ASEAN :The Basic Education II

           เมียนมาร์ โรงเรียนมนประเทศเมียนมรร์ จะเปิดในเดือนมิถุนายนและปิดในเดือนมิถุนายมและปิดในเดือนมีนาคมในปีถัดไป เด็กๆ ที่มิีอายุ 5 ขวบ ต้องเข้าดรงเรยนประถม รับบาลเมีนยมาร์จะดูแลรับผิดชอบการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เร่ิมขึ้นจากช่วงการศึกษาระดับประถมในระยะเวลา 5 ปี และตามด้วยการศึกษาระดับมัธยมเป้นเวลา 4 ปี และอีก 2 แี สำหรับการศึกษาระดับประถมศึกษาตอนปลาย โดยรวมแล้วรัฐบาลเมียนมาร์จัดให้มีการศึกษาทั่วไปๆ ไปเป็นเวลา 11 ปี นโยบายการศึกษา
           การศึกษาของประเทศเมียนมาร์นั้นได้มุ่งเน้นไปที่การพัฒนาการของเด็กทั้ง 2 ด้าน คือทั้งทางด้านจิตใจ และทางกายควบคู่กับไปและเน้นเรื่องการใช้ชีวิต และพฤติกรรมที่พึงมีต่อสังคม
            วิสัยทัศน์ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวว่า "การศึกษาเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์และเป็นส่วนประกอบนสำคัญ ในคุณภาพชีวิต เป็นเครื่องค้ำประกันคุณค่าทางสังคมและศีลธรรมเป็นเครื่องมือสำหรับผลิตผลทางเศราฐกิจวัตถุประสงค์ด้านสังคมสำหรับการศึกษาในประเทศเมียนมารร์นั้นมีความมุ่งหมายสูง รวมถึงการพัฒนานักเรียนเพื่อการแก้ปัญหา และมีความคิดสร้างสรรค์ นำไปสู่การพัฒนาสถาบันและสังคม ส่งเสริมความเป็นเอกภาพของชาติและขจัดความแบ่งแยก เรียนรุ้ที่จะทำงานร่วมกับผุ้อื่น และพัฒนาความมั่นใจในตนเองจุดมุ่งหมายดังกล่าวของนโยบายการศึกษาของรับบาล ก็เพื่อจะสร้างระบบการศึกษาซึ่งก่อให้เกิดสังคมของการเรียนรุ้ที่สมารถเผชิญหน้ากับคท้าทายในยุคแห่งการเรียนรู้
           นอกจากนั้น กระทรวงการต่างประเทศของเมียนมาร์ที่ได้กล่าวถึงการศึกษาของเมียนมาร์ ดังนี้
            "เด็กในวัยเรียนทุกคนต้องอยู่ในโรงเรียน" และ "การศึกษาสำหรับทุกคน" เป้นคำขวัญซึ่งเป้นแนวทางในการจัดการศึกษาของประเทศเมียนมาร์ เพื่อให้ทันกับยุคข้อมูลข่าวสารในปัจจุบยัน โรงเรียนมัธยมและโรงเรียนประถมศึกษาได้มีการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยให้นักเรียนได้มีความคุ้นเคยกับสืออิเล็กทอรนิกส์ แต่อย่างไรก็ตามวิธีการที่สมบุรณ์แบบ นั่นก็คือการพัฒนาด้านจิตใจ ให้มีศีลธรรมภายในร่างกายที่มีสุขภาพดี โรงเรียนได้ฝึกฝนนักเรียน ใด้านศีลธรรมและพฤ๖ิกรรมการอยู่ร่วมในสััคม เพื่อสนับสนุนจุดประสงค์นี้ต่อไปโรงเรียนของัดจึงได้รับการฟื้นฟูขึ้นมา
              ระดับประถมศึกษา
              การศึกษาในระดับประถมศึกาาเป้นช่วงเรียนแรกของการศึกษาขั้นพื้นฐานและเป้ฯการศึกษาภาคบังคับ ระยะเวลบาเรียนประมาณห้าปีที่ซึ่งรวมในปีที่รับเข้าม แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือประถมศึกษาตอนต้น ตั้งแต่ เกรด 1-3 และระดับประถมศึกาาตอนปลาย คือ เกรด 4 และเกรด 5 ในการับเข้าศึกษาในระดับปรถมศึกษานั้นจะรับนักเรียนที่มีอายุประมาณ 5 ขวบ แต่บลางครั้งก็มีนักเรียนบางคนเข้าเรียนในขณะที่มีอายุเกิน 6 ขวบก็มี และเมื่อจบการศึกษาระดับประถมศึกษาแล้วนักเรียนะต้องผ่านการทดอสอบ
            ระดับมัธยมศึกษา
            ระดับมัธยมศึกษาเป้ฯการศึกษาในช่วงที่ 2 ของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งใในระดับมัธยมศึกษาแบ่งระดับออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (เกรด 6-9) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเกรด 10-11 เมื่อนักเรียนจบระดับมัะยมศึกษาตอนต้น นักรเียนจะต้องผ่านการทดสอบความรู้พื้นฐาของมัะยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย
            ลาว ภายหลังเปลี่ยนการปกครองเมือปี ค.ศ. 1975 (พ.ศ. 2528) เป้นต้นมา ลาวได้ใช้ระบบการศึกาาเป้นปบบ 11 ปี คือ ระบบ 5 3 3 โดยแบ่งออกเป็นระบบการศึกษา 3 ประเภทด้วยกัน คือ
            สามัญศ฿กาา ประกอบด้วย
            - ระดับเตรียมอนุบาลและอนุบาล 3 ปี
            - ประถมศึกษา 5 ปี ใช้เวลาในการศึกษา 5 ปี
            เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมืออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป้ฯการศึกษาภาคบังคับง เด็กทุกคนต้องจบการศึกษาในระดับนี้ แต่ในทางปฏิบัติการศึกษาภาคบังคับจะมีผลดีแต่เฉพาะเด็กในเมืองใหญ่เท่านั้นเนื่องจากลาวมีพื้นที่ประเทศกว้างขวางและประชกรกระจายกัน
            ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี ใช้เวลาในการศึกษา 3 ปี และในอนาคตจะให้เด็กได้เรียนภาษาอังกฤษเพิ่มมากขึ้น
             อาชีวะศึกาา ประกอบด้วย
             - ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพและช่างเทคนิค
             - ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
             วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย ประกอบ้ดวย วิทยาลัย มี 38 แห่ง และมหาวิทยาลัย 3 แห่งมหาวิทยาลัยทั้ง 3 แห่งได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาวนครเวียงจันทน์ ซึ่งใช้เวลา 5-7 ปี ประกอบไปด้วย 6 วิทยาเขต 10 คณะวิชา ใน พ.ศ. 2551 ได้เปิดสอนระดับปรญญาเอก เป็นโครงการร่วมมอกับมหาวิทยาลัยเศรษฐกิจของเวียดนาม มหาวิทยาลัยสุพานุวง แขวงหลวงพระบางมหาวิทยาลัยจำปาสัก แขวงจำปาสัก
             การศึกษานอกระบบโรงเรียนแบ่งเป้ฯ 4 ประเภท คือ
             - การฝึกอบรมผุ้ใหญ่ที่อ่านและเขียนหนังสือไม่เป็น
             - การยกระดับวิชาชีพแก่ผุ้ใหญ่และการยกเระดับวิชาชีพแก่เจ้าหน้าที่และพนักงาน
             - การศึกาาภาคเอกชน ที่ทางรัฐบาลอนุญาตให้ทางเอกชนจัดระบบการเรียนการสอนในระดับอนุบาล จนถึงปริญญาตรี ปรญญาโทและปรญญาเอก
             - โรงเรียนสงฆ์ ตั้งอยู่ในหลวงพระบาง ซึงได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐเป็นอย่างดีและเก็บค่าเล่าเรียนในอัตราที่ถุก คือ 35,000 กีบหรือประมาณ 140 บาทต่อปี ทำให้มีผุ้มาบวชเรียนจำนวนมาก แต่จำกัดเฉพาะเพศชายเท่านั้นบ่อเกิดของสิทธิในการศึกษาภาคใต้กรอบนโยบายของลาว
           
.. บางส่วนจาก รวมบทความเรื่อง "การจัดการการศึกษาในประชาคมอาเวียน และคู่เจรจา : สิงคโปร์ บรูไน ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย เวียดนาม พม่า และลาว : จีน อินเดีย ญี่ปุ่น และนิวซีแลนด์", โดยคณะนักศึกษาหลักสุตรศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัฒฑิต ปีการศึกษา 2556 สาขาวิชาการจัดการการศึกษา วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
             กัมพูชา การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และเศราฐกิจสังคม นำไปสู่การปฏิรูปด้านการศึกษาของกัมพุชาก่อนปี พ.ศ. 2518 ได้ยึดระบบการศึกษาแบบฝรั่งเศสซึ่งให้มีการศึกษาภาคบังคับ 13 ปี ( 6+1) ภายหลังปี พงศ. 2522 กระทรวงศึกษาฯ ใช้ระบบการศึกษาแบบ 10 ปี 4+3+3 และต่อมาได้ขยายเป็นแบบ 11 ปี และใช้สืบเนื่องจากปี พ.ศ. 2529 -2539 กระทรวงศึกษาฯ ยังคงดำเนินการพัฒนาระบบการศึกษา มีการปฏิรูปหลักสูตรมีการพัฒนาตำราเรียนใหม่และนำเทคนิคการสอนใหม่ๆ มาหใ้กับครูเพื่อเตรียมสำหรับการนำระบบการศึกษาแบบ 12 ปีมาใช้ 6+3+3 ในปีการศึกาา 2539-2540 โดยระบบใหม่นี้ จะแบ่งเป็นการศึกษาก่อนประถมศึกษา 3 ปี ประถมศึกษา 6 ปี มัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี และระดับอุดมศึกษา 4-7 ปี ส่วนการจัดการศึกษาด้านอาชีวะและเทคนิคจัดให้ตั้งแต่ 1 ปี ไปจนถึง 3-5 ปีการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกาานี้บางสถบันการศึกษาอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงเกษตรสาะารรสุขหรือแรงงานการจัดการศึกษานอกระบบจะเน้นการฝึกทักษะให้กับประชาชนsites.google.com/site/kamphucha5089/kar-suksa
              มาเลเซีย รัฐบาลของประเทศมาเลเซียต้องการพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางของความเป็นเลิศทางด้านการศึกษาในภูมิภาคนี้โยมีการวางแผนพัฒนายุทธศาสตร์ด้านการศึกษาอย่างต่อเนื่องผลของการพัฒนาเห้ฯได้ชัดจากการที่มีนักเรียนต่างชาติเดิมนทางเข้ามาศึกษาที่ประเทศมาเลเซียสุงมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง และในปัจจุบันมีนักเรียนนักศึกษาต่างชาติมากถึง 50,000 คน จากประเทศต่างๆ กว่า 100 ประเทศ แสดงให้เห็นถึงความพร้อมของการศึกษาระดับนนาชาติที่มีคุณภาพ ประกอบกับหลักสูตรที่มีความหลากหลายเป็นที่ยอมรับ และมีราคาที่เหมาสมด้วย
              ระบบการบริหารการศึกษาของประเทศมาเลเซีย อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการแบ่งระดับการบริหารเ็น 5 ระดับคือ ระดับชาติ ระดับรัฐ ระดับอำเภอ ระดับกลุ่มโรงเรียน และระดับโรงเรียน การบริหารโรงเรียนระดับชาติอยุ่ในความควบคุมของรัฐบาลกลาง การศึกษาทุกประเภทอุกระดับอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการเพียงกระทรวงเดียว ยกเวนการศึกษาที่มีลักษณะเป้นการศึกษานอกระบบจะมีกรมจากกระทรวงอื่นที่เกี่ยวข้องรับผิดชอบ เช่น กรมแรงงาน กรมเกษตร เป็นต้น
               ระบบการจัดการศึกษาของมาเลเซีย เป็นระบบ 6:3:2 คือระบบการศึกษาของมาเลเซียจัดอยุ่ในระดับที่มีมาตรฐานสุงตามแบบของประเทศอังกฤษ สถาบันการศึกาาส่วนใหย่จะใช้ภาาาอังกฤษเป้นสื่อในการสอน ระบบการเรียน การสอนแบบ ทิวินนิ่ง โปรแกรมเป้ฯระบบที่ได้รับความนิยมอย่างมกเป้ฯการร่วมมือกับสถาบันในประเทศ อเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ แคนนาดา สวิสเซอร์แลนด์ ฯลฯ
               การศึกษาในประเทศมาเลเซียน ระดับประถมศึกษาหลักสุตร 6 ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หลักสุตร 3 ปีการศึกษา, ระดับมัธยมศึกาาตอนปลาย หลักสูตร 2 ปีการศึกษา, ระดับเตรียมอุดมศึกษา หลักสูตร 1 หรือ 2 ปีการศึกษา, ระดับอุดมศึกษา หลักสุตรเฉลี่ยประมาณ 3 ปีครึ่ง ถึง 4 ปีการศึกษาwww.sjworldedu.com/country/malaysia/malaysia-education-system/
              ไทย ระบบกรศึกาาในโรงเรียนของประเทศไทยนั้นจะแบ่งการศึกษาออกเป็น 4 ช่วงชั้น คือ 1 ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3, 2) ตั้งแต่ระดับชั้นที่ 1 ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 3) ระดับชั้นมัธยมึกษาตอนต้น (มัธยมศึกษา 1-3) และ4 คือระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย(มัธยมศึกษาปีที่ 4-6) โดยในชั้นที่ 4 นอกจากจะมีการจัดการศึกษาในสายสามัญแล้ว ยังวีการจัดการศึกษาในสายอาชีพด้วย ซึ่งในระดับชั้น ปวช. 1-3 นั้นจะเทียบเท่ากับระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโดยนักเรียนที่เลือกสายสามัญมัมีความตั้งใจที่จะศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ส่วนนักศึกษที่เลือกสายอาชีพมักวางแผนเพื่อเตรียมพร้อมสู่การจ้างงานและศึกษาเพิ่มเติม
           นอกจากนี้นักเรียนตะต้องสอบข้อเขียนของโรงเรียนแล้ว นักเรียนจำเป็นจ้องมีคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ(โอเน็ต) ซึ่งมีการจัดสอบในช่วงปลายภาคเรียนที่ 2 ของชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และปลายภาคเรียนที่ 2 ของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ยื่นประกอบในการพิจารณา ส่วนการทดสอบระดับชาติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จะนำไปใช้ใช้ในการรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย
           ประเทศไทยมีการแบ่งดรงเรียนออกเป็น 2 รูปแบบ คือ โรงเรียนรัฐและโรงเรียนเอกชน โดยโรงเรียนรัฐ นั้นจะบริหารจัดการโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือหน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ได้สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เช่น องค์กรโดยกลุ่มบุคคลหรือมูลนิธิต่างๆ ที่มีใบอนุญาตัดตั้ง ซึ่งโยส่วนใหญ่แล้วมักเป็นโรงเรียนที่มีส่วนเกี่ยวเนื่องกับศาสนาคริสต์ และศาสนอิสลามเป็นหลัก ในเขตชนบทของประเทศไทยนั้นหลายๆ โรงเรียนมีลักษณะเ็นโรงเรียนขยายโอกาศ คือ มีการจัดการเรียนการสอนระดับชั้นประถมศึกษา-ทัธยศึกษาตอนต้น หรืออาจมีการจัดการเรียนการสอนในระดับกาดรศึกษาปฐมวัยด้วยก็ได้ เนื่องจากการขาดแคลนงบประมาณทางการศึกษาแก่โรงเรียนชนบท ส่งผลให้นักเรียนที่อาศัยอยู่ในเขตชนบทเลืหกที่จะเข้ศึกษาต่อในโรงเรียนเอกชนมากกว่าดรงเรียนของรัฐ เนื่องจากมีความเชื่อมั่นว่าคุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรียนเอกชนอยู่ระดับมรตรฐานที่ดิ หรือเข้าศึกษาต่อในเขตเมืองของจังหวัดนั้นๆ th.wikipedia.org/wiki/การศึกษาในประเทศไทย#.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.A8.E0.B8.B6.E0.B8.81.E0.B8.A9.E0.B8.B2.E0.B8.82.E0.B8.B1.E0.B9.89.E0.B8.99.E0.B8.9E.E0.B8.B7.E0.B9.89.E0.B8.99.E0.B8.90.E0.B8.B2.E0.B8.99
             
             
           

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)