.. ตอนที่ 2 กรศึกาาเชิงเปรีบเทียบ การรวบรวมข้อมุลที่เกียวกับจุดเด่นของนธยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน มีผลการวิจัน 4 ขั้นตอนดังนี้
- นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเวียนมีจุดเด่นทีคล้ายกันคือ การขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง การยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดรับกับความก้าวหน้าทางวิทยาศสตร์และเทคโนโลยี
- องค์ประกอบต่างๆ มีผลต่อระบบการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนที่ส่งผลทำให้ระบบการศึกษามีความแตกต่างกันคือ การเคยเป้ฯประเทศในอาณานิคมของต่างชาติ ศาสนาประจำชาติ จำนวนประชากร ผลิตภัฒฑ์มวลรวมในประทเศ และอันดับอัตราเฉพลี่ยการรุ้หนังสือของประชากร
2.1 ขั้นตอนการเปรียบเทียบ

2.1.2. การวางหลักเกณฑ์ที่จะนำมาเปรียบเทียบ ผู้วิจัยได้ดำเนินการวางหลักเกฑณ์ที่จะนำมาเปรียบเทียบ โดยได้ดำเนินการศึกษาเปรียบเทียบข้อมูบนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกาาของประเทศในประชาคมอาเซียน
2.1.3 การตั้งสมมติฐาน ผู้วิจัยได้ดำเนินการตั้งสมมติฐานเพื่อใช้สำหรับเป้นแนวทางในการศึกษาเปรียบเทียบนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนดังนี้
2.1.3.1 ปรเทศในประชาคมอาเซียนที่มีระบบการเมืองการปกครองต่างกันส่งผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีความต่างกัน
2.1.3.2 ประเทศในประชาคมอาเซีนทีมีสภาพทางภูมิศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรม จำนวนประชากร และสภาพการณ์ทางเศรษบกิจต่างกัน ส่งผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีความแตกต่างกัน
2.2 ขั้นตอนการเปรียบเทียบ
2.2.1 ประเทศในประชาคมอาเวียนที่มีระบอบการเมืองการปกครองต่างกัน สงผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกาามีความต่างกันซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้ จากการศึกษาพบว่า ประเทศในประชาคมอาเซียนส่วนใหย๋มีระบอบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยคิดเป็นร้อยละ 60 ของประเทศในประชาคมอาเซียนทั้งหมด ซึ่งประเทศที่มีระบอบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยจะกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่เน้นในเรื่องการยกระดับมาตรฐานคุณภาพทางการศึกาาแลการปฏฺิรูปโครงกสร้างและการบริหารจัดการการศึกษา ส่วนประเทศที่มีระบอบการปกครองในระบอบอื่นๆ จะเน้นการกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่เน้นการกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่เน้นในเรื่องความเสมอภาคการขยายโอกาศทางการศึกษาให้ทั่วถึง การเติมเต็มความต้องการแห่งชาติ รวมทั้งการกำหนดนโยบรายการศึกษาให้เป็นยุทธศาสตร์สำคัญส่วนหนึ่งของประเทศเป็นหลัก

จ่าย แต่ในขณะเดียวกันนโยบายการพันาคุณภาพการศึกษาจะแตกต่างกันในเรื่องความพร้อมและศักยภาพทางด้านการระดมทุนทั้งวบประมาณและทรัพยากรสนับสนุนอื่นๆ นอกจากนี้ ประเทศในประชาคมอาเซียนส่วนใหญ่ได้รับอทธิพลการปกครองที่เคยเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตกมาก่อนอย่งยาวนาน ดังนั้น จึงทำให้ยังคงมีรูปแบบวัฒนธรรมความเป้ฯอยุ่ที่มีลักษณะเฉพาะของตนเองส่งผลทำให้การกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษายังคงยึดแบบอย่างตามรูปแบบประเทศตะวันตก เ่น ระบบการศึกษา การรวมศูนย์อำนาจทางการศึกาาอยู่ที่ส่วนกลาง และหลักอุดมกาณ์แห่งชาติ เป็นต้น..
...บางส่วนจาก งานวิจัย "นโยบายการพัฒนคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนโดยใช้วิธีการศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช เบอร์เรเดย์" โดย จุมพล ยงศร, จาก วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2554) , หน้า43-58.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น