2. การศึกาาสามัญ แบ่งเป็นระดับต่างๆ ดังนี้
- ระดับประถมศึกษาเป็นการศึกษาภาคลังคับ 5 ปี ชั้น 1-5 รับนักเรียนอายุ 6-11 ปี เพื่อพัฒนทักษะเพืนฐานของนักเรียน
- ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คือ ชั้น 6-9 กลุ่มนี้จะเรียนวิชาพื้นฐาน 13 วิชา
- ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คือชั้น 10-12 เป็นการศึกษาต่อเนืองจากระดับมัธยมศึกษาตอนต้น แต่จะเจาะลึกและมีการสอบจบ ถ้าผ่านจะได้ใบประกาศ มีจุดประสค์เพื่อเตรียมนักเรียนเข้ามหาวิทยาลัย
3. การศึกษาด้านเทคนิคและอาชีพ มีเทียงเคยงทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย เป้นการศึกษาที่เน้นการประกอบอาชีพ แบ่งเป็น 2 ระดับ
4. การศึกษาระดับอุดมศึกา แบ่งเป็นระดับอนุปริญญา และระดับปริญญา โดยระดับปรญญา เรียน 4 ปี ระดับบัณฑิตศึกษา(ปริญญาโท) และระดับปริญญาเอก..
ทั้งนี้ในการศึกาาสามัญ 12 ปี ของเวียดนามนั้นเวียดนามมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนได้มีวิญญาณในกความเป็นสังคมนิยม มีเอกลักษณ์ประจำชาติ และมีความสามารถในด้านอาชีพ...
- บางส่วนจาก บทความ เรื่อง "การจัดการการศึกษาในประชาคมอาเวียน และคู่เจรจา : สิงคโปร์ บรูไน ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย เวียดนาม พม่า และลาว : จีน อินเดีย ญี่ปุ่น และนิวซีแลนด์
วันศุกร์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2560
ASEAN Education development : Part 3
..การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน โดยใช้วิธีเปรียบเทียบเชิงสหวิยาการของจอร์ช เบอร์เรเดย์ ซึ่งแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ ตอนที่ 1 การศึกษาเฉพาะที่ มี 2 ขั้นตอน คือ การขั้นตอนการบรรยายหรือพรรณนา และขั้นตอนการตีความ และ ตอนที่มี 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการบรรยาย ขั้นตอนการแปลความ ขั้นตอนการเทียบเคียง และขั้นตอนการเปรียบเทียบ...
.. ตอนที่ 2 กรศึกาาเชิงเปรีบเทียบ การรวบรวมข้อมุลที่เกียวกับจุดเด่นของนธยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน มีผลการวิจัน 4 ขั้นตอนดังนี้
- นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเวียนมีจุดเด่นทีคล้ายกันคือ การขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง การยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดรับกับความก้าวหน้าทางวิทยาศสตร์และเทคโนโลยี
- องค์ประกอบต่างๆ มีผลต่อระบบการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนที่ส่งผลทำให้ระบบการศึกษามีความแตกต่างกันคือ การเคยเป้ฯประเทศในอาณานิคมของต่างชาติ ศาสนาประจำชาติ จำนวนประชากร ผลิตภัฒฑ์มวลรวมในประทเศ และอันดับอัตราเฉพลี่ยการรุ้หนังสือของประชากร
2.1 ขั้นตอนการเปรียบเทียบ
2.1.1 การจัดระบบข้อมูลที่จะเปรยบเทียบกัน ผู้วิจัยได้ดำเนินการจัดระบบข้อมูลเพื่อใช้สำหรับการเปรียบเทียบ ซึ่งได้กำหนดประเด็นไว้ในขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2 ซึ่งได้แก่ ประเด็นจุดเด่นข้อมูลนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน และประเด็นองค์ประกอบต่างๆ ทีมีผลต่อระบบการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเวียน
2.1.2. การวางหลักเกณฑ์ที่จะนำมาเปรียบเทียบ ผู้วิจัยได้ดำเนินการวางหลักเกฑณ์ที่จะนำมาเปรียบเทียบ โดยได้ดำเนินการศึกษาเปรียบเทียบข้อมูบนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกาาของประเทศในประชาคมอาเซียน
2.1.3 การตั้งสมมติฐาน ผู้วิจัยได้ดำเนินการตั้งสมมติฐานเพื่อใช้สำหรับเป้นแนวทางในการศึกษาเปรียบเทียบนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนดังนี้
2.1.3.1 ปรเทศในประชาคมอาเซียนที่มีระบบการเมืองการปกครองต่างกันส่งผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีความต่างกัน
2.1.3.2 ประเทศในประชาคมอาเซีนทีมีสภาพทางภูมิศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรม จำนวนประชากร และสภาพการณ์ทางเศรษบกิจต่างกัน ส่งผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีความแตกต่างกัน
2.2 ขั้นตอนการเปรียบเทียบ
2.2.1 ประเทศในประชาคมอาเวียนที่มีระบอบการเมืองการปกครองต่างกัน สงผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกาามีความต่างกันซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้ จากการศึกษาพบว่า ประเทศในประชาคมอาเซียนส่วนใหย๋มีระบอบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยคิดเป็นร้อยละ 60 ของประเทศในประชาคมอาเซียนทั้งหมด ซึ่งประเทศที่มีระบอบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยจะกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่เน้นในเรื่องการยกระดับมาตรฐานคุณภาพทางการศึกาาแลการปฏฺิรูปโครงกสร้างและการบริหารจัดการการศึกษา ส่วนประเทศที่มีระบอบการปกครองในระบอบอื่นๆ จะเน้นการกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่เน้นการกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่เน้นในเรื่องความเสมอภาคการขยายโอกาศทางการศึกษาให้ทั่วถึง การเติมเต็มความต้องการแห่งชาติ รวมทั้งการกำหนดนโยบรายการศึกษาให้เป็นยุทธศาสตร์สำคัญส่วนหนึ่งของประเทศเป็นหลัก
2.2.2 ประเทศในประชาคมอาเซียนที่มีสภาพทางภมูิศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรมจำนวนประชากร และสภาพการณ์ทางเศณาฐกิจต่างกัน ส่งผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีความแตกต่างกัน ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้ จากการศึกษาพบว่า ประเทศในประชาคมอาเซียนส่วนใหญ่มีสภาพทางภุมิศาสตร์ที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรทางธรรมชาตจิ สภาพภูมิอากาศอยู่ในเขตร้อยชื้น ฝนตกชุก ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรมประชากรในภูมิภาคส่วนใหญ่นับถือศษสนาอิสบามพัฒนการทางด้านเศรษฐกิจอยู่ในประเทศที่กำลังพัฒนา ประชากรในภุมิภาคยังมีความยากจน อัตราเฉลี่ยการรู้หนังสือของประชากรยังอยู่ในระดับค่อนข้างต่ำส่งผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจะเน้นในเรื่องเสรีภาพในการเข้ารับการศึกษโดยเสรีอย่งทั่วถึงโดยไม่เสียค่าใช้
จ่าย แต่ในขณะเดียวกันนโยบายการพันาคุณภาพการศึกษาจะแตกต่างกันในเรื่องความพร้อมและศักยภาพทางด้านการระดมทุนทั้งวบประมาณและทรัพยากรสนับสนุนอื่นๆ นอกจากนี้ ประเทศในประชาคมอาเซียนส่วนใหญ่ได้รับอทธิพลการปกครองที่เคยเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตกมาก่อนอย่งยาวนาน ดังนั้น จึงทำให้ยังคงมีรูปแบบวัฒนธรรมความเป้ฯอยุ่ที่มีลักษณะเฉพาะของตนเองส่งผลทำให้การกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษายังคงยึดแบบอย่างตามรูปแบบประเทศตะวันตก เ่น ระบบการศึกษา การรวมศูนย์อำนาจทางการศึกาาอยู่ที่ส่วนกลาง และหลักอุดมกาณ์แห่งชาติ เป็นต้น..
...บางส่วนจาก งานวิจัย "นโยบายการพัฒนคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนโดยใช้วิธีการศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช เบอร์เรเดย์" โดย จุมพล ยงศร, จาก วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2554) , หน้า43-58.
.. ตอนที่ 2 กรศึกาาเชิงเปรีบเทียบ การรวบรวมข้อมุลที่เกียวกับจุดเด่นของนธยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน มีผลการวิจัน 4 ขั้นตอนดังนี้
- นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเวียนมีจุดเด่นทีคล้ายกันคือ การขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง การยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดรับกับความก้าวหน้าทางวิทยาศสตร์และเทคโนโลยี
- องค์ประกอบต่างๆ มีผลต่อระบบการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนที่ส่งผลทำให้ระบบการศึกษามีความแตกต่างกันคือ การเคยเป้ฯประเทศในอาณานิคมของต่างชาติ ศาสนาประจำชาติ จำนวนประชากร ผลิตภัฒฑ์มวลรวมในประทเศ และอันดับอัตราเฉพลี่ยการรุ้หนังสือของประชากร
2.1 ขั้นตอนการเปรียบเทียบ
2.1.1 การจัดระบบข้อมูลที่จะเปรยบเทียบกัน ผู้วิจัยได้ดำเนินการจัดระบบข้อมูลเพื่อใช้สำหรับการเปรียบเทียบ ซึ่งได้กำหนดประเด็นไว้ในขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2 ซึ่งได้แก่ ประเด็นจุดเด่นข้อมูลนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน และประเด็นองค์ประกอบต่างๆ ทีมีผลต่อระบบการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเวียน
2.1.2. การวางหลักเกณฑ์ที่จะนำมาเปรียบเทียบ ผู้วิจัยได้ดำเนินการวางหลักเกฑณ์ที่จะนำมาเปรียบเทียบ โดยได้ดำเนินการศึกษาเปรียบเทียบข้อมูบนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกาาของประเทศในประชาคมอาเซียน
2.1.3 การตั้งสมมติฐาน ผู้วิจัยได้ดำเนินการตั้งสมมติฐานเพื่อใช้สำหรับเป้นแนวทางในการศึกษาเปรียบเทียบนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนดังนี้
2.1.3.1 ปรเทศในประชาคมอาเซียนที่มีระบบการเมืองการปกครองต่างกันส่งผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีความต่างกัน
2.1.3.2 ประเทศในประชาคมอาเซีนทีมีสภาพทางภูมิศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรม จำนวนประชากร และสภาพการณ์ทางเศรษบกิจต่างกัน ส่งผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีความแตกต่างกัน
2.2 ขั้นตอนการเปรียบเทียบ
2.2.1 ประเทศในประชาคมอาเวียนที่มีระบอบการเมืองการปกครองต่างกัน สงผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกาามีความต่างกันซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้ จากการศึกษาพบว่า ประเทศในประชาคมอาเซียนส่วนใหย๋มีระบอบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยคิดเป็นร้อยละ 60 ของประเทศในประชาคมอาเซียนทั้งหมด ซึ่งประเทศที่มีระบอบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยจะกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่เน้นในเรื่องการยกระดับมาตรฐานคุณภาพทางการศึกาาแลการปฏฺิรูปโครงกสร้างและการบริหารจัดการการศึกษา ส่วนประเทศที่มีระบอบการปกครองในระบอบอื่นๆ จะเน้นการกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่เน้นการกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่เน้นในเรื่องความเสมอภาคการขยายโอกาศทางการศึกษาให้ทั่วถึง การเติมเต็มความต้องการแห่งชาติ รวมทั้งการกำหนดนโยบรายการศึกษาให้เป็นยุทธศาสตร์สำคัญส่วนหนึ่งของประเทศเป็นหลัก
2.2.2 ประเทศในประชาคมอาเซียนที่มีสภาพทางภมูิศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรมจำนวนประชากร และสภาพการณ์ทางเศณาฐกิจต่างกัน ส่งผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีความแตกต่างกัน ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้ จากการศึกษาพบว่า ประเทศในประชาคมอาเซียนส่วนใหญ่มีสภาพทางภุมิศาสตร์ที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรทางธรรมชาตจิ สภาพภูมิอากาศอยู่ในเขตร้อยชื้น ฝนตกชุก ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรมประชากรในภูมิภาคส่วนใหญ่นับถือศษสนาอิสบามพัฒนการทางด้านเศรษฐกิจอยู่ในประเทศที่กำลังพัฒนา ประชากรในภุมิภาคยังมีความยากจน อัตราเฉลี่ยการรู้หนังสือของประชากรยังอยู่ในระดับค่อนข้างต่ำส่งผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจะเน้นในเรื่องเสรีภาพในการเข้ารับการศึกษโดยเสรีอย่งทั่วถึงโดยไม่เสียค่าใช้
จ่าย แต่ในขณะเดียวกันนโยบายการพันาคุณภาพการศึกษาจะแตกต่างกันในเรื่องความพร้อมและศักยภาพทางด้านการระดมทุนทั้งวบประมาณและทรัพยากรสนับสนุนอื่นๆ นอกจากนี้ ประเทศในประชาคมอาเซียนส่วนใหญ่ได้รับอทธิพลการปกครองที่เคยเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตกมาก่อนอย่งยาวนาน ดังนั้น จึงทำให้ยังคงมีรูปแบบวัฒนธรรมความเป้ฯอยุ่ที่มีลักษณะเฉพาะของตนเองส่งผลทำให้การกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษายังคงยึดแบบอย่างตามรูปแบบประเทศตะวันตก เ่น ระบบการศึกษา การรวมศูนย์อำนาจทางการศึกาาอยู่ที่ส่วนกลาง และหลักอุดมกาณ์แห่งชาติ เป็นต้น..
...บางส่วนจาก งานวิจัย "นโยบายการพัฒนคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนโดยใช้วิธีการศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช เบอร์เรเดย์" โดย จุมพล ยงศร, จาก วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2554) , หน้า43-58.
วันพฤหัสบดีที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2560
ASEAN Education development : Part 2
1. ศึกษาเอกสาร ตำรางานวิจัยและเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน รวมทั้งสิ้น 10 ประเทศ
2. ดำเนินการศึกษานโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนรวมทั้งสิ้น 10 ประเทศ แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ตอน ดังนี้
2.1 การศึกษาเฉพาะที่ เป็นการบรรยายถึงสภาวะทางการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซยน .โดยยังมิได้มีการนำไปศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศใด ๆ โดยมีขั้นตอนการศึกษาดังนี้
2.1.1 ขั้นตอนที่ 1 การบรรยายหรือพรรณนา เป็นขั้นตอนการบรรยายเพื่อรวบรวมข้อมุลททางการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน โดยไม่ได้พิจารณาสภาพแวดล้อมอื่นๆ ซึ่งจะพิจารณารวบรวมข้อมูลจากงานวิจัย รายงานของหน่วยราชการ รายงานการประชุม หนังสือ วารสาร และเว็บไซต์ ฯลฯ
2.1.2 ขั้ตอนที่ 2 การตีความ เป็นขั้นตอนการตีความข้อมุลต่างๆ ที่บรรยายไว้ในขั้นตอนที่ 1 มาอธิบายโดยอาศัยความรุ้จากศาสตร์ แขนงอื่นๆ เช่น การวิเคราะห์ข้อมูลทางการศึกษาในแว่ประวัติศาสตร์ การเมืองาการปกครอง เศรษฐศาสตร์หรือในแง่สังคมและวัฒนธรรม เป็นต้น
2.2 การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ เป้นการนำข้อมูลเรื่องราวเกี่ยวกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเวยนรวมทั้งสิ้น 10 ประเทศ มาเปรียบเทียบและวิเคราะห์สรุปให้เห็นว่า นโยบาย การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศต่างๆ มีลักษณะคล้ายคลึงกัน หรือแตกต่างกันอย่างไร และสิ่งใดเป็นปัจจัยทีให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีความคล้ายคลึงกัน จากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากข้อ 2.1.1 และ 2.1.2 มาเทียบเคียง เพื่อตรียมการวิเคราะห์เปรียบเทียบในขั้นตอนต่อไปซึงมีกระบวนการ 4 ขั้นตอน ดังนี้
2.2.1 ขั้นตอนการบรรยาย เป้นขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน รวมทั้งสิ้น 10 ประเทศมาเปรียบเทียบกัน
2.2.2 ขั้นตอนการแปลความ เป้นขั้นตอนการอธิบายข้อมูลต่างๆ ที่ได้มาจากข้อที่ 2.2.1 โดยวิธีเชิงสหวิทยาการมาอธิบายองค์ประกอบที่มีผลกระทบต่อระบบการศึกษาของประเทศนั้นๆ
2.2.3 ขั้นตอนการเทียบเคียง เป็นขั้นตอนการจัดระบบข้อมูล กำหนดหลักเกณฑ์ และการตั้งสมมติฐานเพื่อวิเคราะห์ในเชิงเปรียบเทียบ
2.2.4 ขั้นตอนการเปรียบเทียบ เป็นขั้นตอนการวิเคราะห์เปรียบเทียบ โดยนำประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเวียน รวมทั่งสิ้น 10 ประเทศมาเปรียบเทียบพร้อมๆ กัน เพื่อพิสูจน์สมมติฐานและทำการสรุปผลการศึกษา
1 การศึกษาเฉพาะที่ ขั้นตอนที่ 2 การตีความ อธิบายโดยกาศัยความรู้จากศาสตร์แขนงอื่นๆ มีการตีความข้อมูลต่างๆ ที่บรรยายไว้ในขั้นตอนที่ 1
การตีความข้อมูลทางการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน
- ประเทศไทย การจัดการศึกษามีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยโบราณ ด้วยความเชื่อที่ว่าการศึกาาช่วยกำหนดทิศทางของชาติ เพื่อพัฒนาคนไทยและประเทศให้เจริญก้าวหน้า การจัดการศึกษาของไยมีวิวัฒนาการมาโดยตลอด โดยมีปัจจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลง กล่าวคือ ปัจจัยภายในเกิดจากความต้องการพัฒนาสังคมให้มีความเจริญและทันสมัย ส่วนปัจจัยภายนอกเกิดจากกระแสความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ทั้งด้านเศรษบกิจและการเมือง ตลอดจนการติดต่อสื่อสารกันทำให้ประเทศไทยต้องปรับตัวให้ทันสมัย เพื่อความอยู่รอดและประเทศได้เกิดการพัฒนาให้ทัดเทียมกับนานาประเทศ ด้วยเหตุผลที่กล่าวมาทำให้การจัดการศึกษาของไทยมีวิวัมฯาการเรื่อยมา ซึ่งเป็นปัจจัยที่ช่วยเสริมความเจริญก้าวหน้าทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของชาติให้มั่นคงและเจริญก้าวหน้า
- สาธารณรัฐอินโดนีเซีย การศึกษามีรากฐานจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2488 เมื่อได้ประกาศอิสรภาพจัดตั้งสาธารณรับ เพ่อให้บรรลุเป้าหมายของรัฐดังที่ปรากฎในหลักปัญจศีล ในการรวมศูนย์อำนาจ กับการคงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมตามความต้องการของกลุ่มชนที่หลากหฃลายในสังคมและความต้องการร่วมกัน ในการพัฒนาเศราบกิจและสังคมด้านต่างๆ ซึ่งปฏิสัมพันธ์ระหว่าศาสนากับการจัดการศึกาานั้นเป้นลักษระเด่นเฉพาะของอิโดนีเซีย ในการักษาปฏิสัมพันะ์ระหว่างการศึกษากับศาสนาแบบดั้งเดิมของศาสนาอิสลามซึ่งกลายมาเป็นศาสนาอิสลามซึ่งกลายมาเป็นศาสนาของชนส่วนใหญ่ในประเทศ หลังจากสิ้นอาณาจักรมัชปาหิตในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่มีต่อรัฐชาติที่เกิดจากการปลดปล่อยตนเองจากลัทธิล่าอาณานิคม และเป้นรัฐชาติที่มีลักษระเป็น "พหุสังคมขนาดใหญ่" ด้านอาณาบริเวณทางภุมิศาสตร์ที่กระจายอย่างกวางขวาง ซึ่งพยายามปรับตัวอยุ่ในโลกยุปัจจุบัน
- สหพันธรัฐมาเลเซีย อยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษมาตั้งแต่ พ.ศ. 2485-2500 เป็นเวลานานถึง 15 ปี ถึงแม้ว่าในปัจุบันมีการปกครองแบบระบอบประชาธิปไตยโดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นผุ้นำด้านการบริหารของประเทศและมีสุลต่านต่างๆ ปกครองดูแลรัฐต่างๆ ยกเว้นเกาะปีนัง มะละก ซาบาร์ และซาราวัค โดยมีพระราชธิบดีเป็นประมุขของประเทศ แต่การอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษนานถึง 15 ปี ย่อมมีผลต่อความคิดเห็นการศึกษาและวิถีการดำเนินชีวิตของชาวมาเลเซีย ตังนั้นการจัดการศึกษาและการปฏิรูปการศึกษาจึงยังใช้ระเบียบแบบแผนของประเทศอังกฤษ อย่างไรก็ตาม มาเลเซยเป้นประเทศที่มีประชากรนับถือศาสนาอิสลามเป็นส่วนใหญ่ในสถาบันการศึกษาจึงได้รับอิทธิพลของศาสนาอิสลาม
- สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ การจัดการศึกาาในอดีตเน้นการศึกษาในลักาณะไม่เป้นทางการแบบประเทศสเปนโดยปราศจากโครงสร้างที่ชัดเจนรองรับและขาดแคนระเบียบวิธีการต่างๆ ในการเรียนการสอน ตรอบจนมีการตรากฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาใน พ.ศ. 2406 ซึ่งอนุญาตให้มีการจัดตั้งโรงเรียนประถมศึกษาสำหรับเด็กชายและหญิงในเมืองต่างๆ ภายใต้การรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถ่ิน กฎหมายดังกล่าวกำหนดให้ชาวฟิลิปปินส์ทุกคนไ้รับเสรีภาพในการเข้ารับการศึกษาโดยเสรีไม่เสียต่าใช้จ่ายใดๆ การสานตอแนวคิดและหลัการ่าด้วยเสรีภาพในการเข้ารับการศึกษาโดยเสรีไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ นี้ยังคงสานต่อมาจนถึงปัจจุบัน
- สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป้ฯประเทศที่เล็กที่สุดประเทศหนึ่ง ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติมากเหมือนประเทศอื่นแต่มีฐนะทางเศรษฐกิจดี เพราะมีพัฒนาเศรษฐกิจด้านการค้า โดยเป็นประเทศกลางในการขายสินค้ามีท่าเรือขส่งสินค้าปลอดภาษี ทำให้สินค้าที่ผ่านทางสิงคโปร์มีราคาถูก ที่ท่าเรื่อน้ำลึกขนาดใหญ่ และทันสมัยที่สุดในโลกประเทศหนึ่ง มีประชากรน้อยจึงต้องพึ่งพาเรงงานจากต่างชาติในทุกระดับ เป็นประเทศที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาระบบการศึกาามาตั้งแต่เร่ิมได้ับอิสรภาพจากระบอบการปกครองแบบอาณานิคมของอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2508 ทุ่มเทการลงทุนในการจัดระบบการศึกาาและระดับประสิทธิภาพทางการศึกษาในทุกระดับในลักษณะที่พยายามสร้างความเป็นธรรมและความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองเพื่อป้องกันความแตกแยกในสังคม เพื่อให้สิงโปร์เป็นศูนย์กลางอุดมศึกษาระดับสากลแห่งภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก
- รัฐบรูไนดารุสซาลาม เป็นประเทศซึงมีขนาดเล็กที่สุดทั้งในด้านขอบเขตทางภุมิศาสตร์และจำนวนประชากรแต่มีความมั่งคั่งด้วยระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีภายใต้การกำกับดูแลของรัฐและเป็นประเทศเดียวในกลุ่มอาเซียนที่อยู่ภายใต้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อย่างเต็มรูปแบบ ในพ.ศ. 2449 บรูไนได้ลงนามในสนธิสัญญายินยอมอยู่เป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษอย่างเต็มรูปแบบ เร่ิมมีระบบการศึกษาอย่างเป็ทางการใน พ.ศ. 2459 ด้วยการเปิดโรงเรียนภาษาพื้นเมืองมาเลย์ในเมืองหลวงคือ กรุงบันดาเสรีเบกาวัน ด้วยข้อจำกัดในลักณะของการับเฉพาะเด็กนักเรียนชาย อายุระหว่าง 7-14 ปี บรูไนไม่มีการจัดทำแผนการพัฒนการศึกษาแห่งชาติ หากแต่ให้เป็นส่วนหนึ่งในแผนพัฒนาประเทศระยะ 5 ปี ซึ่งในแผนพัฒนาประเทศฉบับแรกเมื่อ พ.ศ. 2497 นั้น สาระที่เกี่ยวข้องเป็นการมุ่งเน้นสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกและโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ จนเป็นที่มาของการจัดตั้งกระทรวงการศึกษาของประเทศ ต่อมาใน พ.ศ. 2528 ได้มีการพัฒนานโยบายและระบบการศึกษาแห่งชาติในลักษณะที่อำนวยให้ประชาชนและผุ้ทีพำนักอาศัยอยู่ในประเทศบรูไนอย่างถาวรสามารถเข้าศึกษาเล่าเรียนในโรงเรียนระดับประถมของรัฐโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น
- สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เป้นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ของการต่อสุ้อันยาวนานเคยอยู่ายใต้การปกครองของฝรั่งเศส ทำให้ได้ับวัฒนธรรมของฝรังเศสไว้หลายประการ จากการเป็นประเทศที่มีประชากรอยุ่กันอย่างหนาแน่น ผ่านการทำสงครามภายในประเทศเป็นเวลานาน ด้วยความแข็งตัวของระบบเศรษฐกิจแบบควบคุมอยู่ที่ศูนย์กลาง ทำให้เวียดนามต้องใช้เวลานานในการฟื้นตัวและเปลี่ยนจากระบบเศรษฐฏิจแบบควบคุมเข้มงวด มาเป็นระบบตลาดเพื่อก้าวพ้นจากปัญหาความยากจนและเพรือเพิ่มศักยภาพทางเศราฐกิจโดยมีการศึกษาเป็นยุทธศาสตร์สำคัญส่วนหนึ่งของประเทศ
- สาะารณรับประชาธิปไตยประชาชนลาว บริบททางการศึกษาไม่ว่าจะเป้ฯลักษระที่ตั้ง และสภาพภูมิศาสตร์ องค์ประกอบของประชากร สภาพทางเศราฐกิจและสังคมมีผลกระทบต่อการจัดการศึกษาของประเทศเป้นอย่างมาก นับตั้งแต่ที่ได้สถาปนาเป้นประเทศเอกราชใน พ.ศ. 2518 จากการปกครองของฝรั่งเศส ได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาเรื่อยมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประถมศึกษา เทคนิคศึกาา และการรู้หนังสือของประชาชน ประชาชนมีอาชีพจำกัดและยากจน ประชากรประกอบดวยชนเผ่าต่างๆ มากกว่า 50 ชนเผ่า และมีความแตกต่างในเรื่องจารีตประเพณีและควมเชื่อถืออยู่อย่งกรจัดกระจายเป็นกลุ่มเล็กกลุ่มน้อย ดังนั้น จึงทำให้การจัดการศึกษายากยิ่งขึ้น นอกจากนั้นการเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจใหม่เป้ฯเศรษฐกิจการตลาด ทำให้เกิดความจำเป้นในการปฏิรูปหรือปรับเปลี่ยนแนวการจัดการศึกษาในทุกๆ ด้านเพราะจะต้องให้สอดคล้องกับระบบเศราฐกิจและสังคมของประเทศ
- สหภาพเมียนม่า ตั้งแต่ในสมยโบราณสังคมให้ความสำคัญกับการศึกษาอย่างมาก โดยเฉพาะในสมัยก่อนการศึกษาในวัดเป็นส่ิงที่นิยมและทำให้อัตราการรู้หนังสือของประชาชนอยุ่ในระดับดี แต่เมื่อเข้าถึงสมัยการปกครองโดยอังดฤ อัตราการรู้หนังสือลดต่ำลงเนื่องจากผุ้ปกครองไม่ให้ความสใจมากนัก แต่ยังมีความพยายามในหมูผุ้รู้หนังสือโดยเฉพาะหลังจาก พ.ศ. 2491 ในแนวทางการส่งเสริมด้านการศึกษา เด็กต้องเข้าโรงเรียนซึ่งเป็นบริการที่รัฐมีให้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายทั้งนี้ เป้นไปตามกฎหมายกาศึกษาพื้นฐานและกฎหมายการศึกษาของสหภาพเมียนม่า ทั้งนี้ ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การเรียนการสอนในวัดยังเป็นแหล่งความรู้สำคัญสำหรับประชาชนในพื้นที่ห่างไกล
- ราชอาณาจักรกัมพุชา ให้ความสำคัญกับการพัฒนาการศึกษาตั้งแต่ได้รับเอกรชจากประเทศฝรั่งเศสเมื่อ พ.ศ. 2496 ซึ่งจากการเปลียนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจสังคม จึงนำไปสู่การปฏฺรูปการศึกษา รัฐบาลภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปใน พงศ. 2536 ตามข้อตกลงปารีสได้ให้ความสำคัญแก่การพัฒนาการศึกษามากขึ้น โดยมีความพยายามในการส่งเสริมการศึกาานอกระบบและการศึกษาภาคเอกชนในต่างจังหวัดเสมือนประเทศเสรีนิยมทั่วไป โดยกำหนดให้การศึกษาเป้นสวนหนึ่งของเป้าหายในการลดปัญหาความยากจนของประเทศเพื่อยกระดับศักยภาพการแข่งขันทางเศราฐกิจของประเทศสู่ระดับสากลซึ่งมีทรัพยากรมนุษย์เป็นฐาน..
บทความ "นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนโดยการใช้วธีกาศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช เบอร์เดย์", จุมพล ยงศร, วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช ปีที่ 24 , ฉบับที่ 1 ( ม.ค.-มิ.ย. 2554), หน้า43-58.
วันพุธที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2560
ASEAN Education development
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน กล่าวคือ
- ประเทศไทย ปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ โดยปฏิรูปโครงสร้างและการบริการจัดการระดมทรัพยากรเพื่อการปปรับปรุงการบริหารจัดการศึกษา ส่งเสริมให้ภาคเออกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา จัดให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี 15 ปี ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกาษ ระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาไปสู่ความเป็นเลิศ ปรับปรงระบบการบริหารจัดการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชานใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงสร้างสรรค์อย่างชาญฉลาด เร่งรัดการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้อย่างบูรณาการในทุกระดับการศึกษาและในชุมชน
- ประเทศสามะารณรัฐอินโดนีเซีย ความเสมอภาคโอกาศทางการศึกษา การตอบสนองความจำเป้ฯทางการศึกษาคุณภาพของการศึกษา และประสิทธิภาพของการศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบของการศึกษา มุ่งเน้นการสร้างบุคลิกภาพและองค์ประกอบของความสามารถในด้านต่างๆ ของทรัพยากรฒนุษย์ สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา และเพื่อสร้างความมั่นใจทุกคนไม่ว่่าจะเป็นเพศใด จะมีฐานะยากจนอยู่ห่างไกลความเจริญหรือเป็นผู้อ้อยโอกาสทางสังคม ต้องได้รับการศึกษาขันพื้นฐานภาคบังคับ
- สหพันธรัฐมาเลเซีย ระบบการศึกษาแห่งชาติเป็นระบบการศึกษาที่มีคุณภาพระดับสากล ึดถือนโยบายการศึกษาแห่งชาติเป็นนโยบายพื้นฐานสำหรับพัฒนาการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษาระดับประถมศึกษาคือ 5-7 ปี ให้การศึกษาก่อนวัยเรียนบรรจุอยุ่ในการศึกษาสายสามัญแห่งชาติ มุ่งเน้นการพัฒนากำลังคนให้มีควารู้ความสามารถ มีทัพษะเพียงพอตอความต้องกรของประเทศซึ่งกำลังเติบโตทางเศราฐกิจอย่างรวดเร็วการขยายโอากาสทางการศึกษาให้เท่าเทียมกันทั่วประเทศ ทั้งนี้กระบวนการที่จำนำไปสู่ความสำเร็จ จะต้องยึดหลักอุดมกาณ์แห่งชาติ "rukunegara" 5 ประการได้แก่ เชื่อมั่นในพระผุ้เป็นเจ้า, จงรักภักดีต่อกษัตริย์และชาติ, ยึดมั่นในรัฐธรรมนูย, ปฏิบัติตามหลักกฎหมาย และประพฤติตนอย่างมีศีลธรรมและคุณธรรม
- สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ การสร้างความแข็งแกร่งในด้านการศึกษาให้เป็นภาระผูกพันต่อรัฐบาล กำหนดให้เป็นหน้าที่ของรัฐในการจัดวบประมาณด้านการศึกษา จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับขั้นพื้นฐานไปจนถึงระดับอุดมศึกษาให้แก่ประชาชนโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ย ให้ความสำคัญต่อการเพ่ิมทุนทั้งหมดไปที่มนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการศึกาา สนับสนุนให้การศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณภาพ โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ การศร้างทักษระความเชี่ยวชาญทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร พร้อมทั้งขวายช่องทางให้กับผุ้มีรายได้น้อยในเรื่องการศึกษานอกระบบและการฝึกอบรมด้านเทคนิคและวิชาชีพเ้นหลักการเรียนตลอดชีวิตให้เข้าถึงประชาชนในพื้นที่ต่างๆ ตลอดจนผุ้พิการและผุ้ที่เสียเปรียบในสังคม เน้นการยกระดับหลักสูตรและเทคนิคในการฝึดอบรมครูผู้สอน ทักษะและกระบวนการบริหารจัดการวางแผนและกำกับดูแลโครงการต่างๆ โดยอาซัยการมีส่วนร่วมจากชุมชน
- สาธารณรัฐสิงคโปร์ ยกระดบมาตรฐานการศึกษาของคนในชาติสู่ระดับสากลโดยใช้กระบวนการเรียนการสอนควบคุ่ไปกับผลลัพธ์ทางการศึกษาทั้งด้านคุณภาพ และสมรรถภาพ เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความสามารถอันหลากหลายของผุ้เรียนมากยิ่งขึ้น เน้นจิตสำนึกและแรงจูงใจในการใฝ่เรียนรู้ด้วยสัมฤทธิผลหรือความสำเร็จทางการษึกษาของผุ้เรียนแต่ละคน การทุ่มทรัพยากรด้านเงินทุนทางการศึกษามากขึ้น การเน้นการบริหารจัดการแบบรวมศุนย์ การมีหลักสูตรการเรียนการสอนที่เข้มข้น การเปลี่ยนจากการประเมินจากภายนอกสู่การเน้นประเมินจากภายในแต่ละโรงเรียนและสถาบันการศึกษาด้วยความถี่มากขั้นเพื่อให้สาถนศึกษารูจักตนเองมากขึน การส่งเสริมแรงสนับสนุนอย่างแข็งขันจากครอบครัวของผุ้เรียนการพัฒนากำลังคนด้านบุคลากรทางการสอนโดยเน้นการฝึกอบรม เพื่อให้พัฒการทางการศึกษาก้าวไปอย่างมั่นคงมากขึ้น
- รัฐบรูไนดารุสซาลาม มุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากนี้ ยังให้ความสำคัญในเรื่อง อีเลินนิ่ง โดยได้ดึงเข้ามาเป้นส่วนหนึ่ของยุทธศาสตร์การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ดำเนินการให้ระบบการศึกษาทุ่งให้ความสำคัญต่อากรใช้ภาษามาเลย์เปนภาษาทางการประจำชาติ ควบคู่ไปกับการใช้ภาษาสำคัญอื่น ๆ เช่น ภาษาอังกฤษ และภาษาอาหรับเป้นภาษาที่สอง เป็นต้น จัดการศึกษาให้กับนักรเียนทุกคนเป็นระยะเวลา 12 ปี จัดหาหลักสูตรบูรณาการจัดการศึกษาศาสนาอิสลามในหลักสูตรการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลัก Ahli
Sannah Wal-Jamaah จังหวัดวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ สำหรบการเรียนการสอน เพื่อให้เด็กนักรียนได้รับความรุ้และความชำนาญ จัดหาโปรแกรมการเรียนรู้ที่หลากลายผ่านกิจกรรมและหลักสูตรร่วมต่างๆ ให้สอดคล้องกับหลักปรชญาแห่งชาติ สร้างโอกาศในการศึกษาด้วยคุณวุฒิและประสบการณ์ที่เหมาะสม จัดหาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ทางการศึกาาให้ดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพื่อเติมเต็มความต้องการแห่งชาติ
- สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม การปรับปรุงคุณภาพของการศึกษาไปในทิสทางระดับสูงของโลก การให้ความสำคัญกับการอบรมบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีชั้นสูง การจัดทำเป้าหมายวิธีการ และหลักสูตรในทุกระดับ พัฒนาครูให้ตอบสนองกับการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ริเริ่มการจัดการทางการศึกษานอกระบบให้เป็นการขับเคลื่อนชุมชนไปสู่สังคมการเรียนรุ้ การลดอัตราการไมรุ้หนังสือในกลุ่มผุ้ใหญ่โดยเฉพาะในท้องถ่ินที่ห่างไกล การเปิดโอกาศให้ผุ้ทีทำงานแล้วได้รับการอบรมเรียนรุ้จากหลักสุตรสั้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต เพิ่มรายได้ และโอากสในการเปลี่ยนงาน เด็กนัอเรียนได้รับกาศึกาาโดยไ่ต้องเสียค่าใช้จ่ายตามมาตรฐาการศึกษาระดับนานาชาติ และการบริหารจัดการทางการศึกษาจะมีโครงสร้างและกระบวนการกระจายอำนาจที่ทันสมัย
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว การเข้าถึงการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน การยกระดับคุณภาพทางการศึกาาการปรับปรุงความเชื่อมโยงส่วนต่างๆ ในระบบการศึกษาให้สอดคล้องกัน การบริหาร จัดการและการวางแผนทางการศึกษาให้เเข็งแแร่งมากขึ้น การขยายจำนวนโรงเรียนระดบประถมศึกษาในพื้นที่ชนกลุ่มน้อยและพื้นที่ชนลบท การเพ่ิมอัตราการสรุ้หนังสือ การพัฒนาในแนวทางที่เรียกว่า การศึกษาสำหรับทุกคน การยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างจริงจังและการสร้างความร่วมมือระหว่าการึกษาในระบบโรงเรียนกับการศึกษาในสังคมและครอบครัว การปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาให้ทันสมัยในทุกระดบทั้งสามัญศึกษาและอาชีวศึกษาทั้งในส่วนของภาครัฐและในส่วนของภาคเอกชน ทั้งในและนอกระบบโรงเรียน ในลักษณะที่สอดรับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- สหภาพเมียนม่า การกำหนดแผนระยะยาว 30 ปี การทำระบบการศึกษาให้เอื้อต่อการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ในการพัฒนาชาติให้ทันสมัยสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยการเน้นสาระสำคัญ 6 ด้านได้แก่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การใช้เทคโนโลยีการขยายขอบเขตด้านการวิจัย การพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต การส่วเสริมการศึกษาคุณภาพ และการรักษาเอกลักษณ์และค่านิยมแห่งชาติให้คงอยู่
- ราชอาณาจักรกัมพูชา การกำหนดแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติในการขยายโอากศางการศึกาษาคุณภาพอย่างทั่วถึงประกอบด้วยแผนระยะสั้น แผนระยะกลาง และแผนระยะยาว เช่นการเปิดโอกาสศึกษาขั้นพื้นฐานให้เพิ่มสูงขึ้น การเพ่ิมขั่วโมงการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกาาการเพิ่มห้องเรียนและสถานที่เรียนในพื้นที่ขาดแคลน การเพ่ิมปริมาณและคุณภาพครูและการฝึกหัดครู เป้าหมายระยะยาวในการทำให้เด็กและเยาชนชาวกัมพุชาทุกคนได้รับโอกาสทางการศึกาาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง ทุกระดับสถานะทางเศรษฐกิจ ทุกเพศ ทุกพื้นที่ ทุกเชื้อชาติ แม้ผุ้พิการทางร่างกาย...
ที่กล่าวมานี้คือตอน ที่ 1 ของการทำวิจัย "นโยการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน โดยใช้วิธีการศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช เบอร์เรเดย์" โดยตอนนี้เป็นการศึกษาเฉพาะที่ โดยมี 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการบรรยายหรือพรรณนา และขั้นตอนการตีความ...
บทความการพัฒนการศึกษา จุมพล ยงศร, "นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนโดยใช้วิธีการศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช เบอร์เรเดย์", วารสานสุโขทัยธรรมาธิราช ปีที่ 24, ฉบับที่ 1 ( ม.ค.-มิ.ย. 2554) หน้า 43-58,
- ประเทศไทย ปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ โดยปฏิรูปโครงสร้างและการบริการจัดการระดมทรัพยากรเพื่อการปปรับปรุงการบริหารจัดการศึกษา ส่งเสริมให้ภาคเออกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา จัดให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี 15 ปี ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกาษ ระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาไปสู่ความเป็นเลิศ ปรับปรงระบบการบริหารจัดการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชานใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงสร้างสรรค์อย่างชาญฉลาด เร่งรัดการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้อย่างบูรณาการในทุกระดับการศึกษาและในชุมชน
- ประเทศสามะารณรัฐอินโดนีเซีย ความเสมอภาคโอกาศทางการศึกษา การตอบสนองความจำเป้ฯทางการศึกษาคุณภาพของการศึกษา และประสิทธิภาพของการศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบของการศึกษา มุ่งเน้นการสร้างบุคลิกภาพและองค์ประกอบของความสามารถในด้านต่างๆ ของทรัพยากรฒนุษย์ สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา และเพื่อสร้างความมั่นใจทุกคนไม่ว่่าจะเป็นเพศใด จะมีฐานะยากจนอยู่ห่างไกลความเจริญหรือเป็นผู้อ้อยโอกาสทางสังคม ต้องได้รับการศึกษาขันพื้นฐานภาคบังคับ
- สหพันธรัฐมาเลเซีย ระบบการศึกษาแห่งชาติเป็นระบบการศึกษาที่มีคุณภาพระดับสากล ึดถือนโยบายการศึกษาแห่งชาติเป็นนโยบายพื้นฐานสำหรับพัฒนาการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษาระดับประถมศึกษาคือ 5-7 ปี ให้การศึกษาก่อนวัยเรียนบรรจุอยุ่ในการศึกษาสายสามัญแห่งชาติ มุ่งเน้นการพัฒนากำลังคนให้มีควารู้ความสามารถ มีทัพษะเพียงพอตอความต้องกรของประเทศซึ่งกำลังเติบโตทางเศราฐกิจอย่างรวดเร็วการขยายโอากาสทางการศึกษาให้เท่าเทียมกันทั่วประเทศ ทั้งนี้กระบวนการที่จำนำไปสู่ความสำเร็จ จะต้องยึดหลักอุดมกาณ์แห่งชาติ "rukunegara" 5 ประการได้แก่ เชื่อมั่นในพระผุ้เป็นเจ้า, จงรักภักดีต่อกษัตริย์และชาติ, ยึดมั่นในรัฐธรรมนูย, ปฏิบัติตามหลักกฎหมาย และประพฤติตนอย่างมีศีลธรรมและคุณธรรม
- สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ การสร้างความแข็งแกร่งในด้านการศึกษาให้เป็นภาระผูกพันต่อรัฐบาล กำหนดให้เป็นหน้าที่ของรัฐในการจัดวบประมาณด้านการศึกษา จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับขั้นพื้นฐานไปจนถึงระดับอุดมศึกษาให้แก่ประชาชนโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ย ให้ความสำคัญต่อการเพ่ิมทุนทั้งหมดไปที่มนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการศึกาา สนับสนุนให้การศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณภาพ โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ การศร้างทักษระความเชี่ยวชาญทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร พร้อมทั้งขวายช่องทางให้กับผุ้มีรายได้น้อยในเรื่องการศึกษานอกระบบและการฝึกอบรมด้านเทคนิคและวิชาชีพเ้นหลักการเรียนตลอดชีวิตให้เข้าถึงประชาชนในพื้นที่ต่างๆ ตลอดจนผุ้พิการและผุ้ที่เสียเปรียบในสังคม เน้นการยกระดับหลักสูตรและเทคนิคในการฝึดอบรมครูผู้สอน ทักษะและกระบวนการบริหารจัดการวางแผนและกำกับดูแลโครงการต่างๆ โดยอาซัยการมีส่วนร่วมจากชุมชน
- สาธารณรัฐสิงคโปร์ ยกระดบมาตรฐานการศึกษาของคนในชาติสู่ระดับสากลโดยใช้กระบวนการเรียนการสอนควบคุ่ไปกับผลลัพธ์ทางการศึกษาทั้งด้านคุณภาพ และสมรรถภาพ เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความสามารถอันหลากหลายของผุ้เรียนมากยิ่งขึ้น เน้นจิตสำนึกและแรงจูงใจในการใฝ่เรียนรู้ด้วยสัมฤทธิผลหรือความสำเร็จทางการษึกษาของผุ้เรียนแต่ละคน การทุ่มทรัพยากรด้านเงินทุนทางการศึกษามากขึ้น การเน้นการบริหารจัดการแบบรวมศุนย์ การมีหลักสูตรการเรียนการสอนที่เข้มข้น การเปลี่ยนจากการประเมินจากภายนอกสู่การเน้นประเมินจากภายในแต่ละโรงเรียนและสถาบันการศึกษาด้วยความถี่มากขั้นเพื่อให้สาถนศึกษารูจักตนเองมากขึน การส่งเสริมแรงสนับสนุนอย่างแข็งขันจากครอบครัวของผุ้เรียนการพัฒนากำลังคนด้านบุคลากรทางการสอนโดยเน้นการฝึกอบรม เพื่อให้พัฒการทางการศึกษาก้าวไปอย่างมั่นคงมากขึ้น
- รัฐบรูไนดารุสซาลาม มุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากนี้ ยังให้ความสำคัญในเรื่อง อีเลินนิ่ง โดยได้ดึงเข้ามาเป้นส่วนหนึ่ของยุทธศาสตร์การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ดำเนินการให้ระบบการศึกษาทุ่งให้ความสำคัญต่อากรใช้ภาษามาเลย์เปนภาษาทางการประจำชาติ ควบคู่ไปกับการใช้ภาษาสำคัญอื่น ๆ เช่น ภาษาอังกฤษ และภาษาอาหรับเป้นภาษาที่สอง เป็นต้น จัดการศึกษาให้กับนักรเียนทุกคนเป็นระยะเวลา 12 ปี จัดหาหลักสูตรบูรณาการจัดการศึกษาศาสนาอิสลามในหลักสูตรการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลัก Ahli
Sannah Wal-Jamaah จังหวัดวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ สำหรบการเรียนการสอน เพื่อให้เด็กนักรียนได้รับความรุ้และความชำนาญ จัดหาโปรแกรมการเรียนรู้ที่หลากลายผ่านกิจกรรมและหลักสูตรร่วมต่างๆ ให้สอดคล้องกับหลักปรชญาแห่งชาติ สร้างโอกาศในการศึกษาด้วยคุณวุฒิและประสบการณ์ที่เหมาะสม จัดหาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ทางการศึกาาให้ดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพื่อเติมเต็มความต้องการแห่งชาติ
- สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม การปรับปรุงคุณภาพของการศึกษาไปในทิสทางระดับสูงของโลก การให้ความสำคัญกับการอบรมบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีชั้นสูง การจัดทำเป้าหมายวิธีการ และหลักสูตรในทุกระดับ พัฒนาครูให้ตอบสนองกับการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ริเริ่มการจัดการทางการศึกษานอกระบบให้เป็นการขับเคลื่อนชุมชนไปสู่สังคมการเรียนรุ้ การลดอัตราการไมรุ้หนังสือในกลุ่มผุ้ใหญ่โดยเฉพาะในท้องถ่ินที่ห่างไกล การเปิดโอกาศให้ผุ้ทีทำงานแล้วได้รับการอบรมเรียนรุ้จากหลักสุตรสั้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต เพิ่มรายได้ และโอากสในการเปลี่ยนงาน เด็กนัอเรียนได้รับกาศึกาาโดยไ่ต้องเสียค่าใช้จ่ายตามมาตรฐาการศึกษาระดับนานาชาติ และการบริหารจัดการทางการศึกษาจะมีโครงสร้างและกระบวนการกระจายอำนาจที่ทันสมัย
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว การเข้าถึงการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน การยกระดับคุณภาพทางการศึกาาการปรับปรุงความเชื่อมโยงส่วนต่างๆ ในระบบการศึกษาให้สอดคล้องกัน การบริหาร จัดการและการวางแผนทางการศึกษาให้เเข็งแแร่งมากขึ้น การขยายจำนวนโรงเรียนระดบประถมศึกษาในพื้นที่ชนกลุ่มน้อยและพื้นที่ชนลบท การเพ่ิมอัตราการสรุ้หนังสือ การพัฒนาในแนวทางที่เรียกว่า การศึกษาสำหรับทุกคน การยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างจริงจังและการสร้างความร่วมมือระหว่าการึกษาในระบบโรงเรียนกับการศึกษาในสังคมและครอบครัว การปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาให้ทันสมัยในทุกระดบทั้งสามัญศึกษาและอาชีวศึกษาทั้งในส่วนของภาครัฐและในส่วนของภาคเอกชน ทั้งในและนอกระบบโรงเรียน ในลักษณะที่สอดรับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- สหภาพเมียนม่า การกำหนดแผนระยะยาว 30 ปี การทำระบบการศึกษาให้เอื้อต่อการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ในการพัฒนาชาติให้ทันสมัยสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยการเน้นสาระสำคัญ 6 ด้านได้แก่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การใช้เทคโนโลยีการขยายขอบเขตด้านการวิจัย การพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต การส่วเสริมการศึกษาคุณภาพ และการรักษาเอกลักษณ์และค่านิยมแห่งชาติให้คงอยู่
- ราชอาณาจักรกัมพูชา การกำหนดแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติในการขยายโอากศางการศึกาษาคุณภาพอย่างทั่วถึงประกอบด้วยแผนระยะสั้น แผนระยะกลาง และแผนระยะยาว เช่นการเปิดโอกาสศึกษาขั้นพื้นฐานให้เพิ่มสูงขึ้น การเพ่ิมขั่วโมงการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกาาการเพิ่มห้องเรียนและสถานที่เรียนในพื้นที่ขาดแคลน การเพ่ิมปริมาณและคุณภาพครูและการฝึกหัดครู เป้าหมายระยะยาวในการทำให้เด็กและเยาชนชาวกัมพุชาทุกคนได้รับโอกาสทางการศึกาาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง ทุกระดับสถานะทางเศรษฐกิจ ทุกเพศ ทุกพื้นที่ ทุกเชื้อชาติ แม้ผุ้พิการทางร่างกาย...
ที่กล่าวมานี้คือตอน ที่ 1 ของการทำวิจัย "นโยการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน โดยใช้วิธีการศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช เบอร์เรเดย์" โดยตอนนี้เป็นการศึกษาเฉพาะที่ โดยมี 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการบรรยายหรือพรรณนา และขั้นตอนการตีความ...
บทความการพัฒนการศึกษา จุมพล ยงศร, "นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนโดยใช้วิธีการศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช เบอร์เรเดย์", วารสานสุโขทัยธรรมาธิราช ปีที่ 24, ฉบับที่ 1 ( ม.ค.-มิ.ย. 2554) หน้า 43-58,
วันอังคารที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2560
The Rol of Education in Building an ASEAN
ความร่วมมือด้านการศึกษาในกรอบอาเซียน
ได้มีการประชุมหารือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อพิจารณาแนวทางความร่วมมือด้านการศึกษา โดยการดำเนินกิจกรรมและโครงการต่างๆ การพัฒนาหลักสูตรอาเวยน การโอนหนวยกิตในระดับอุดมศึกษาระหว่างมหาวิทยาลัยของประเทศสมาชิกอาเซียนที่อยุ่ในเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเวียนโดยจะมีการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านการศึกษาเป็นประจำทุกปี การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนด้านการศึกษา และการประชุมกับประเทศบวกสาม รวมถึงการประชุมในกรอบของซีมีโอด้วย
ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุดสอาเซยนด้านการศึกษา ครั้งที่ 6 ในปี 2555 ซึ่งมีสาระสำคัญคือ การติดตามความคืบหน้าและการดำเนินโครงการต่างๆ การพัฒนาและความคือบหน้าด้านการโอนหน่วยกิตในระดับอุดมศึกษา ภายใต้กรอบของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเวยน
ประเทศสมาชิกอาเซียนได้รับรองแผนงานด้านการศึกษา 5 ปี ซึ่งเปฯแนวทงความร่วมมืออาเซียนด้านการศึกษา มีสาระสำคัญ 5 ประการ คือ
1. การร่วมมือกันสร้างความตระหนักรู้
2. การเพ่ิมการเข้าถึงการศึกษาในระดับประถมและมัะยมศึกาษาที่มีคุณภาพ
3. การยกระดับคุณภาพการศึกาา เพิ่มมาตรฐานการศึกษา สงเสริมการเรียนรู้ตลอดชีงวิต และารพัฒนาาขาอาชีพ
4. การส่งเสริมการแลกเปลี่ยนด้านการข้ามแดนและความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการศึกษา
5. การสนับสนุนองค์กรเฉพาะสาขาอื่นๆ
ในส่วนของไทย กระทรวงศึกษาธิการเป็นหนวยงานหลักในการประสานงานด้านการศึกษากับประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งในระดับเจ้าหน้าที่อวุโสและระดับรัฐมนจรีด้านการศึกษาอาเซียน และมีโครงการต่างๆ เพื่อสร้างความตระหนักรู้อาเซียน อาทิ เช่น โครงการโรงเรียน สปิริต ออฟ อาเซียน โครงการ อาเซียน โฟกัส สคูล โครงการแลกเปลี่ยนนักเรียน และการจัดทำหนังสือ คู่มือเกี่ยวกับอาเวียน ทั้งนี้จากการประสานกับประทรวงศึกษาธิการทราบว่า รมว.ศธ. ได้กำหนด 22 นโยบายหลักด้านการศึกษา (ซึ่งเป็นผลจากการประชุมหน่วยงานภายในของกระทรวงศึกษาธิการ ในปี 2555)
นอกจากนี้ ความร่วมมือด้านการศึกษาที่สำคัญยังอยุ่ภายใต้กรอบความร่วมมือขององค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือซีมีโอ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการสร้างเครือข่ายและความร่วมมือระหว่างประเทศ รวมถึงความร่วมมือด้านต่างๆ กับอาเซียนด้วย โดยศูนย์ภูมิภาคซมีโอด้านอุดมศึกษาและการพัฒนา ตั้งอยุ่ทีประเทศไทยและทำหน้าที่ในกาส่งเสริมความร่วมมือระดับอุดมศึกษาและจัดการอบรม วิจัยที่มีความสอดคล้องกับความต้องการของภุมิภาค ศูนย์ระดับภูมิภาคว่าด้วยโบราณคดีและวิจิตรศิลป์ ซึ่งมีการสอนและฝึกอบรมหลักสุตรด้านโบาณคดีและประเพณีของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ในการประชุมรัฐมนตรีศึกษาอาเซียน ครั้งที่ 7 รัฐมนตรีศึกษาฯ ของอินโดนีเซยนในฐานเจ้าภาพจัดการประชุม และประธาน ASED ได้จัดพิธีเปิดการประชุมระดับรัฐมนตรีณ พ้อมกับเชิญนาย เดวิด คารเดน เอกอัครราชทุตสหรัฐฯ ประจำอาเซียน และ แอนโทนี่ มิลเลอร์ รองปลัดกระทรวงศึกษาสหรัฐฯ เข้ารวมพิธีเปิดตัวคู่มือการจัดทำหลักสูตรอาเซียน อย่างเป็นทางการ ซึ่งคู่มอืดังกล่าวได้ยกร่างขึ้นภายใต้การสนับสนุของ USAID และคณะทำงานของประเทศสมาชิกอาเซียนร่วมกันพิจารณา มีการปรับปรุงแก้ไขจนเป้นผลสำเร็จ
สาระสำคัญ 5 ประการของคู่มือการจัดทำหลักสูตรอาเซียน คือ 1 เรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน 2 คุณต่าของอัตลักษณ์และความหลากหลาย 3 ความเชื่อมโยงของโลกและท้องถ่ิน 4 การ่งเสริมเรื่องความเท่าเทียมกันและความยุติธรรม 5 ความร่วมมือกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยือ และได้ยกตัวอย่างเนื้อหาวิชาที่จะบรรจุเรืองอาเซียนไว้ ได้แก่ วิชาประวัติศาสตร์และสังคม วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ จริยธรรม ภาษา ศิลปะ สุขศึกษา เทคโนโลยี เป็นต้น
นอกจากนี้ ในระดับอุดมศึกาา มีความคืบหน้าในส่วนของการดำเนินงานของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ที่สำคัญคือ โครงการระบบการโอนหน่วยกิต ขณะนี้ มีสาขาวิชาที่นักศึกษาสามรถเลือกลงเรียนใระบบการโอนหน่วยกิตในมหาวิทยลัยที่เป็นสมาชิกเครือข่ายมหาวิทยาลับยอาเวียนไ้ จำนวน 12,270 สาขาวิชา ผู้สมัครในปี 2554-2555 สมัครออนไลน์จำนวน 232 คน สมัครและได้รับการเสนอชือผ่านมหาวิทยาลัยใเครือข่ายฯ จำนวน 137 คน ได้เข้าร่วมดครงการและได้ทุนสนับสนุน จำนวน 51 คน...http://www.mfa.go.th/asean/contents/files/asean-media-center-20121218-095816-729162.pdf
วันจันทร์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2560
ASEAN Education System II
ความร่วมมือด้านการศึกษาเป้นส่วนหนึ่งของความร่วมมือเฉพาะด้านของอาเซียน โดยเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ทศวรรษแรกของการก่อตั้งอาเวยน เมื่อมีการจัดการประชุมด้านการศึกษาา ครั้งแรกในช่วงเดือนตุลาคม 2518
พม่าหรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า เมืองหลวงตั้งอยู่ที่กรุงเนปิดอว์ ประชากรประมาณ 55.7 ล้านคน เป็ฯประเทศกำลังพัฒนาที่รายได้เฉลี่ยต่อบุคคลอยู่ในเกณฑ์ต่ำ การเกษตรกรรมถือเป็นอาชีพหลักของคนพม่า
หน่วยงานจัดการศึกษาขงพม่า คือ กระทรวงศึกษาธิการ การศึกษาของพม่า รัฐเป้นผุ้สนับสนุนด้านงบประมาณของทุกโรงเรียนโดยนักเรียนจะเสียค่าเล่าเรียนเฉพาะในระดับมัธยมศึกษาตาอนปลายเท่านันระบบการศึกษาแต่เดิมนั้นเป้ฯระบบบริหารซึ่งรวมอำนาจไว้ที่สูนย์กลางต่อมาได้มีการกระจายอำนาจการบริหารออกไปสู่ระดับรัฐและหัวเมืองต่างๆ โดยมีหัวหน้าส่วนการศึกษาเป้นผุ้ควบคุมดูและและประสานงานระบบ
การศึกษาของพม่า เป้ฯระบบ 5+4+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคับ 5 ปี จากอายุ 5-9 แบ่งได้เป็น
1. ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาในมาเลเซียใช้เวลาเรียน 5 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมื่ออายุ 5 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป็นการศึกษาภาคบังคับ ในเกรด 1 ซึ่งเป็ฯการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสุ่ระบบการศึกษา
2. ระดับมัธยมศึกษา
2.1) ระดับมัธยมศึกษาตานต้น เป้ฯช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัยระยะเวลาเรียน 4 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่าง 10-13 ปี
2.2) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป้ฯชวงการศึกาาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ระยะเวลาเรียน 2 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 14-15 ปี
3. ระดับอาชีวศึกษา การศึกษาในระดับนี้ใช้เวลา 1-3 ปี
4. ระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษาใช้เวลา 4-6 ปี
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของพม่านั้น พม่าพยายามที่จะจัดให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ของประเทศแต่ยังมีปัญหาาที่ไม่สามารถจัดหาอาคารสถานที่วัสุดุและอุกรณ์ให้กับโรงเรียนในบางท้องที่ได้ รัฐบาลพม่าได้ตั้งเป้าหมาย ที่จะให้มีโรงเรียนอย่างน้อยหึ่งแห่งในทุกมู่บ้าน กรมการเทคโนโลยี เกษตรและอาชีีวศึกษา เป้นหน่วยงานที่ดุแลจัดการศึกษาด้านเกษตรกรรม พณิชยกรรม วิศวกรรมเครื่องกล การประมงคหกรรมและการฝึกหันดครู ทางด้านช่วงเทคนิค การเรียน - การสอนมีทั้งเต็มเวลาและนอกเวลา มีทั้งหลักสูตรระยะยาวและระยะสั้น เพื่อรองรับความต้องการของตลาดแรงงานในสภาพเศรษฐกิจและสังคมของพม่าที่กำลังเปลี่ยนแปลง
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ มีเมืองหลวงตั้งอยงู่ที่ กรุงมะนิลา มีประชากรประมาณ 107.6 ล้านคน ( 2014) เป็นประเทศเกษตรกรรม แต่มีเนื้อที่ที่ใช้ในการเพาะปลูกอยุ่อย่างจำกัด จึงทำให้พื้นที่เพาะปลูกส่วนใหญ่อยู่บริเวณที่ราบต่ำและเนินเขาที่รปับให้เป้นขชั้นบันได พืชเศรฐกิจสำคัญ คือ มะพร้าว อ้อย ป่านอบากา และข้าวเจ้า นอกจากนี้ยังมีแร่ส่งออกที่สำคัญ คือ เลห็กโครไมต์ ทองแดง เงิน มีภาษาฟิลิปปิโน และ ภาษาอังกฤษเป็ฯภาษาราชการ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก
หน่วยงานจัดการศึกษาของฟิลิปปินส์ คือ กระทรวงศึกษาธิการ ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์ทีทั้งแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการโดยการศึกษาแบบที่เป็นทางการนั้นมีลำดับขั้นตอนของ
การเรียนอยุ่สามระดับนั่น คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา และระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษาแบบเป็นทางการฟิลิปปินส์ เป็นระบบ 6+4+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคับ 13 ปี จากอายุ 5-17 ปี แบ่งได้เป็น
1 ระดับปฐมวัย ในระดับประถมศึกาานั้นจะใช้เวลาศึกษาภาคบังคัย 6 ปี ที่โรงเรียนของรัฐบาลหรือ 7 ปี ในโงเรียนของเอกชนนอกเหนือ จากหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยซึงนักเรียนสามารถเลือกเรียนได้ โดยการศึกษาระดับนี้รวมไปถึงการเรียนชั้นอนุบาลและอาจเป็นหลักสูตรเตรียมประถมศึกษาก็ได้ นักเรียนที่มีอายุระหว่าง 3-4 ปีจะเข้าเรียนในสถานรับเลื้องเด็กก่อนวัยเรียนจนกระทั่งมีอายุครอบ 5-6 ปี จึงจะเลื่อนขึ้นชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
2. ระดับมัธยมึกษา การศึกษาระดับมัธยมศึกษาใช้เวลา 4 ปี โดยนักเรียนต้องเรียนจบชั้นประถมึกษาตอนปลายก่อน นักเรียนส่วนใหญ่ที่เรียนชั้นมัธยมศึกษาจะมีอายุ 12 ปี และเรียนจบเมื่ออายุ 15 ปี การเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ
3 ระดับอาชีวศึกษา รวมไปถึงหลักสูตรอาชีวศึกษา 2-3 ปีที่อาจไม่มีการมอบปริญญาได้ จะดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ด้านการพัฒนาทักษระและการศึกาาาด้านเทคนิคซึ่งยังมีหน้าที่ปบฒนิเทศ ให้การฝึกอบรมและการพัฒนาด้านทักษะอาชพแก่เยาวชนที่ไม่ได้เข้าเรียนในโรงเรียนและผุ้ใหญ่ที่ว่งงาน
4 ระดับอุดศึกษา ระดับอุดมศึกษานั้น นักเรียนส่วนใหญ่จะมีอายุประมาณ 16 ปี การศึกษาระดับนี้แบ่งเป็นระดับปรญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอกในหลากลายสาขาวิชา
ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์ใกล้เคียงกับระบบการศึกษาแบบเป็นทางการของสหรัฐอเมริกาในขณะที่ระบบการศึกษาของประเทศอื่นๆ ในทวิปเอเชียมักจะได้รับอทธิพลจากประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือเนเธอร์แลนด์การศึกษาแบบไม่เป็นทางการซึ่งรวมถึงการรับความรู้นอกโรงเรียนันมีัตถุประสงค์หลักสำหรับผุ้รียนกลุ่มเฉพาะ เช่น เยาวชนหรือผุ้ใหญที่ไม่สามารถเข้าเรียต่อที่ดรเรียนหรือมหาวิทยาลัยได้
การจัดการศึกษาแบบไม่เป็นทางการ หือนอกระบบโรงเรีย ได้แก่ หลักูตรการศ฿กษาผุ้ใหญ่ที่ไม่รู้หนังสือจอกจากนี้ประเทศฟิลิปปินส์ใช้การเรียนการสอนแบบทวิภาษาบางวิชาจะสอนเป็นภาษาอังกฤษ ส่วนวิชาอื่นๆ จะสอนเป็นภาษาตากาล็อก
สาธารณรัฐสิงคโปร์ หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ มีเมืองหลวงช่อเดียวกับประเทศที่ประชกรประมาณ 5.6 ล้านคน (2014) เป็นประเทศที่มีพื้นที่จำกัดและมีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอยู่น้อย สินค้าส่งออกที่สำคัญจึงเป็นพวกเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกร์และสวนประกอบ น้ำมันสำเร็จรูป แยงวงจรไฟฟ้า และสวนประกอบอากาศยานและอุปกรณืการบิน ส่วนสินค้านำเข้าที่สำคัญก็จะเป็นพวก พลังงาน อาหาร และวัตถถุดิบในงานอุตสาหรรม
หน่วงานจัดการศึกษาของสิงคโปร์ คือ กระทรวงศึกาธิการรัฐบาลสิคโปร์ให้ความสำคัญกับการศึกษามาก โดยถือว่าประชาชนเป้ฯทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุอขงประเทศ รัฐบาลได้ให้การอุดหนุนด้านการศึกษาจนเสมือนกับเป้ฯการศึกษาแบบให้เปล่า โรงเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาล้วนเป็นโรงเรียนของรัฐบาลหรือกึ่งรัฐบาลสถานศึกาาของเอกชนในสิงคโป์ มีเฉพาะในระดับอนุบาล และโรงเรียนนานาชาติเท่านั้น การศึกษาภาคบังคับของสิงคโปร์จะต้องเรียนรู้ 2 ภาษาควบคู่กันไป ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์ เป็นระบบ 6+4+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคลังคับ 6 ปี จากอายุ 6-11 ปี ดังนี้
1. ระดับปฐมวัย ใช้เวลาเรียน 6 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรยนเมื่ออายุ 6 ปี การเลื่อเกรดนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบ เพื่อที่จะเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาต่อไป ผลการเข้าสอบมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อการศึกาาต่อในระดับมัธยมศึกษา
2 ระดับมธยมศึกษา ระยะเวลาเรียน 4 ปี ช่วงอายุ นักเรียนอยู่ระหว่าง 12-15 ปี กาศึกาในระดับมธยมึกาานั้น จะมี 3 หลักาุตรให้เลือกตามความสามารถและความสนใจ โดยใช้เวลา 4-5 ปี ด้แก หลักสูตรพิเศษ หลักสูตรเร่งรัด หลักสูตรปกติ เมื่อจบหลักสุตรจะมีการสอบโดยหลักสูตรพิเศษ และหลักสูตรเร่งรัดจะต้องผ่านประกาศนียลัตร GCB ในระดับ "O" Level ส่วนหลักสูตรปกติจะต้องผ่าน GCB "N" Level แต่ถ้าต้องศึกษาต่อในระดับเตรียมอุดมศึกาา ก็ต้องสอบให้ผ่าน GCB "O" Level เช่นเดียวกัน
3 ระดับหลังมัธยมศึกษา
3.1) ระดับเตรียมอุดมศึกษา เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษา ผุ้ที่จะเรียนตอในมหาวิทยาลัยก็จะเข้าศึกษาต่อใน จูเนียร์ คอลเลจ อีก 2 ปี เมื่อจบแล้วจะต้องสอบ GCE "A" Level เพื่อนำผลคะแนไปตัดสินการเข้าเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัย จะต้องศึกษาขั้นเตรียมมหาิวทิยาลัยอีก 2 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 16-17 ปี
3.2) ระดับอาชีวศึกษา วิทยาลัยเทคนิค ของสิงคโปร์มี 4 แห่ง ส่วนวิทยาัยผลิตครูของสิงคโปร์มีอยูเพียงแห่งเดียว นอกจากนี้ ยังมี สถาบันที่จัดการศึกษาสำหรับผุ้ตอ้งการทักษระทางช่าง และช่างฝีมือ
4. ระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยในสิงคโปร์มี 3 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ จะให้การศึกษาครอลคลุมเกือบทุกสาขาวิชา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี นานยาง จะเนนการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่างๆ รวมทัี้งวทิยาาสตร์ประยุกต์์ และสาขาธุรกิจ และการบัญชี และ มหววิทยาลัการจัดการ สิงคโปร์ เน้นเรื่องธุรกิจการจัดการ
ประเทศไทย หน่วยงานจัดการศึกษาของไทย คือ กระทรวงศึกษาธิการ ระบบการศึกษาไทยปัจจุบันตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) 2545 มีการจัดการศึกษา 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกาานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ในการจัดระบบการศึกษาตามแยวพระราชบัญญัติฉบับนี้ จะไม่พิจารณาแบ่งแยกการศึกษาในระบบโรงเรียนออกจาการศึกษานอกระบบโรงเรียน แต่จะถือว่าการศึกษาในระบบ การศึกาานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเพียงวิธีการเรียนการสอน หรือรูปแบบของการเรียนการสอน ฉะนั้นแนวทางใหใาคือ สถานศึกาษสามารถจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ และให้มีระบบเทียบโอนการเรียนรุ้ที่ 3 รูปแบบ
ระบบการศึกษาของไทย เป็น ระบบ 6+3+3 โดยมีระบบการศึกษาภาคลังคับ 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี แบ่งได้เป็น
1. ระดับปฐมวัย ระดับปรถมศึกษาใช้เวลาเรียน 6 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมื่ออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป็นการศึกษาภาคบังคับใน เกระ 1 ซึ่งเป็นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสู่ระบบการศึกษา เมื่อต้องการจะเลื่อนเกรดเพื่อสึกษาต่อในระดับถัดไปในระดับปฐมวัย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย จะต้องได้รับการทดสอบ O-NET
2. ระดับมัธยมศึกษา
2.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากการศึกาาปฐมวัยระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยูระหว่าง 12-14 ปี
2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สุงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น เป้นการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกาา ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 15-17 ปี โดยหากนักเรียนต้องการจะเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยจำเป้นต้องได้รบการทดสอบ GAT และ PAT
3. ระดับอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ หรือ ศึกษาต่อในระดับอาชีพชั้นสูงต่อไป
4. ระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษระดับอุดมศึกษาใช้เวลา 4-6 ปี ระดับต่ำหล่าปริญญาและระดับปรญญา การใช้คำว่า "อุดมศึกษา"แทนคำว่า "การศึกษาระดับมหาวิทยลัย" ก็เพื่อจะให้ครอบคลุมการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญา ที่เรียนภายหลังที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
เวียดนามหรือชื่อทางการว่า สาธารณะรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ีเมืองหลวงตั้งอยุ่ที่ กรุงฮานอย ประชากรประมาณ 93.4 ล้านคน (2014)
หน่วยการจัดการศึกษาของเวียดนาม คือ กระทรวงศึกษาธิการและฝึกอบรม ระบบการศึกษาของเวียดนาม มีวัตถุประสงค์ที่จะให้ประชาชนได้มีจิตวิญญาณในความเป้นสังคมนิยมมีเอกลัษณ์ประจำชาติและมีความสามารถ ในด้านอาชีพ ในปี พ.ศ. 2534 สภาแห่งชาติของเวยดนามได้ออกกฎหมายการกระจายการศึกษรระดับประถมศึกษา ซึ่งถือเป็นกฎหมายฉบับแรกว่าด้วยการศึกษาของเวียดนาม ระบบการศึกษาของเวียดนาม เป้ฯระบบ 5+4+3 โดยมีระบบกรศึกษาภาคบังคัย 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี แบ่งได้เป็น
ระดับปฐมวัย ระดับประภมศึกษาใช้เวลาเรียน 5 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมื่อายุ 6 ปี การศึกษาในะระดับนี้คือเป็นการศึกษาภาคบังคับในเกรด 1 ซึ่งเป้นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสสู่ระบบการศึกษา
2 ระดับมัธยมศึกษา
2.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป้นช่วงการศึกาาที่สูงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัยระยะเวลาเรียน 4 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่าง 11-14 ปี
2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น เป้ฯการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 15-17 ปี
3. ระดับอาชีวศึกษา มีเทียบเคียงทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย
4. ระดับอุดมศึกาาแบงเป็นระดับอนุปรญญาและระดับปรญญา นอกจากนี้ยังมีการศึกษาต่อเนื่องเป็นการศึกษาสำหรับประชาชนที่พลาดโอกาศการศึกษาในระบบสายสามัญและสายอาชีพ..http://plan.rmutsb.ac.th/plan/data_information/file/1_IR_333.pdf
พม่าหรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า เมืองหลวงตั้งอยู่ที่กรุงเนปิดอว์ ประชากรประมาณ 55.7 ล้านคน เป็ฯประเทศกำลังพัฒนาที่รายได้เฉลี่ยต่อบุคคลอยู่ในเกณฑ์ต่ำ การเกษตรกรรมถือเป็นอาชีพหลักของคนพม่า
หน่วยงานจัดการศึกษาขงพม่า คือ กระทรวงศึกษาธิการ การศึกษาของพม่า รัฐเป้นผุ้สนับสนุนด้านงบประมาณของทุกโรงเรียนโดยนักเรียนจะเสียค่าเล่าเรียนเฉพาะในระดับมัธยมศึกษาตาอนปลายเท่านันระบบการศึกษาแต่เดิมนั้นเป้ฯระบบบริหารซึ่งรวมอำนาจไว้ที่สูนย์กลางต่อมาได้มีการกระจายอำนาจการบริหารออกไปสู่ระดับรัฐและหัวเมืองต่างๆ โดยมีหัวหน้าส่วนการศึกษาเป้นผุ้ควบคุมดูและและประสานงานระบบ
การศึกษาของพม่า เป้ฯระบบ 5+4+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคับ 5 ปี จากอายุ 5-9 แบ่งได้เป็น
1. ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาในมาเลเซียใช้เวลาเรียน 5 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมื่ออายุ 5 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป็นการศึกษาภาคบังคับ ในเกรด 1 ซึ่งเป็ฯการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสุ่ระบบการศึกษา
2. ระดับมัธยมศึกษา
2.1) ระดับมัธยมศึกษาตานต้น เป้ฯช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัยระยะเวลาเรียน 4 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่าง 10-13 ปี
2.2) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป้ฯชวงการศึกาาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ระยะเวลาเรียน 2 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 14-15 ปี
3. ระดับอาชีวศึกษา การศึกษาในระดับนี้ใช้เวลา 1-3 ปี
4. ระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษาใช้เวลา 4-6 ปี
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของพม่านั้น พม่าพยายามที่จะจัดให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ของประเทศแต่ยังมีปัญหาาที่ไม่สามารถจัดหาอาคารสถานที่วัสุดุและอุกรณ์ให้กับโรงเรียนในบางท้องที่ได้ รัฐบาลพม่าได้ตั้งเป้าหมาย ที่จะให้มีโรงเรียนอย่างน้อยหึ่งแห่งในทุกมู่บ้าน กรมการเทคโนโลยี เกษตรและอาชีีวศึกษา เป้นหน่วยงานที่ดุแลจัดการศึกษาด้านเกษตรกรรม พณิชยกรรม วิศวกรรมเครื่องกล การประมงคหกรรมและการฝึกหันดครู ทางด้านช่วงเทคนิค การเรียน - การสอนมีทั้งเต็มเวลาและนอกเวลา มีทั้งหลักสูตรระยะยาวและระยะสั้น เพื่อรองรับความต้องการของตลาดแรงงานในสภาพเศรษฐกิจและสังคมของพม่าที่กำลังเปลี่ยนแปลง
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ มีเมืองหลวงตั้งอยงู่ที่ กรุงมะนิลา มีประชากรประมาณ 107.6 ล้านคน ( 2014) เป็นประเทศเกษตรกรรม แต่มีเนื้อที่ที่ใช้ในการเพาะปลูกอยุ่อย่างจำกัด จึงทำให้พื้นที่เพาะปลูกส่วนใหญ่อยู่บริเวณที่ราบต่ำและเนินเขาที่รปับให้เป้นขชั้นบันได พืชเศรฐกิจสำคัญ คือ มะพร้าว อ้อย ป่านอบากา และข้าวเจ้า นอกจากนี้ยังมีแร่ส่งออกที่สำคัญ คือ เลห็กโครไมต์ ทองแดง เงิน มีภาษาฟิลิปปิโน และ ภาษาอังกฤษเป็ฯภาษาราชการ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก
หน่วยงานจัดการศึกษาของฟิลิปปินส์ คือ กระทรวงศึกษาธิการ ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์ทีทั้งแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการโดยการศึกษาแบบที่เป็นทางการนั้นมีลำดับขั้นตอนของ
การเรียนอยุ่สามระดับนั่น คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา และระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษาแบบเป็นทางการฟิลิปปินส์ เป็นระบบ 6+4+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคับ 13 ปี จากอายุ 5-17 ปี แบ่งได้เป็น
1 ระดับปฐมวัย ในระดับประถมศึกาานั้นจะใช้เวลาศึกษาภาคบังคัย 6 ปี ที่โรงเรียนของรัฐบาลหรือ 7 ปี ในโงเรียนของเอกชนนอกเหนือ จากหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยซึงนักเรียนสามารถเลือกเรียนได้ โดยการศึกษาระดับนี้รวมไปถึงการเรียนชั้นอนุบาลและอาจเป็นหลักสูตรเตรียมประถมศึกษาก็ได้ นักเรียนที่มีอายุระหว่าง 3-4 ปีจะเข้าเรียนในสถานรับเลื้องเด็กก่อนวัยเรียนจนกระทั่งมีอายุครอบ 5-6 ปี จึงจะเลื่อนขึ้นชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
2. ระดับมัธยมึกษา การศึกษาระดับมัธยมศึกษาใช้เวลา 4 ปี โดยนักเรียนต้องเรียนจบชั้นประถมึกษาตอนปลายก่อน นักเรียนส่วนใหญ่ที่เรียนชั้นมัธยมศึกษาจะมีอายุ 12 ปี และเรียนจบเมื่ออายุ 15 ปี การเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ
3 ระดับอาชีวศึกษา รวมไปถึงหลักสูตรอาชีวศึกษา 2-3 ปีที่อาจไม่มีการมอบปริญญาได้ จะดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ด้านการพัฒนาทักษระและการศึกาาาด้านเทคนิคซึ่งยังมีหน้าที่ปบฒนิเทศ ให้การฝึกอบรมและการพัฒนาด้านทักษะอาชพแก่เยาวชนที่ไม่ได้เข้าเรียนในโรงเรียนและผุ้ใหญ่ที่ว่งงาน
4 ระดับอุดศึกษา ระดับอุดมศึกษานั้น นักเรียนส่วนใหญ่จะมีอายุประมาณ 16 ปี การศึกษาระดับนี้แบ่งเป็นระดับปรญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอกในหลากลายสาขาวิชา
ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์ใกล้เคียงกับระบบการศึกษาแบบเป็นทางการของสหรัฐอเมริกาในขณะที่ระบบการศึกษาของประเทศอื่นๆ ในทวิปเอเชียมักจะได้รับอทธิพลจากประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือเนเธอร์แลนด์การศึกษาแบบไม่เป็นทางการซึ่งรวมถึงการรับความรู้นอกโรงเรียนันมีัตถุประสงค์หลักสำหรับผุ้รียนกลุ่มเฉพาะ เช่น เยาวชนหรือผุ้ใหญที่ไม่สามารถเข้าเรียต่อที่ดรเรียนหรือมหาวิทยาลัยได้
การจัดการศึกษาแบบไม่เป็นทางการ หือนอกระบบโรงเรีย ได้แก่ หลักูตรการศ฿กษาผุ้ใหญ่ที่ไม่รู้หนังสือจอกจากนี้ประเทศฟิลิปปินส์ใช้การเรียนการสอนแบบทวิภาษาบางวิชาจะสอนเป็นภาษาอังกฤษ ส่วนวิชาอื่นๆ จะสอนเป็นภาษาตากาล็อก
สาธารณรัฐสิงคโปร์ หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ มีเมืองหลวงช่อเดียวกับประเทศที่ประชกรประมาณ 5.6 ล้านคน (2014) เป็นประเทศที่มีพื้นที่จำกัดและมีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอยู่น้อย สินค้าส่งออกที่สำคัญจึงเป็นพวกเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกร์และสวนประกอบ น้ำมันสำเร็จรูป แยงวงจรไฟฟ้า และสวนประกอบอากาศยานและอุปกรณืการบิน ส่วนสินค้านำเข้าที่สำคัญก็จะเป็นพวก พลังงาน อาหาร และวัตถถุดิบในงานอุตสาหรรม
หน่วงานจัดการศึกษาของสิงคโปร์ คือ กระทรวงศึกาธิการรัฐบาลสิคโปร์ให้ความสำคัญกับการศึกษามาก โดยถือว่าประชาชนเป้ฯทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุอขงประเทศ รัฐบาลได้ให้การอุดหนุนด้านการศึกษาจนเสมือนกับเป้ฯการศึกษาแบบให้เปล่า โรงเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาล้วนเป็นโรงเรียนของรัฐบาลหรือกึ่งรัฐบาลสถานศึกาาของเอกชนในสิงคโป์ มีเฉพาะในระดับอนุบาล และโรงเรียนนานาชาติเท่านั้น การศึกษาภาคบังคับของสิงคโปร์จะต้องเรียนรู้ 2 ภาษาควบคู่กันไป ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์ เป็นระบบ 6+4+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคลังคับ 6 ปี จากอายุ 6-11 ปี ดังนี้
1. ระดับปฐมวัย ใช้เวลาเรียน 6 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรยนเมื่ออายุ 6 ปี การเลื่อเกรดนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบ เพื่อที่จะเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาต่อไป ผลการเข้าสอบมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อการศึกาาต่อในระดับมัธยมศึกษา
2 ระดับมธยมศึกษา ระยะเวลาเรียน 4 ปี ช่วงอายุ นักเรียนอยู่ระหว่าง 12-15 ปี กาศึกาในระดับมธยมึกาานั้น จะมี 3 หลักาุตรให้เลือกตามความสามารถและความสนใจ โดยใช้เวลา 4-5 ปี ด้แก หลักสูตรพิเศษ หลักสูตรเร่งรัด หลักสูตรปกติ เมื่อจบหลักสุตรจะมีการสอบโดยหลักสูตรพิเศษ และหลักสูตรเร่งรัดจะต้องผ่านประกาศนียลัตร GCB ในระดับ "O" Level ส่วนหลักสูตรปกติจะต้องผ่าน GCB "N" Level แต่ถ้าต้องศึกษาต่อในระดับเตรียมอุดมศึกาา ก็ต้องสอบให้ผ่าน GCB "O" Level เช่นเดียวกัน
3 ระดับหลังมัธยมศึกษา
3.1) ระดับเตรียมอุดมศึกษา เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษา ผุ้ที่จะเรียนตอในมหาวิทยาลัยก็จะเข้าศึกษาต่อใน จูเนียร์ คอลเลจ อีก 2 ปี เมื่อจบแล้วจะต้องสอบ GCE "A" Level เพื่อนำผลคะแนไปตัดสินการเข้าเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัย จะต้องศึกษาขั้นเตรียมมหาิวทิยาลัยอีก 2 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 16-17 ปี
3.2) ระดับอาชีวศึกษา วิทยาลัยเทคนิค ของสิงคโปร์มี 4 แห่ง ส่วนวิทยาัยผลิตครูของสิงคโปร์มีอยูเพียงแห่งเดียว นอกจากนี้ ยังมี สถาบันที่จัดการศึกษาสำหรับผุ้ตอ้งการทักษระทางช่าง และช่างฝีมือ
4. ระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยในสิงคโปร์มี 3 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ จะให้การศึกษาครอลคลุมเกือบทุกสาขาวิชา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี นานยาง จะเนนการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่างๆ รวมทัี้งวทิยาาสตร์ประยุกต์์ และสาขาธุรกิจ และการบัญชี และ มหววิทยาลัการจัดการ สิงคโปร์ เน้นเรื่องธุรกิจการจัดการ
ประเทศไทย หน่วยงานจัดการศึกษาของไทย คือ กระทรวงศึกษาธิการ ระบบการศึกษาไทยปัจจุบันตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) 2545 มีการจัดการศึกษา 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกาานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ในการจัดระบบการศึกษาตามแยวพระราชบัญญัติฉบับนี้ จะไม่พิจารณาแบ่งแยกการศึกษาในระบบโรงเรียนออกจาการศึกษานอกระบบโรงเรียน แต่จะถือว่าการศึกษาในระบบ การศึกาานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเพียงวิธีการเรียนการสอน หรือรูปแบบของการเรียนการสอน ฉะนั้นแนวทางใหใาคือ สถานศึกาษสามารถจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ และให้มีระบบเทียบโอนการเรียนรุ้ที่ 3 รูปแบบ
ระบบการศึกษาของไทย เป็น ระบบ 6+3+3 โดยมีระบบการศึกษาภาคลังคับ 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี แบ่งได้เป็น
1. ระดับปฐมวัย ระดับปรถมศึกษาใช้เวลาเรียน 6 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมื่ออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป็นการศึกษาภาคบังคับใน เกระ 1 ซึ่งเป็นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสู่ระบบการศึกษา เมื่อต้องการจะเลื่อนเกรดเพื่อสึกษาต่อในระดับถัดไปในระดับปฐมวัย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย จะต้องได้รับการทดสอบ O-NET
2. ระดับมัธยมศึกษา
2.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากการศึกาาปฐมวัยระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยูระหว่าง 12-14 ปี
2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สุงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น เป้นการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกาา ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 15-17 ปี โดยหากนักเรียนต้องการจะเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยจำเป้นต้องได้รบการทดสอบ GAT และ PAT
3. ระดับอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ หรือ ศึกษาต่อในระดับอาชีพชั้นสูงต่อไป
4. ระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษระดับอุดมศึกษาใช้เวลา 4-6 ปี ระดับต่ำหล่าปริญญาและระดับปรญญา การใช้คำว่า "อุดมศึกษา"แทนคำว่า "การศึกษาระดับมหาวิทยลัย" ก็เพื่อจะให้ครอบคลุมการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญา ที่เรียนภายหลังที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
เวียดนามหรือชื่อทางการว่า สาธารณะรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ีเมืองหลวงตั้งอยุ่ที่ กรุงฮานอย ประชากรประมาณ 93.4 ล้านคน (2014)
หน่วยการจัดการศึกษาของเวียดนาม คือ กระทรวงศึกษาธิการและฝึกอบรม ระบบการศึกษาของเวียดนาม มีวัตถุประสงค์ที่จะให้ประชาชนได้มีจิตวิญญาณในความเป้นสังคมนิยมมีเอกลัษณ์ประจำชาติและมีความสามารถ ในด้านอาชีพ ในปี พ.ศ. 2534 สภาแห่งชาติของเวยดนามได้ออกกฎหมายการกระจายการศึกษรระดับประถมศึกษา ซึ่งถือเป็นกฎหมายฉบับแรกว่าด้วยการศึกษาของเวียดนาม ระบบการศึกษาของเวียดนาม เป้ฯระบบ 5+4+3 โดยมีระบบกรศึกษาภาคบังคัย 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี แบ่งได้เป็น
ระดับปฐมวัย ระดับประภมศึกษาใช้เวลาเรียน 5 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมื่อายุ 6 ปี การศึกษาในะระดับนี้คือเป็นการศึกษาภาคบังคับในเกรด 1 ซึ่งเป้นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสสู่ระบบการศึกษา
2 ระดับมัธยมศึกษา
2.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป้นช่วงการศึกาาที่สูงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัยระยะเวลาเรียน 4 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่าง 11-14 ปี
2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น เป้ฯการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 15-17 ปี
3. ระดับอาชีวศึกษา มีเทียบเคียงทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย
4. ระดับอุดมศึกาาแบงเป็นระดับอนุปรญญาและระดับปรญญา นอกจากนี้ยังมีการศึกษาต่อเนื่องเป็นการศึกษาสำหรับประชาชนที่พลาดโอกาศการศึกษาในระบบสายสามัญและสายอาชีพ..http://plan.rmutsb.ac.th/plan/data_information/file/1_IR_333.pdf
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...