วัฎจักรน้ำ หมายถึงมวลน้ำที่กระจายตามแหล่งต่างๆ มีการหมุนเวียนเปลี่ยนสถานะและตำแหน่งที่อยู่ระหว่งพื้นน้ำ บรรยากาศและพื้นดินตลอดเวลา หากอยู่ในสภาพเป็นน้ำทะเลจำนวนมากจะเกิดผลต่อการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเลมีผลต่อแผนดินและสิ่งมีชีวิตในพื้นที่ชายฝั่งทะเล ซึ่งปัจจบุันพบว่า การใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลจำนวนมากก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกเกิดภาวะโลกร้อน อุณหถูมิผิวโลกเพื่อสูงขึ้น น้ำแข็งบริเวณขั้นโลกฃะลาย ทำให้ระดับน้ำทะเลยกตัวสูงขึ้น ซึ่งมีคุณสมบัติทางกายภาพของน้ำเทะเลที่สำคัญ ได้แก่
1. ความเค็มของน้ำทะเล เกิดจากเกลือแร่ธาตุต่างๆ ที่ละลายอยู่ในมวลน้ำ แร่ธาตุที่ม่ีอยู่น้น้ำทะลในปริมาณมาก ได้แก่ โซเดียมและคอลอรีน รองลงไป ได้แก แมกนีเซียน ซัลเผิร์ แคลเซียน โปแตสเซียน หน่วยวันความเค็มของน้ำทะเลคือ "ส่วนต่อพันส่วน" โดยปกติความเค็มของน้ำทะเลมีค่าเฉลี่ยประมาณ 35 ส่วนต่อพันส่วน และจะแปรเปลียไปตามฤดูกาล ปริมาณ น้ำฟ้า อัตราการระเหย ตำแหน่งที่ตั้ง และระยทางที่ทำจากปากแม่น้ำหรือชายฝั่ง
2. อุณห๓มิ เป้นปัจจัยหลักที่กำหนดการกระจายชนิดและความอุดมสมบูรณ์ของสิ่งมีชีวิตในทะเล สัตว์ในทะเลส่วนใหย่เป็นสัตว์เลือดเย็น ไม่สามารถปรับอุณหภูมิในร่างกายตามสภาพแวดล้อมได้ อุณหภูมิในน้ำทะเลแม้จะเป้นช่วงที่แคบๆ ก็จะมีผลต่อส่ิงมีชีวิตในทะเล
3. ควาเป็นกรดด่างน้ำทะเล ส่วนมากน้ำทะเลมีค่าความเป้นกรดด่งที่ pH8 หากน้ำทะเลิเวณใดมีการละลายคาร์บอนไดออกไซด์มากน้ำทะเลก็จะมีค่าเป้นกรดมาก และหากบริเวณใดที่มีอัตราการสังเคราะห์แสงในน้ำทะเลสูงหรือมีการใช้คาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำมาก ก็จะทำให้ค่าเป็นด่างมากขึ้น
4. ความหาแน่นของมวลน้ำทะเล จะมีปฏิภาคตรงกับค่าคามเค็มของน้ำทะเล และมีปฏิภาคกลับกับอุณหภูมิของน้ำทะเลโดยมลน้ำที่มีความหนาแน่นน้อยจะลอยเหนือมวลน้ำที่มีความหนาแน่นมาก โดยช่วงน้ำทะเลที่มีการเปลี่ยนความหนาแน่นเรียกว่า พีคโนลีน...
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ได้ดำเนินการสำรวจและตรวจสอบสถานกาภาพสิ่งแวดล้อมในระบบนิวเศต่างๆ ในพื้นที่ชายฝั่งทะเล ประกอบด้วย คุณภาพน้ำทะเลทั่วไป ได้แก่ ความเค็ม อุณหภูมิ ความเป็นกรดด่าง ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ ตะกอนแขวนลอย และปรมาณสารอาหาร เป้ฯต้น และคุณภาพสิ่งแวดล้อมอื่นๆ เช่น ปริมาณแพลงก์ตอนพืช ประมาณแบคที่เรีย กลุ่มดคลิฟอร์ม และสารปนเปื้อนประเภทน้ำมัน(สารปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอน)
ข้อมูล สานะการณ์คุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่ชายฝั่งทะเลในรอบ 5 ปี ดังกล่าวน้จะเป้ฯประโยชน์ในการติดตามการเปล่ยยแปลงและการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง โดยสรุปแยกต่ามพื้นที่ดังนี้ คุณภาพน้ำทะเลอ่าวไทยฝั่งตะวันออก, คุณภาพน้ำะเลอ่าวไทยตอนบน, คุณภาพน้ำทะเลอ่าวไทยตอนกลาง, คุณภาพน้ำทะเลอ่าวไทยตอนล่าง, คุณภาพน้ำทะเลทะเลอันดามัน
อ่าวไทย มีลักษณะเป็นเอสทูรีแบบแม่น้ำในไุบเขาที่จมน้ำ ก้นทะเลเคยเป้นที่ราบที่เยโผล่พ้นน้ำมาก่อน บนก้นทะเลจะมีร่องน้ำโบราณที่ต่อกับแม่น้ำในปัจจุบัน เช่น แม่น้ำแม่กลอง แม่น้ำบางปะกง แม่น้ำจันทบุรี ร่องน้ำชุมพรร่องน้ำหลังสวน ร่องน้ำสงขลาที่ก้นอ่าวมีแม่น้ำสคัญ 4 สาย ไหล่ลงสู่อ่าว คือ แม่กลอง ท่าจีนเจ้าพระยา และบางปะกง ตามลำดับ นอกจากนี้ฝั่งซ้ายและขวาของอ่าวไทยยังมแม่น้ำสายสั้นๆ ที่ไหลลงสู่อ่าวอีกหลายสาย อ่าวไทยเป็นแอ่งรอบรับตะกอนจากแม่น้ำที่ไหลลงสุ่อ่าว จากากรสำรวจพื้นท้องทะเลของกรมอุทก-ศาสตร์พบว่าท้องทะเลกลางอ่าวเป้นโคลนปนทราย หรือโคลนส่วนท้องทะเลอายไทยฝั่งตะวันตกจะเป้นโคลนปน-ทราย โคลนปนทรายขี้เป็ด ทรายปนโคลนและทราย เป็นแห่งๆ ไป รายละเอียดข้อมูลสมุทรศาสตร์ชายฝั่งอ่าวไทย มีดังนี้
- ความลึกของพื้นผิวทะเล มีท้องทะเลคล้ายแอ่งกะทะ ส่วนที่ลึกที่สุดของอ่าวไทยมีความลึกประมาณ 80 เมตร บริเวณร่องน้ำลึกกล่วอ่าว มีความลึกมากกว่า 50 เมตร และยาวเข้าไปจนถึงแนวระหว่างเกาะช้าง จ. ตราด กับอ.บางสะพานใหญ่ จ.ประจวบคีรีขันธ์ ส่วนก้นอ่าว คือ อ่าวไทยตอนบนหรืออ่าวไทยรูปตัว "ก" มีรูปร่างสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดประมาณ 100x100 ตารางกิโลเมตร อ่ายไทยตอนบนมีความลลึกสูงเฉลี่ยในอ่ายไทยตอนบนประมษณ 15 เมตร โดยอ่ายไทยถูกกั้นออกจาทะเลจีนใต้ด้วยสันเขาใต้นำ้ 2 แนวทางฝั่งซ้ายและขวาของอ่ายสันเขาได้น้ำฝั่งซ้ายมีความลึกประมาณ 50 ม. เป็นแนวยาวจากโกตา-บารู(รองน้ำโกลก์) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 160 กิโลเมตร ทางฝังขวามีความลึกประมาณ 25 เมตร เป้นแนวยาวจาแหลมคาเมาไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 100 กิโลเมตร และในบริเวณร่องน้ำลึกมีชั้นแนวตั้งของเปลือกโลก ณ ที่ความลบึกประมาณ 67 ม. กั้นอยู่ซึ่งจะเป็นเสมือนตัวควบคุมการไหลของน้ำระดับล่างในอ่าวไทย
2. กระแสน้ำ กระเสน้ำเนืองจากลมเหนือผิวน้ำ ลมหรือแรงเฉือย เนื่องจากลมทำให้เกิดชั้นมวลน้ำผิวหน้าที่เคล่อนที่เนื่องจากลม เรียกชั้นน้ำว่า wkman tranport ตามทฤษฎีแล้วลมจะทำให้น้ำผิวหน้าเคลื่อนที่เบี่ยงไป 45 องศาทางขวาของทิศทางลมในซีกโลกเหนือ ใต้ผิวน้ำลงมาทิศทางกระแสน้ำจะเบี่ยงมากกว่า 45 องศา ขึ้นเรื่อยๆ จนถึงเบื้องล่าวของชั้นน้ำ ทิศทางของกระแสน้ำจะตรงกันข้ามกับกระแสน้ำผิวหน้า การเคลื่อนที่ของมวลน้ำสุทธิอยู่ในทิศ 90 องศา ทางขวามือของทิศทางลม ส่วนกระแสน้ำเนื่องจากน้ำท่า ทำให้เกิดการไหลเวียนของน้ำแบบ Gravitational circulation กล่าวคือ น้ำท่าจะไหลออกสู่ทะเลทางชั้นบนขณะที่เหนี่ยวนำให้น้ำทะเลไหลเข้าแม่น้ำทางด้านล่าง น้ำท่าจะมีความหนาแน่นต่ำหว่าน้ำทะเลจึงลอยตัวอยู่เหนือน้ำทะเลจนกว่าจะมีกระแสน้ำ คลื่อน ช่วยเร่งการผสมผสานน้ำท่ากับน้ำทะเลด้านล่างเกิดเป็นน้ำชายฝั่งซึ่งมีความเค็มต่ำกว่าน้ำทะเล น้ำท่าจะมผลต่อความเค็มของน้ำในอ่ายค่อนข้างมาก และมีผลต่อการไหลเวียนของน้ำในอ่าวค่อนข้างน้อย เนื่องจากปริมาณน้ำท่าที่ไหลลงอ่าวไทยต่อปีน้อยกว่าปริมาณน้ำในอ่าวค่อนข้างมาก
กระแสน้ำเนื่องจากความแตกต่างของความหนาแน่นน้ำ ความหนาแน่นน้ำที่แตกต่างกันทำให้เกิดการไหลเวียนของน้ำทั้งในแนวราบและแนวดิ่ง ผลการศึกษา พบว่า ในกระแสดน้ำในมหาสมุทรในซีกโลกเหนือจะไหลตั้งฉากกับเส้นความเอียง ของความหนาแน่นของมาลน้ำผิวหน้าในลักษรที่มวลน้ำที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าจะอยู่ทางขวามือของผุ้สังเกต เมื่อผู้สังเกตหันหน้าไปทางแนวทางการเคลื่อนที่ของกระแสน้ำ
- การขั้นลงของน้ำทะเล การขึ้นลงของน้ำทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลอ่าวไทย เป็นแบบน้ำเดี่ยว คือเกิดน้ำขึ้น 1 ครั้งและ น้ำลง 1 ครั้งต่อวัน เนื่องจากอ่าวไทยเป็นอ่าวตื้น มีก้นอ่าวขรุขระไม่ราบเรียบการเดินทางของคลื่นน้ำขึ้น-ลง จึงไม่สม่ำเสมอกัน เมื่อคลื่นน้ำขึ้นเดินทางเข้ามาในอ่าวแล้ว ก็จะสะท้อนกลับทำให้เกิดแรงหักลางกันและเป้นผลให้มีน้ำขึ้นน้ำลงเหลือเพียงวันละหนึ่งครั้ง และการขึ้นลงของน้ำทะเลบรเิวณชายฝ่งทะเลอ่ายไทยยังมีลักาณะป็นแบบน้ำผสม คือมีการขึ้น-ลงของน้ำทะเลสองครั้งต่อวัน แต่ระดับน้ำทะเลที่มีขึ้นลงสองครั้งมีขนาดไม่เท่ากันอีกด้วย ระดับการขึ้นลงของน้ำ ณ สถานีตรวจวัดของกรมอุทกศาสตร์กองทัพเรือทีเ่กาะปราบ จ.สุรษษฎร์ธานี มีระดับน้ำขึ้นสูงสุดและน้ำลงต่ำสุด เท่ากับ 2.93 และ 0.32 เมตร ตามลำดับ ช่วงความแตกต่างของน้ำทะเล เท่ากับ 2.61ม.
- คลื่นและลมมรสุม มีคลื่อนเกิดตามช่วงมรสุม โดยมรสุมตะวันอกเฉียงเหนือจะทำให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่กว่าปกติในบริเวณด่าวไทยด้านตะวันตก สวนลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะทำให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่กวาปกติในบริเวณอ่ายไทยด้านตะวันออก สำหรับอ่าวไทยปกติคลื่นในอ่ายไทยจะมีขนาดเล็กความสุงประมาณ 1-2 ม. ส่วนคลื่นที่มีผลกระทบต่อชายฝั่งจะต้องพิจารณาถึงคาบของคลืน ด้วย เช่น คลื่นขนาดเล็กที่มีคาบของคลื่นยาวจะก่อให้เกดผลกระทบมากว่าคลื่นขนาดใหญ่แต่คาบคลื่นสั้น...
ลักษณะชายฝั่งทะเลของพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน มัีลักาณะเป้ฯชายฝั่งทะเลยุบตัวลงหรือจมตัว ซึ่งเกิดการเปลี่ยนแปลงของลักษณะสัณฐานชายฝั่งครั้งใหญ่ เมื่อประมาณ 65 ล้านปีมาแล้ว ในยุคเทอร์เชียร์รี่ การจมตัวของชายฝั่งทำหใ้ชายใั่งทะเลของพื้นที่มีความลาดชันและเกิดเป็นแวไม่ราบเรียบ เว้าเเหว่ง มีอ่าวและเกาะแก่งมากมาย ที่เห้นได้ชัดเจน คือ บริเวณปากมแ่น้ำกระบุรี จ.ระนอง เกาะสำคัญ ได้แก่ เกาะภูมเก็ต เกาะตะรุเตา เกาะลันตา เกาะลิบง เกาะพระทองแ ละเกาะยาวใหญ่ บริเวณชายฝังทะลบางแ่ห่ง น้ำทะเลท่วมถึง มีป่าชายเลนขึ้นอยุ ตั้งแต่อ่าวพังงาลงไผภึงจังฟวักตรัง ปลพำบร่แงรแยหารหักดซาพปนวชายฝั่งตามแ่นวชายฝั่งตามอ่าวต่างๆ บ้างเช่นบริเวณอ่ายฉลอง อ่ายภูเก็ต อ่าวราไวย์ และอ่าวมะพร้าว เป็นต้น รอยละเอียด ข้อมุลสมุทรศาสตร์ชายฝั่งทะเลอันดามัน มีดังนี้
- ความลึกของพื้นผิวทะเล บริเวณชายฝั่งทะเลของพื้นีกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน แบ่งได้ 2 พื้นที่ตาเส้นชั้นความลึกของน้ำทะเล ซึงก่อให้เกิดความหลากหลายของแนวปะการังทั้งชนิดและปริมาร คือ ผิวพื้นทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลจังหวัดระนอง พังงาฝั่งตะวันตกและภูเก็ตฝั่งตะวันตก ทรวดทรงของพื้นทะเลมีความลาดชันสุง มีความลคกน้ำเฉลี่ยแระมาณ 1,000 เมตรโดยเฉพาะบริเวณแอ่งอันดามันซึ่งเป็นบริเวณที่ทะเลไทยมีความลึกมากที่สุด ประมาร 3,000 ม. ลักษระพื้นทะเลเป็นทรายและทรายปนโคลน ในขณะที่พื้นผิวทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลบริเวณจังหวัดพังงาฝั่งใต้ ภูเก็ตฝั่งตะวันออก กระบี่ และตัง มีความลาดเทน้อย ส่วนของไหล่ทวีมีความลึกไม่เกิด 300 ม.
- กระแสน้ำ ในทะเลอันดามันบริเวณพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม ก่อให้เกิดการไหลเวียนของน้ำในทิศทางต่างๆ ซึงอาจแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ กระแสน้ำที่มีทิศทางไม่แน่นอน บริเวณชายฝั่งทะเลด้านใต้จังหวัดระนอง แลภูเก็ตฝังตะวันตก และกระแสน้ำที่มีทิศทางแน่นอน พบบริเวณชายฝั่งทะเลด้านเนหือของจังหวัดระนอง ด้านใต้และด้านตะวันอกของจังหวัดภูเก็ต สรุปได้ดังนี้
กระเสน้ำบริเวณชายฝั่งทะเลด้านใต้จังหวัดระนอง และภูก็ตฝั่งตะวันตก มัลักาณะทิศทางไหลไม่นแน่นอน รูปแบบจะเปลี่ยนแปลงอยุ่ตลอดเวลา อาจเนื่องมาากลักาณะชายฝั่ง สภาพภูมิประเทศ หือเกิดจากการผสมผสานของลักษณะการเกิดของกระแสน้ำแต่ละประเภท ที่ไม่มีปรเภทหนึ่งประเภทใดแสดงลักษณะเด่นมาเป็นอิทธิพลต่อกัน โดยปกติและ้วถ้าเป็นทะเลปิดกระแสน้ำมักจะมีรูปแบบเป็น turbulence มากกว่าทะเลปิด
กระแสดน้ำบรเิวณชายฝั่งทะเลด้านเหนือของจังหวัดระนอง ด้านใต้และด้านตะวันออกของจังหวัดภูเก็ต มีลักษณะแบบtidal current เป็นไปตามรูปแบบอิทธิพลน้ำขึ้นน้ำลงโดยช่วงน้ำขึ้นกระแสน้ำจะไหลจากด้านใต้ของเกาะแมทธิวไปยังด้านตะวันออกสุ่ปากน้ำระนอง และไหลจากด้านใต้ของเกาะภูเก็ตไปยังด้านตะวันออกของเกาะบริเวณอ่าวพังงาและไหลในทิศทางตรงกันข้ามในช่วงน้ำลง โดยกระแสน้ำลักษณะต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อสภาพสิ่งแวดล้อมหลายประการ เช่น ความขุ่นของน้ำ ที่อยู่อาศยของสัตว์น้ำ เป็นต้น และยังเกิดอิทธิพลต่างๆ ใแต่ละฝั่งของพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามนไม่เหมือนกัน นอกจากนั้น รูปแบบของกระแสน้ำบริเวณจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดระนองดังกว่าง สงผลให้บริเวณใต้และด้านตะวันออกของเกาะภูเก็ตและบริเวณปากแม่น้ำระนอง ซึ่งกระแสน้ำมีทิศทางแน่นอนเป้นบางช่วง ทำให้การตกตะกอนและากรพัดพาตะกอนค่อนข้างดีกว่า เอื้ออำนวยต่ำการเกิดขึ้นและดำรงอยุ่ของป่าชายเลนในด้านนี้ดีกว่าด้านตะวันตก ซึ่งมีกระแสน้ำที่ไม่แน่นอน จะทำให้การตกตะกอนล่าชาและช่วยในการพัดพาตะกอนน้อย
การขึ้นลงของน้ำทะเล บริเวณชายฝั่งทะเลของพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน มัลักาณะเป็นแบบน้ำคู่หรือน้ำขึ้นลงวันละ 2 ครั้ง โดยมีระดับการขึ้นลงของน้ำ ณ สถานีตรวจวัดของกรมอุทกศาสตร์กองทัพเรือที่เกาะตะเภาน้อย จ.ภูเก็ต มีระดับน้ำขึ้นสุงสุดและน้ำลงต่ำสุด เท่ากับ 3.60 และ 0.38 ม. ตามลำดับ ช่วงความแตกต่างของน้ำทะลเท่ากับ 3.22 ม.
คลื่นและลมมรสุม บรเิวณชายฝั่งทะเลของพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามันด้านทิศตาะวันตก จะพบคลื่นผิวน้ำ ในระยะเวลานาน คือ ในรอบ 1 ปี จะมีระยะเวลาถึง 6 เดือน ที่มีลมและคลื่นเคลื่นเข้าสูชายฝั่งทะเลด้านทิศตะวันตกของพื้นที่ ดดยมีความเร็วปานกลางเฉลี่ยประมาณ 7.20 กิโลเมตรต่อชั่วโมงและความเร็วสูงสุดเฉพลี่ยประมาณ 69 กิโลเมตรต่อชั่วโม และก่อให้เกิดคลื่นสุง 0.43 และ 4.15 ม. ตามลำดับ ซึ่งมักจะเป็นคลื่นที่มีอทิธิลต่อการกัเซาะพังทลายของชายฝั่งได้ ส่วนบระิวณชายฝั่งด้านตะวันออกของ จ.ภูเก็ต จะพบว่า คลื่นมีอทิธพลต่อบริเวณนี้น้อยมาก ซึงทำให้บรเิวณส่วนใหญ่ โดยเฉพาะบริเวณอ่าวภูเก็ตจะมีอัตรการตกตะกอนค่อนข้างสุง อันจะเห้นได้จากตะกอนเลนบริเวณสะพานหินที่ขยายออกไปจากชายฝั่งจัทำให้พื้นท้องทะเลบรเวณนี้มีลักษณธตื้นเขินmarinegiscenter.dmcr.go.th/km/oceanography_doc5/#.Wb5xpbJJbIU
อาเซียนกับความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรม ด้านส่ิงแวดล้อม ได้เล็งเห็นความสำคัญของทรัพยากรชายฝั่งและทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน และมีเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ คือ สร้างหลักประกันเรื่องสิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่งว่าจะได้รับการพัฒนาอย่างยั่งยืน ระบบนเวศตัวอย่าง พืชและพื้นที่ดั้งเดิมได้รับการคุ้มครอง การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้รับการจัดการอย่างยั่งยืน และการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่งได้รับการปลูกฝัง โดยระบุไว้ในหมวด D ว่าด้วยการ "ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม" ในข้อ D7 "ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรชายฝั่งและทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน" โดยมีมาตการ ดังนี้
i. สร้างหลักรปะกันเรื่องการประสานงานระหว่างหนวยงานระหว่างประเทศและรายสาขาทั้งในระดับภูมิภาคและระดับประเทศเพื่อบรรลุการพัฒนาอาเซียนอย่างยั่งยืนในด้านสิ่งแวดล้อมทางชายฝั่งและทางทะเล
ii. เสริมสร้างศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานที่มีคุณภาพของน้ำทะเลแห่งชาติภายในปี 2558 โดยมฃยึดถือเกภฑ์น้ำทะเลที่มีคุณภาพของอาเซียน
iii. จัดตั้งเครือข่ายตัวแทนของพื้นที่คุ้มครองเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมที่วิกฤต ภายในปี 2558 โดยการดำเนินการตามข้อกำหนดของอาเวียนว่าด้วยพื้นที่ที่เป็นมรดกทางทะเลและข้อกำหนดของอาเวียนว่าด้วยพื้นที่ที่ได้รับการคุ้มครองแ่ห่งชาติ
iv. ส่งเสริมการอนุรักษณ์และการจัดการอย่างยั่งยืนสำหรับระบบนิเวศที่สำคัญในเขตชายฝั่งและสภานที่อาศัยของสัตว์ และพืชทะเล เช่น ความพยายามร่วมกันที่จะรักาและปกป้องอุทยานแห่งชาติทางทะเลในเขตพื้นที่รอยต่อ เช่น ข้อริเร่ิมสามเหลี่ยมปะการังว่าด้วยแนวปะการัง การประมงและความมั่นคงด้านอาหาร
v. เสริมสร้างขีดความสามารถและสักยภาพรวมทั้งผลประโยชน์ทางเศราฐกิจเพื่อชุมชนประมงและชุมชนชายฝั่งอื่นๆ ในการสนับสนุนการมีส่วร่วมอย่างแข็งขันในการส่งเสริมความยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อม
vi. ส่งเสริมการใช้ส่ิงแวดล้อมชายฝั่งและทางทะเลอย่างยั่งยืดดยการรณรงค์ปลูกจิตสำนึกโดยเน้นความสำคัญระดับโลกของสิ่งแวดล้อมชายฝั่งและทางทะเลในการรับมือกับประเด็นความมั่นคงทางอาหาร การทำนุบำรุงการให้บริการของระบบนิเวศ รวมทั้งปกป้องสิ่งแวดล้อมทางทะเล
vii. ส่งเสริมการประสรงสนระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนในการรับมือกับปัญหามลภาวะข้ามสืบเนื่องจากอุบัติเหตุน้ำมันรั่วในทะลและ
viii. ส่งเสริมความร่วมมือในการรับมือกับมลภาวะของสิ่งแวดล้อมชายฝังและทะเลที่มีแหล่งที่มาจากพื้นดินmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d7/
วันอาทิตย์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2560
วันเสาร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2560
Environmental policy : ASCC
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มีเป้าหมายที่จะทำใ้หประชาชนเกิดความตรกหนักรู้ถึงความเป้นประชาคมอาเซียนให้มีความคุ้นเคยต่อกันและรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อบรรลุเป้าหมายที่ต้องการให้ประชาชนในรัฐภาคีอาเซียนมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยแสดวงหารอัตลักษณ์ร่วมมกัน เพื่อที่จะสร้างสังคแห่งการแบ่งปันและใส่ใจระหว่างกัน รวมทั้งทำให้ความเป้นอยู่ของประชาชนคลอดจนสวัสดการต่างๆ ดีขึ้นด้วย
ความร่วมมืออาเซียนถูกดำเนินการโดยรัฐบาลในยุคสมัยต่างๆ และค่อนข้างขาดการมีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางจากภาคประชาช เนื่อจากอาเซียนยังมีกลไกที่ไม่ใคร่จะชัดเจนนัก ในการเปิดโอกาศให้ภาคประชาสังคมเข้าไปมีส่วนร่วม ดังนั้น นโยบายต่างๆ แม้แต่กฎบัตรอาเวียนที่กำหนดขึ้นมาก็มาจากการกำหนดจากรัฐบาลของกลุ่มประเทศอาเซียนทั้งสิ้น
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เน้นให้ความสำคัญในประเด็นของทรัพยากรมนุษย์ วัฒนธรรม และทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ตลอดจนทำให้เกิดความกลมเกลียวในหมู่ประชาชนอาเซียนwww.siamintelligence.com/asean-socio-cultural-community-ascc-blueprint/
พิมพ์เขียน (Blue Print) ของประชาคมสังคมและวัฒนาธรรมอาเซียน มี ลักษณะสำคัญ 6 ประการ คือ
- เพื่อให้เกิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
- เพื่อให้มีการคุ้มครองและให้สวัสดิการทางสังคม
- เพื่อให้เกิดการรักษาสิทธิและความยุติธรรมทางสังคม
- เพื่อให้เกิดความยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อม
- เพื่อให้สร้างอัตลักษณ์แห่งอาเซียน และ
- เพื่อลดช่องว่างทางพัฒนา
โดยในลักษณะสำคัญด้านส่ิงแวดล้อม หรือในหมวด D ข้อย่อย
D6 การทำการประสานกันเรื่องนโยบายด้านส่ิงแวดล้อมและฐานข้อมูล มีป้าหมายเชิงกลยุทธ : ส่งเสริมความพยายามที่เหมาะสมที่จะประสานนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมและฐานข้อมูลที่ละขั้นโดยคำนึงถึงสภาวะแวดล้อมระดับชาติของรัฐสมาชิก เืพ่อสนับสนุนการบูรณาการด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและเป้าประสงค์ด้านเศรษฐกิจของภูมิภาค
มาตรการ
i. มุ่งไปสู่การดำเนินการตามเกณฑ์สิบสามข้อ อันดับแรก ด้านสิ่งแวดล้อม และดำเนินความพยายามที่จะสร้างหลักประกันเรื่องการประสานในระดับภูมิภาคในเรื่องของการวัด การควบคุมและการรายงาน ภายในปี 2558
ii. มุ่งมั่นในเรื่องการประสานเรื่องมาตรฐานและ กระบวนการประเมินให้สอดคล้องสำหรับการดำเนินการและโครงการด้านสิ่งแวดล้อม ภายในปี 2558
iii. สานต่อการจัดทำรายงานสภาวะด้านสิ่งแวดล้อมตรงตามกำหนดเวลาเพ่ื่อประกอบการจัดทำนโยบายและการจัดการเรื่องผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
iv. ส่งเสริมแนวปฏิบัติทางด้านส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืน และการจัดการเรื่องสีเขียวในรัฐสมาชิกและพัฒนายุทธศาสตร์ระดับภูมมิภาคสำหรับอาเซียน ภายในปี 2558 และ
v. ส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคในเรื่องการประเมินยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการขนาดใหญ่และกิจกรรมอื่นๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมในภูมิภาคmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d6/
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างเป็นทางการในเดือนธันวาคม 2558 สร้างความตื่นตัวให้กับภาครัฐและภาคเอกชนในการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นทางเศราบกิจ สังคม การเมืองและความมั่นคง นักวิชาการหลายท่านได้คาดการณ์ถึงการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในประเทศสมาชิกอาเซียน 2 ลักษณะ ได้แก่ 1. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างพื้นฐานด้านกายภาพ เช่น การพัฒนาระบบขนส่ง โลจิสติกส์และพลังงาน 2. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างด้านกฎระเบียบและกฎหมาย ซึ่งต้องมีการแก้ไขให้เป็นไปตามพันธกรณีของประเทศสมาชิกที่มีอยู่ภายใต้กรอบอาเวียนและต้องกำหนดข้อยอมรบรวมกันระหว่างประเทศสมาชิก เพื่อให้เป้าหมายของการเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกันของอาเซียนประสบความสำเร็จมากที่สุด
การเปลี่ยนแปลงที่ 2 ด้าน ส่งผลดีต่อการขยายตัวของการต้า การบริการ และการลงทุนของอาเซียน แต่อาจนำไปสู่การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการผลิตและการบิโภคมากขึ้นซึ่งจะก่อใหเ้กิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติต่ออาเซียนในระยะยาว แม้ว่าประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน หนึ่งในเสาหลักของประชาคมอาเวียนได้กำหนดให้ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมเป็นหนึ่งในคุณลักษณะสำคัญของการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และรายงานการประเมินผลครึ่งแผนของแผนการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน หนึ่งในเสาหลักของประชาคมอาเซียนได้กำหนดให้ความยั่งยืนด้านส่ิงแวดล้อม เป็นหนึ่งในลักษณะสำคัญของการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และรายงานการประเมินผลครั้งแผนของแผนการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอวซียน ชี้ไให้เห็นว่าประเทศสมาชิกอาเซียนมีระดับความก้าวหน้าตามแผนของอาเซียนในการสร้างความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมเป็นที่น่าอใจ โดย ดัชนีความก้าวหน้าด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิกอาเว๊ยนมีการขยับขึ้อย่างต่อเนื่องทุกปี
แต่หากพิจารณาตัวชัีวัดตามแผนดังกล่าวพบว่า ยุทธศาสตร์ในการบรรลุความยังยืนด้านสิ่งแวดล้อมเน้น "ส่งเสริม"การรักษาสิ่งแวดล้อม และ "ตอบสนอง" ต่อปัญหาส่ิงแวดล้อมมากว่าการกำหนดตัวชี้วัดความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมที่เป็นรูปธรรม อาทิ การกำหนดคุณภาพแหล่งน้ำสาธารณะ วิธีการจัดการขยะและของเสียอันตราย และสัดส่งนการปล่อยกา๊ซคาณืบอนฯ ซึ่งเป้นมาตการในการป้องกันปัญหาส่ิงแวลลอ้มและสร้าวความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง
นอกจากนี้ เมื่อสำรวจสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมใน
ประเทศสมาชิกอาเซียนพบว่า พื้นที่ป่าไม้ของอาเวียนลดลงจากร้อยละ 55 ในปี 2543 เหลือเพียงร้อยละ 42.7 ในปี 2550 ด้านทรัพยากรดินเกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของดินจากการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างไม่เหมาะสมและการปนเปื้อนของสรพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพื่ชและปุ๋ยเคม และมีการบุกรุกพื้นที่ป่าซึ่งนำมาสู่ปัญหารการชะล้างพังทลายของหน้าดินและภัยพิบัติทางธรรมชาิตในที่สุ ทั้งนี อาเซียนเป้ฯภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสุงถึงร้อยละ 20 ของโลก แต่พันธุ์พืขชและสิ่งมีชีวิตในประทศสมาชิกอาเซียน ได้แก มาเลเซีย อินโดนีเซียน และฟิลิปปินส์ กลับถูกคุกคามเป็นจำนวนมากที่สุดตลาดจนปัญหาหมอกควันซึ่งเป้นปัญหาข้ามชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
แม้ว่าอาเซียนจะบรรลุ "ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลุพิษจากหมอกควัน"ตั้งแต่ปี 2545 แต่อินโดนีเซียซึีงเป็นแปล่งกำเนิดหมอกควันข้ามพรมแดนที่สำคัญกลัยให้สัตยาัน ความตกลงดังกล่าวเมือปี 255ึ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความลังเลของอินโดนีเซียนในการจัดการปัญหาหมอกควันอย่างจริงจัง เมื่อพิจารณากฎระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายภายในประเทศสมชิกที่เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพบว่า ประเทศสมาชิกอาเซียนมีระดับความครอบคลุมและความเข้มงดดของกฎหมายด้านทรัพยากรธรรมชาิตและส่ิงแวดล้อมที่แตกต่างกัน
โดยบรูไนไม่ได้กำหนดกรอบกำหมายด้านส่ิงแวดล้อมไว้โดยตรง แต่ข้อกำหนดด้านแวดล้อมจะปรากฎในกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางเศราฐกิจ
กัมพูชากำหนดกรอบแนวคิดการจัดการสิ่งแวดล้อมไว้ในรัฐธรรมนูญและกำหนดหน้าที่ของรัฐบาลในการปกป้องและรักษาสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งมีการประกาศใช้กฎหมายด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ อาทิ กฎหมายที่ดินและกฎหมายคุ้มครองพื้นที่ธรรมชาติ
สปป.ลาว ประกาศใช้กฎหมายและข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อม และกำหนดการประเมินผลกระทืบด้านส่ิงแวดล้อมก่อนการดำเนินกิจกรรมทางเศราบกิจบางประเภท เมียนมามีกฎมหายควบคุมโรงงาน กฎหมายด้านสุขอนามัยของสาธารณชน กฎหมายป่าไม้ การอนุรักษ์สัตว์ป่า กฎหมายเหมืองแร่ และกอรบนโยบายด้านส่ิงแวดล้อม
เมียนมามีกฎหมายควบคุมโรงงาน กฎหมายด้านสุขอนามัยของสาธารณชน กฎหมายป่าไม้ การอนุรักษ์สัตว์ป่า กฎหมายเหมืองแร่ และกอรบนโยบายด้านส่ิงแวดล้อม
สิงคโปร์ มีรัฐบัญญัติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมสูงถึง 30 ฉบับ ซึ่งครอบคลุมการควบคุมมลภาวะทางน้ำ อากาศ การเคลื่อยย้ายขยะมีพิษ การจราจร การวางแผนและการจัดการการใช้พื้นที่ การควบคุทการก่อสร้าง การอนุรักษณ์ทรัพยากรธรรมชาติและครอบคลุมถึงการสาธารณสุข
ในส่วนประเทศไทยมีการกำหนดนโยบายในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติหลายฉบับ รวมทั้งมีการกำหนดมาตรฐานคุณภาำแหล่งน้ำเืพ่อการอุปโภคบริโภคและน้ำทิ้งจากอาคารและโรงงานอุตสาหกรรม มาตรฐานคุณภาพอากาศ ระดับเสี่ยง และสารพิษพร้อมทั้งกำหนดการควบคุมมลภาวะด้านต่างๆ
กลไกของกฎหมายภายในประเทศสมชิกอาเซียนที่กล่าวมาข้าต้นแสดงห้เห็นว่าประเทศสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศให้ความสำคัญกับการจัดการทรัพากรธรรมชาิตและสิ่งแวดล้อมที่เข้มงวดน้อยกว่า เช่น สปป.ลาว และเมียนมา ย่อมส่งผลให้เกิดความเสื่อมโทรฒของทรัพยากรธรรมชาติและปริมาณมลพิษ โดยรวมของภูมิภาคเพิ่มสูงขึ้น อาเซียนจึงควรเร่งพัฒนาความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่จริงจังและมผลเป็นรูปธรรมในเชิงปฏิบติมากกว่ายุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมเดิมที่เน้นการสร้างความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีผลผูกและการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ปลายเหตุwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=3645&filename=index
ความร่วมมืออาเซียนถูกดำเนินการโดยรัฐบาลในยุคสมัยต่างๆ และค่อนข้างขาดการมีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางจากภาคประชาช เนื่อจากอาเซียนยังมีกลไกที่ไม่ใคร่จะชัดเจนนัก ในการเปิดโอกาศให้ภาคประชาสังคมเข้าไปมีส่วนร่วม ดังนั้น นโยบายต่างๆ แม้แต่กฎบัตรอาเวียนที่กำหนดขึ้นมาก็มาจากการกำหนดจากรัฐบาลของกลุ่มประเทศอาเซียนทั้งสิ้น
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เน้นให้ความสำคัญในประเด็นของทรัพยากรมนุษย์ วัฒนธรรม และทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ตลอดจนทำให้เกิดความกลมเกลียวในหมู่ประชาชนอาเซียนwww.siamintelligence.com/asean-socio-cultural-community-ascc-blueprint/
พิมพ์เขียน (Blue Print) ของประชาคมสังคมและวัฒนาธรรมอาเซียน มี ลักษณะสำคัญ 6 ประการ คือ
- เพื่อให้เกิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
- เพื่อให้มีการคุ้มครองและให้สวัสดิการทางสังคม
- เพื่อให้เกิดการรักษาสิทธิและความยุติธรรมทางสังคม
- เพื่อให้เกิดความยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อม
- เพื่อให้สร้างอัตลักษณ์แห่งอาเซียน และ
- เพื่อลดช่องว่างทางพัฒนา
โดยในลักษณะสำคัญด้านส่ิงแวดล้อม หรือในหมวด D ข้อย่อย
D6 การทำการประสานกันเรื่องนโยบายด้านส่ิงแวดล้อมและฐานข้อมูล มีป้าหมายเชิงกลยุทธ : ส่งเสริมความพยายามที่เหมาะสมที่จะประสานนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมและฐานข้อมูลที่ละขั้นโดยคำนึงถึงสภาวะแวดล้อมระดับชาติของรัฐสมาชิก เืพ่อสนับสนุนการบูรณาการด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและเป้าประสงค์ด้านเศรษฐกิจของภูมิภาค
มาตรการ
i. มุ่งไปสู่การดำเนินการตามเกณฑ์สิบสามข้อ อันดับแรก ด้านสิ่งแวดล้อม และดำเนินความพยายามที่จะสร้างหลักประกันเรื่องการประสานในระดับภูมิภาคในเรื่องของการวัด การควบคุมและการรายงาน ภายในปี 2558
ii. มุ่งมั่นในเรื่องการประสานเรื่องมาตรฐานและ กระบวนการประเมินให้สอดคล้องสำหรับการดำเนินการและโครงการด้านสิ่งแวดล้อม ภายในปี 2558
iii. สานต่อการจัดทำรายงานสภาวะด้านสิ่งแวดล้อมตรงตามกำหนดเวลาเพ่ื่อประกอบการจัดทำนโยบายและการจัดการเรื่องผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
iv. ส่งเสริมแนวปฏิบัติทางด้านส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืน และการจัดการเรื่องสีเขียวในรัฐสมาชิกและพัฒนายุทธศาสตร์ระดับภูมมิภาคสำหรับอาเซียน ภายในปี 2558 และ
v. ส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคในเรื่องการประเมินยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการขนาดใหญ่และกิจกรรมอื่นๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมในภูมิภาคmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d6/
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างเป็นทางการในเดือนธันวาคม 2558 สร้างความตื่นตัวให้กับภาครัฐและภาคเอกชนในการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นทางเศราบกิจ สังคม การเมืองและความมั่นคง นักวิชาการหลายท่านได้คาดการณ์ถึงการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในประเทศสมาชิกอาเซียน 2 ลักษณะ ได้แก่ 1. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างพื้นฐานด้านกายภาพ เช่น การพัฒนาระบบขนส่ง โลจิสติกส์และพลังงาน 2. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างด้านกฎระเบียบและกฎหมาย ซึ่งต้องมีการแก้ไขให้เป็นไปตามพันธกรณีของประเทศสมาชิกที่มีอยู่ภายใต้กรอบอาเวียนและต้องกำหนดข้อยอมรบรวมกันระหว่างประเทศสมาชิก เพื่อให้เป้าหมายของการเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกันของอาเซียนประสบความสำเร็จมากที่สุด
การเปลี่ยนแปลงที่ 2 ด้าน ส่งผลดีต่อการขยายตัวของการต้า การบริการ และการลงทุนของอาเซียน แต่อาจนำไปสู่การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการผลิตและการบิโภคมากขึ้นซึ่งจะก่อใหเ้กิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติต่ออาเซียนในระยะยาว แม้ว่าประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน หนึ่งในเสาหลักของประชาคมอาเวียนได้กำหนดให้ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมเป็นหนึ่งในคุณลักษณะสำคัญของการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และรายงานการประเมินผลครึ่งแผนของแผนการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน หนึ่งในเสาหลักของประชาคมอาเซียนได้กำหนดให้ความยั่งยืนด้านส่ิงแวดล้อม เป็นหนึ่งในลักษณะสำคัญของการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และรายงานการประเมินผลครั้งแผนของแผนการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอวซียน ชี้ไให้เห็นว่าประเทศสมาชิกอาเซียนมีระดับความก้าวหน้าตามแผนของอาเซียนในการสร้างความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมเป็นที่น่าอใจ โดย ดัชนีความก้าวหน้าด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิกอาเว๊ยนมีการขยับขึ้อย่างต่อเนื่องทุกปี
แต่หากพิจารณาตัวชัีวัดตามแผนดังกล่าวพบว่า ยุทธศาสตร์ในการบรรลุความยังยืนด้านสิ่งแวดล้อมเน้น "ส่งเสริม"การรักษาสิ่งแวดล้อม และ "ตอบสนอง" ต่อปัญหาส่ิงแวดล้อมมากว่าการกำหนดตัวชี้วัดความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมที่เป็นรูปธรรม อาทิ การกำหนดคุณภาพแหล่งน้ำสาธารณะ วิธีการจัดการขยะและของเสียอันตราย และสัดส่งนการปล่อยกา๊ซคาณืบอนฯ ซึ่งเป้นมาตการในการป้องกันปัญหาส่ิงแวลลอ้มและสร้าวความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง
นอกจากนี้ เมื่อสำรวจสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมใน
แม้ว่าอาเซียนจะบรรลุ "ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลุพิษจากหมอกควัน"ตั้งแต่ปี 2545 แต่อินโดนีเซียซึีงเป็นแปล่งกำเนิดหมอกควันข้ามพรมแดนที่สำคัญกลัยให้สัตยาัน ความตกลงดังกล่าวเมือปี 255ึ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความลังเลของอินโดนีเซียนในการจัดการปัญหาหมอกควันอย่างจริงจัง เมื่อพิจารณากฎระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายภายในประเทศสมชิกที่เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพบว่า ประเทศสมาชิกอาเซียนมีระดับความครอบคลุมและความเข้มงดดของกฎหมายด้านทรัพยากรธรรมชาิตและส่ิงแวดล้อมที่แตกต่างกัน
โดยบรูไนไม่ได้กำหนดกรอบกำหมายด้านส่ิงแวดล้อมไว้โดยตรง แต่ข้อกำหนดด้านแวดล้อมจะปรากฎในกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางเศราฐกิจ
กัมพูชากำหนดกรอบแนวคิดการจัดการสิ่งแวดล้อมไว้ในรัฐธรรมนูญและกำหนดหน้าที่ของรัฐบาลในการปกป้องและรักษาสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งมีการประกาศใช้กฎหมายด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ อาทิ กฎหมายที่ดินและกฎหมายคุ้มครองพื้นที่ธรรมชาติ
สปป.ลาว ประกาศใช้กฎหมายและข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อม และกำหนดการประเมินผลกระทืบด้านส่ิงแวดล้อมก่อนการดำเนินกิจกรรมทางเศราบกิจบางประเภท เมียนมามีกฎมหายควบคุมโรงงาน กฎหมายด้านสุขอนามัยของสาธารณชน กฎหมายป่าไม้ การอนุรักษ์สัตว์ป่า กฎหมายเหมืองแร่ และกอรบนโยบายด้านส่ิงแวดล้อม
เมียนมามีกฎหมายควบคุมโรงงาน กฎหมายด้านสุขอนามัยของสาธารณชน กฎหมายป่าไม้ การอนุรักษ์สัตว์ป่า กฎหมายเหมืองแร่ และกอรบนโยบายด้านส่ิงแวดล้อม
สิงคโปร์ มีรัฐบัญญัติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมสูงถึง 30 ฉบับ ซึ่งครอบคลุมการควบคุมมลภาวะทางน้ำ อากาศ การเคลื่อยย้ายขยะมีพิษ การจราจร การวางแผนและการจัดการการใช้พื้นที่ การควบคุทการก่อสร้าง การอนุรักษณ์ทรัพยากรธรรมชาติและครอบคลุมถึงการสาธารณสุข
ในส่วนประเทศไทยมีการกำหนดนโยบายในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติหลายฉบับ รวมทั้งมีการกำหนดมาตรฐานคุณภาำแหล่งน้ำเืพ่อการอุปโภคบริโภคและน้ำทิ้งจากอาคารและโรงงานอุตสาหกรรม มาตรฐานคุณภาพอากาศ ระดับเสี่ยง และสารพิษพร้อมทั้งกำหนดการควบคุมมลภาวะด้านต่างๆ
กลไกของกฎหมายภายในประเทศสมชิกอาเซียนที่กล่าวมาข้าต้นแสดงห้เห็นว่าประเทศสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศให้ความสำคัญกับการจัดการทรัพากรธรรมชาิตและสิ่งแวดล้อมที่เข้มงวดน้อยกว่า เช่น สปป.ลาว และเมียนมา ย่อมส่งผลให้เกิดความเสื่อมโทรฒของทรัพยากรธรรมชาติและปริมาณมลพิษ โดยรวมของภูมิภาคเพิ่มสูงขึ้น อาเซียนจึงควรเร่งพัฒนาความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่จริงจังและมผลเป็นรูปธรรมในเชิงปฏิบติมากกว่ายุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมเดิมที่เน้นการสร้างความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีผลผูกและการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ปลายเหตุwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=3645&filename=index
วันพฤหัสบดีที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2560
Twin cities
เมืองพี่น้องและเมืองแผด เป็นคำที่ใช้เียกเมืองที่การเจริญสัมพันธไมตรีอันดีต่อกัน (ส่วนใหญ่จะเป็นเมืองที่อยู่กันคนละประเทศ) โดยมีความร่วมมือกันระหว่างเมืองหรือระหว่างประเทศ เพื่อช่วยเหลือการพัฒนาเมืองในด้านต่างๆ และสนับสนุนความเข้าใจระหว่างวัฒนธรรมมีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ถ่ายทอดซึ่งกันและกัน นำสิ่งดีๆ ที่อีกฝ่ายหนึ่งม มาพัฒนาต่อยอดเมืองของตนเอง หรือในบางครั้งเมืองพี่เมืองน้อง มักจะถุกตีความไปตามลัษณะเมืองที่มีความคล้ายคลึงกันทางด้านศิลปงันธรรมประเพณี
ชีวิตความเป้นอยู่ ตลอดจนสภาพสิ่งแวดล้อมของเมืองที่คล้ายคลึงกนเราก็เรียกว่าเมืองพี่เมืองน้อง ได้อ อยางเช่น เมืองปาย กับ วังเวียง ที่นี้บรรยากาศของเมืองพักกลางทางท่ามกลางขุนเขา ลำน้ำ และสายหมอกเหมือนกัน หรือ จังหวัดยโสธร กับเมืองโยชิดะ ประเทศญี่ปุ่น ที่ได้รับการเรียกว่าเป็นเมืองคู่แฝดเพราะมีประเพณีการเล่นบั้งไฟคล้ายคลึงกัน
ในเมืองไทยมีหลายจังหวัดที่มีการเจริญสัมพันธ์อันดีเป็นเมืองพ่เมืองน้องกันเมืองต่างๆ ทั่วดลก หรือเป้นเมืองพี่เมืองน้องกันเองภายใประเทส อย่างกรุงเทพฯที่สถาปนาเมืองพี่เมืองน้องกับจังหวัดแพร่ ภายหลังจากที่กรุงเทพฯ ได้ทำการบูรณปฏิสังขรณ์เสาชิงช้า โดยได้รับความร่วมมือจากจังหวัดแพร่ในการอนุญาตให้พลีต้นสักทองจำนวน 6 ต้น มาเป็นเสาชิง่ช้าต้นใหม่
หรือการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างจังหวัดสุพรรณบุรีกับเมือง Courtenay ประเทศแคนาดา ความเป้นเมืองพี่เมืองน้องระหว่าง ภูเก็ต กับเมืองนีซ ฝรั่งเศส เป็นต้นth.wikipedia.org/wiki/เมืองพี่น้องและเมืองแฝด
เมืองคูแฝดเป็นหนึ่งในการส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเมืองต่างๆ ของอาเวีนและเขตเมือง ซึ่งเป็นการร่วมมือกันของอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม จัดอยู่ในประชาคมอาเซียนด้านสังคมและวัฒนธรรม หมวด D ในข้อ 5 ว่าด้วยการ "ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเมืองต่างๆ ของอาเซียนและเขตเมือง" โดยเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อรับประกันว่าเขตเมืองและชุมชนในอาเซียน มสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน รองรับความ้องการของประชาชนในด้านสังคมและเศรษบกิจได้ โดยมีมาตรการ ดังนี้
i. ขยายงานที่มีอยู่ภายใต้ข้อริเริ่มอาเซียนว่าด้วยเมืองที่มีลักษณะที่มีสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
ii. เพิ่มพูนความพยายามของแต่ละประเทศ และร่วมกันในการปรับปรุงคุณภาพของอากาศและน้ำภายในอาเซียนภายใต้ข้อริเริ่มระดับชาติหรือระดับภูมิภาคเพืีอลดมลภาวะทางอุตสาหกรรมและากรคมนาคม
iii. แบ่งปันประสบการณ์ความเชี่ยวชาญและเทคโนโลยีด้านต่างๆ เช่น การวางผังเมือง รวมทั้ง การจัดการน้ำเขเมืองสีเขีย และการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของเขตเมือง การสาธราณสุข และการจัดการของเสีย 3Rs (ลด, นำมาใช่ใหม่และการทำให้นำมาใช้ประโยชน์ได้อีก) การควบคุมมลภาวะในอากาศ เสียง น้ำ และบนดิน อาทิ เช่น จัดให้มีโครงการเมืองคู่แฝด
iv. ดำเนินกาเรพื่อมุ่งไปสู่ข้อริเริ่มต่างๆ เช่น "สังคมที่มีก๊าซคาร์บอนต่ำ", "เมืองกะทัดรัด", "เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม" และการคมนาคมที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืน
v. จัดทำมาตรการที่เปรียบเทยบได้ในระดับสากล สำหรับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนสำหรับเมืองใหญ่ในอาเซียนภายในปี 2558
vi. แนะนำและดำเนินการให้รางวัลเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ESC) ภายในปี 2551 เพื่อเป็นแรงจูงใจในการส่งเสริมแนวปฏิบัติในเรื่อง ESCmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d5/
เมื่องคู่แฝดไทยกับกัมพูชา
จากแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ACMECS ตามปฏิญญาพุกามที่ผุ้นำทั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนามและไทย ได้ลงนามร่วมกัน เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2546 ณ เมืองพุกาม เพื่อแสดงเจตนารมณ์ทางกาเมือง โดยเห็นชอบให้เกิดโครงการร่วมกันของทุกประเทศ และโครงการระดับทวิภาคี รวมทั้งโครงการเมืองคู่แฝด ก็เป็นหนึ่งในโครงกรที่กำหนดขึ้นเพื่อให้ยุทธศาสตร์ความรวมมือทางเสณาฐกิจบรรลุตามวัตถุประสงค์ ซึ่งเป้าหมายทางเศรษฐกิจที่มีร่วมกัน คือ
- เชื่อมโยงธุรกิจบริการ การต้า ธุรกรรมการเงิน
- ขนส่ง
- เชื่อมดยงแหล่งท่องเที่ยว
- เขตประกอบการอุตสาหกรรม เขตการผลิตร่วม เน้นอุตสาหกรรมใช้แรงงาน
- พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานร่วมกัน
โดยโครงการร่วมไทย-กัมพูชา กำหนดให้มีเมือคู้แฝด 9 โครงการ คือ ศรีสะเกษ-เสียมเรียบ, สุรินทร์-อุดรมีชัย, สระแก้ว-บันเตียเมียนเจย, จันทบุรี-ไพลิน, ตราด-เกาะกง, อุบลราชธานี-พระวิหาร, จันทบุรี-พระตะบอง, ตราด-ปราสาท, บุรีรัมย์-อุดรมีชัย
โครงการเมืองคู่แฝด เป็นการดำเนินงานเพื่อพัฒนาพื้นที่ระหว่างไทยกบเพื่อบ้านให้เป้ฯเมืองเชื้อมโยงระหว่างกัน เป้นรากฐานการผลิตด้านอุตสาหกรรมการต้า การท่องเท่ยว สนับสนุนการย้ายฐานการผลิตด้านอุตสาหกรรมจากไทยไปสู่ประเทศเพื่อบ้าน โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2548 ให้กำหนดมาตรการผ่อนปรมสำหรับเมืองที่เป็น Sister City นำรองในการจัดทำ Contract Farming 3 แห่งได้แก่ 1. ไทย-พม่า : แม่สอด-เมียวดี, 2. ไทย-ลาว : เลย-ไชยบุรี และ 3. ไทย-กัมพูชา : จันทบุรี-พระตะบอง/ไพลิน
เมื่อคู่แฝด เสียมเรียบ- ศรีสะเกษ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยว การอำนวยความสะดวกด้านการเดินทางจึงเป้นปัจจัยที่สำคัญที่ช่วยส่งเสริมธุรกอจการท่องเที่ยวระหว่างไทยและกัมพุชา โดยเฉพาะอยางยิ่งการเข้าเยี่ยมชมปราสาทนครวัด นครธม และปราสาทอื่นๆ ในกัมพูชา จากความรวมมือทางเศณาฐกิจระหว่างไทยและกัมพุา ทำให้เกิดการพัฒนาถนนหมายเลข 67 (ช่อง สะงำ-อัลลอเวง-เสียมเรียบ) เพื่อให้การเกินทางโดยรถยนต์ระหว่าง 2 ปรเทศสะดวกขึ้น ด้วยงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลไทยกว่า 1,300 ล้านบาทซึ่งแล้วเสร็จในปี 2551 โดยที่ถนนสายนี้ได้ส่งผลให้การขนส่งสินค้าและธุรกิจการท่องเที่ยวเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เนื่องจากนักท่องเที่ยวท้งชาวไทยและต่างชาติสามารถใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ชั่วโม
จากช่องสะงำจังหวัดศรีสะเกษ ถึง จังหวัดเสียมเรียบ เพื่อชมความงามของปราสามหินนครวัด นครธมไ้ ทั้งนี้ ยังสามารถสร้างรายได้และอาชีพใหก้ดับประชาชนบริเวณเส้นทางการสัญจรทั้งในไทยและกัมพุชา เพนื่อจากโครงการก่อสร้างถนนดังกล่าวได้เสร็จสิ้นแล้ว แต่ยังไม่ได้ดำเนินการเจรจาหรือติดต่อประสานงานในด้านการอำนวยความสะดวกบนเส้นทางดังกล่ว เช่น จุดพักรถ ศูนย์บริการการเินทาง เป้ฯต้น ดังนั้น เพื่อป้องกันปัญหา ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผุ้ประกอบการขนส่งและผุ้โดยสารที่จะเข้ามาดำเนินงานบนถนนหมายเลข 67 จึงควรเร่งการเจรจาร่วมกัน ระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเกชนทั้งของไทยและกัมพูชา
เมื่อคู่แฝด เกาะกง-ตราด จากกรอบความร่วมมือ ACMCS ในโครงการเมืองคู่แฝด (เกาะกง-www.boi.go.th/thai/clmv/Back_up/2010_cambodia/2010_cam_5_2.html
ตราด) จังหวัดตราดจึงเร่งดำเนินการเพื่อให้เกิดการพัฒนาเศรษบกิจร่วมกัน จากกลยุทธ์เสริมสร้างความเป้นหุ้นสวนทางเศราบกิจ ในการเปิดประตูสู่อินโดจีนได้เกิดโครงการต่างๆ ขึ้น เช่น โครงการก่อสร้างถนน 4 เลน ตราด-บ้านหาดเล็ก ไปเชื่อมกับถนนสาย 48 ของกัมพุชา เพื่อเชื่อมโยงภนนระหว่างประเทศ โดยความรับผิดชอบของแขวงการทางตราด(กรมทางหลวง) งบประมาณตั้งแต่ปี 2548-2551 จำนวน 900 ล้านบาท ดครงการพัฒนาเมืองคู่แฝด (เกาะกง-ตราด)จัทบุรี-พระตะบอง/ไพลิน) โดยความรับผิดชอบของจังหวัดตราดและจันทบุรี งบประมาณปี 2548 จำนวน 10 ล้านบาท และโครงการจัดระบบบริหารจัดการศูนย์รวมสินค้าเพื่อการส่งออก(HUB) โดขความรับผิดชอบของพาณิชย์จังหวัด วบประมาณปี 2548-2551 จำนวน 315 ล้านบาท จากกลบุทธ์กำหนดกลไกด้านการบริหารจัดการสินค้าเกษตรเป้ฯ รายสินค้าเพื่อสร้างเสถียรภาพทางราคาสินค้าเกษตร และให้เกษตรกรได้รับราคาผลิตที่เป็นธรรม เป็นต้น ทั้งนี้ จากการเล็งเห็นความสำคัญทางการสาธารณสุข จากกลยุทธ์ส่งเสริมและการพัฒนาตามกรอบปฏิญญาพุกาม จึงได้จัดโครงการเกาะกง-ตราด ร่วมใจพัฒนาสาะารณสุข โดยความรับผิดชอบของสาธารณสุขจังหวัดด้วยงบประมาณปี 2548-2551 จำนวน 3.9 ล้านบาท ซึงถื่อเป็นส่วนหนึ่งด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานร่วมกันของทั้ง 2 เมื่อง(เกาะกง-ตราด)
จุดเด่นของระบบเมืองคุ่แฝด คือ การจับคู่กันระหว่างเมือชายแดนที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจกับเมพืองชายแดนประเทศเพื่อบ้านที่ตั้งประชิดซึงเป้าหมายโครงการ ได้แก่ การส่งเสริมความสัมพันธ์ระดับพื้นที่แบบข้ามพรมแดน ซึ่งนำไปสู่ความร่วมมือในสาขาอื่นๆ เช่น การขยายระบบโลจิสติกส์และการโยกย้ายฐานการผลิตอุตสาหกรรม
โดยหากยึดตคามกรอบปฏิญญาพุกาม ไทยได้กระชับเมืองคู่แฝดกับกัมพูชา เมียนมาร์ และลาว ในหลากหลายเขตภูมิศาสตร์ ขณะเดียวกัน ระบบเมืองคู่แฝดยังครอบคลุมถึงกลุ่มเมืองที่ไม่มีพรมแดนติดกัน แต่มีความเชื่อมโยงกันในทางเราฐกิจการท่องเที่ยวและวัฒนธรรม เช่น เชียงใหม่-มัณฑะเลย์, กรุงเทพฯ-ย่างกุ้ง, พุกาม-เสียมเรียบ และสตึงเตรง-จำปาสัก
สำหรับไทยและรัฐอินโดจีนอื่นๆ การสถาปนาเมืองคู่แผดถือเป็นหมุดหมายหลักในการพัฒนาระเบียบเศรษฐกิจใต้ยุคเออีซี แต่ด้วยพื้นภูมิและศักยภาพของแต่ละเมือง รวมถึงทรัพยยากรย่อมมีผลต่อการเติบโตของพลังทางเศรษฐกิจ ซึ่งพบว่าหัวเมือชายแดนตามวงตะเข็บไทย-เพื่อนบ้านล้ายมีทั้งจุดอ่อน จุดแข็ง และขีดความสามารถที่จะรองรับการพัฒนาในระดับที่แตกต่างกัน ดยจะของยกตัวอย่างเมืองคุ่แฝดที่จะรองรัีบการพัฒนาในระดับที่แตกต่างกัน
ตัวอย่างเช่น
เมื่องคู่แฝดสระแก้ว-บันเตียเมียนเจย(ศรีโสภณ) ถือว่ามีศักยภาพด้านโลจิสติกส์เนื่องจากตั้งอยุ่บนแนวระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ ซึ่งเชื่อมระหว่างนครโฮจิมินห์ของเวียดนามผ่านกรุงเพทฯ แล้วโยงเข้าสู่ทวายของเมียนาร์ รวมถึงเป้นชุมทางตลาดโรงเหลือ แหล่งกาสิโนและแหล่งกระจายสินค้าไปยังเขตอุตสาหกรรมพิเศษปอยเปตโอเนียง
เมื่อเทียบสระแก้วกับบันเตียเมียนเจย พบว่าเขตอำเภออรัญประเทศมีความโดดเด่นในฐานะจุดพักสินค้า ตลาดค้าส่งและค้าปลีกสู่อินโดจีน พร้อมมีเส้นทางคมนาคมเชื่อมสูกรุงเทพฯ และหัวเมืองชายทะเลใกล้เคียง หากแต่ก็มีจุดอ่อน อาทิ การขาดแคลนแรงงานภาคเกษตรและสภาพแออัดตรงจุดผ่านอดนถาวรบ้านคลองลึก ส่วนบันเตียเมียนเจยของกัมพุชา นับเป้นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและแรงงานราคาถูก รวมถึงควบคุมระบบขนส่งทางถนนและระบบรางเพื่อกระจายสินค้าสู่เวียดนามใต้ แต่มีจุดอ่อนในเรื่องขาดแคลนแรงงานฝีมือระดับสุงและระบบสาธารณูปโภคที่ได้มาตรฐาน
ส่วนศักยภาพเมืองคู่แฝดนครพนม-คำม่วน(ท่าแขก)หลังการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 3 พบว่าเริ่มมีการขยายตัวของเสราฐกิจและการพัฒนาเมืองอย่างต่อเนื่อง เช่น ยุทธศาสตร์การพัฒนาตำบลหนองญาติให้เป็นเขตอุตสาหกรรม-พาณิชย์กรรม และการตั้งเขตเศรษกิจจำเพาะภูเขียวให้เป็นเขตพัฒนาฝีมือแรงงานประจำแขวงคำม่วน
สำหรับจุดแข็งของครพนม ได้แก่ การควบคุมผลผลิตทางการเกษตร เช่น ข้าว ข้าวโพด และปลาแม่น้ำ พร้อมได้รับสิทธิพิเศษกรส่งเสริมการลงทุนจาก BOI (เขต 3) ด้านการยกเว้นภาษี แต่มีปัญหาขาดแคลนความร่วมมือระหว่างภาคการผลิตต่างๆ ขณะที่แขวงคำม่วนที่แม้จะเต็มไปด้วยแร่ธาตุ เช่น โปแตช ทองคำ ยิปซัม และเป็นที่ตั้งของเขือนกระแสไฟฟ้าน้ำเทิน 2 แต่กลับมีจุดอ่อนเรื่องความพร้อมขอสส่ิงอำนวยความสะดวกตามเส้นทางหมายเลข 12 ระหว่างนครพนมกับกวางบิงห์ของเวียดนาม เช่น สถานีเติมน้ำมัน
ด้านเมืองคู่แฝดกาญจนบุร-ทวาย ถือเป้นจุดเปลี่ยของระบบการต้าคมนาคมย่ายอาเวียนพื้ทวีป โดยเฉพาะการโยงทวายผ่านกาญจนบุรี กรุงเทพฯ เข้าแหลมฉบังและมาบตาพุด โดยจุดแข็.ของกาญจนบุรี ได้แก่ ทำเลที่ตั้งซึ่งอยู่ไม่ไกลจากรุงเทพฯ พร้อมด้วยศักยภาพในการพัฒนาสินค้าเกาตรกรรม ส่วนจุดอ่อนอยู่ที่การขาดแคลนศูนย์กระจายสินค้า
ส่วนเมืองทวายมีจุดเด่นอยุ่ตรงแหล่งวัตถุดิบทางประมงและทำเลการต้าผ่านโครงการท่าเรือน้ำลึกทวาย แต่มีจุดบกพร่องที่ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานและความไม่สงบในบางพื้นที่ อาทิ เขตอิทธิพลกองกำลังกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงที่อยู่ไม่ไกลจากแนวถนน-ท่อก๊าซ พร้อมยังคงมีปัญหารเื่องการเจรจาสันตุภาพกับรัฐบาลเมียนมาร์ในบางกรณี
โครงการเมืองคู่แฝดถือเป็นนวัตกรรมเออีซีที่มีรากฐานมาจากปฏิญญาพุกามพร้อมทวีบทบาทสำคัญขึ้นเรื่อยๆ ผ่านการกระชับแน่นทางเศรษฐกิจ
ทว่าความแตกต่างของขีดกำลังเมืองในแต่ละย่ายย่อมส่งผลให้นักลงทุนต้องหันมาพลิกกลยุทธ์เพื่อวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพเมืองอย่างมีชั้นเชิงในการนี้การวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็ง พร้อมชิงคว้าโอกาสและขจัดอุปสรรคอย่างชาญฉลาด อาจเป็นหลักพิชัยยุทธ์พื้นฐานที่ช่วยให้นักลงทุนไทยเจาะตลาดและคุมฐานเศรษฐกจิเมืองคู่แผดได้สมใจwww.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1430585293
ชีวิตความเป้นอยู่ ตลอดจนสภาพสิ่งแวดล้อมของเมืองที่คล้ายคลึงกนเราก็เรียกว่าเมืองพี่เมืองน้อง ได้อ อยางเช่น เมืองปาย กับ วังเวียง ที่นี้บรรยากาศของเมืองพักกลางทางท่ามกลางขุนเขา ลำน้ำ และสายหมอกเหมือนกัน หรือ จังหวัดยโสธร กับเมืองโยชิดะ ประเทศญี่ปุ่น ที่ได้รับการเรียกว่าเป็นเมืองคู่แฝดเพราะมีประเพณีการเล่นบั้งไฟคล้ายคลึงกัน
ในเมืองไทยมีหลายจังหวัดที่มีการเจริญสัมพันธ์อันดีเป็นเมืองพ่เมืองน้องกันเมืองต่างๆ ทั่วดลก หรือเป้นเมืองพี่เมืองน้องกันเองภายใประเทส อย่างกรุงเทพฯที่สถาปนาเมืองพี่เมืองน้องกับจังหวัดแพร่ ภายหลังจากที่กรุงเทพฯ ได้ทำการบูรณปฏิสังขรณ์เสาชิงช้า โดยได้รับความร่วมมือจากจังหวัดแพร่ในการอนุญาตให้พลีต้นสักทองจำนวน 6 ต้น มาเป็นเสาชิง่ช้าต้นใหม่
หรือการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างจังหวัดสุพรรณบุรีกับเมือง Courtenay ประเทศแคนาดา ความเป้นเมืองพี่เมืองน้องระหว่าง ภูเก็ต กับเมืองนีซ ฝรั่งเศส เป็นต้นth.wikipedia.org/wiki/เมืองพี่น้องและเมืองแฝด
เมืองคูแฝดเป็นหนึ่งในการส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเมืองต่างๆ ของอาเวีนและเขตเมือง ซึ่งเป็นการร่วมมือกันของอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม จัดอยู่ในประชาคมอาเซียนด้านสังคมและวัฒนธรรม หมวด D ในข้อ 5 ว่าด้วยการ "ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเมืองต่างๆ ของอาเซียนและเขตเมือง" โดยเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อรับประกันว่าเขตเมืองและชุมชนในอาเซียน มสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน รองรับความ้องการของประชาชนในด้านสังคมและเศรษบกิจได้ โดยมีมาตรการ ดังนี้
i. ขยายงานที่มีอยู่ภายใต้ข้อริเริ่มอาเซียนว่าด้วยเมืองที่มีลักษณะที่มีสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
ii. เพิ่มพูนความพยายามของแต่ละประเทศ และร่วมกันในการปรับปรุงคุณภาพของอากาศและน้ำภายในอาเซียนภายใต้ข้อริเริ่มระดับชาติหรือระดับภูมิภาคเพืีอลดมลภาวะทางอุตสาหกรรมและากรคมนาคม
iii. แบ่งปันประสบการณ์ความเชี่ยวชาญและเทคโนโลยีด้านต่างๆ เช่น การวางผังเมือง รวมทั้ง การจัดการน้ำเขเมืองสีเขีย และการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของเขตเมือง การสาธราณสุข และการจัดการของเสีย 3Rs (ลด, นำมาใช่ใหม่และการทำให้นำมาใช้ประโยชน์ได้อีก) การควบคุมมลภาวะในอากาศ เสียง น้ำ และบนดิน อาทิ เช่น จัดให้มีโครงการเมืองคู่แฝด
iv. ดำเนินกาเรพื่อมุ่งไปสู่ข้อริเริ่มต่างๆ เช่น "สังคมที่มีก๊าซคาร์บอนต่ำ", "เมืองกะทัดรัด", "เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม" และการคมนาคมที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืน
v. จัดทำมาตรการที่เปรียบเทยบได้ในระดับสากล สำหรับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนสำหรับเมืองใหญ่ในอาเซียนภายในปี 2558
vi. แนะนำและดำเนินการให้รางวัลเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ESC) ภายในปี 2551 เพื่อเป็นแรงจูงใจในการส่งเสริมแนวปฏิบัติในเรื่อง ESCmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d5/
เมื่องคู่แฝดไทยกับกัมพูชา
จากแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ACMECS ตามปฏิญญาพุกามที่ผุ้นำทั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนามและไทย ได้ลงนามร่วมกัน เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2546 ณ เมืองพุกาม เพื่อแสดงเจตนารมณ์ทางกาเมือง โดยเห็นชอบให้เกิดโครงการร่วมกันของทุกประเทศ และโครงการระดับทวิภาคี รวมทั้งโครงการเมืองคู่แฝด ก็เป็นหนึ่งในโครงกรที่กำหนดขึ้นเพื่อให้ยุทธศาสตร์ความรวมมือทางเสณาฐกิจบรรลุตามวัตถุประสงค์ ซึ่งเป้าหมายทางเศรษฐกิจที่มีร่วมกัน คือ
- เชื่อมโยงธุรกิจบริการ การต้า ธุรกรรมการเงิน
- ขนส่ง
- เชื่อมดยงแหล่งท่องเที่ยว
- เขตประกอบการอุตสาหกรรม เขตการผลิตร่วม เน้นอุตสาหกรรมใช้แรงงาน
- พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานร่วมกัน
โดยโครงการร่วมไทย-กัมพูชา กำหนดให้มีเมือคู้แฝด 9 โครงการ คือ ศรีสะเกษ-เสียมเรียบ, สุรินทร์-อุดรมีชัย, สระแก้ว-บันเตียเมียนเจย, จันทบุรี-ไพลิน, ตราด-เกาะกง, อุบลราชธานี-พระวิหาร, จันทบุรี-พระตะบอง, ตราด-ปราสาท, บุรีรัมย์-อุดรมีชัย
โครงการเมืองคู่แฝด เป็นการดำเนินงานเพื่อพัฒนาพื้นที่ระหว่างไทยกบเพื่อบ้านให้เป้ฯเมืองเชื้อมโยงระหว่างกัน เป้นรากฐานการผลิตด้านอุตสาหกรรมการต้า การท่องเท่ยว สนับสนุนการย้ายฐานการผลิตด้านอุตสาหกรรมจากไทยไปสู่ประเทศเพื่อบ้าน โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2548 ให้กำหนดมาตรการผ่อนปรมสำหรับเมืองที่เป็น Sister City นำรองในการจัดทำ Contract Farming 3 แห่งได้แก่ 1. ไทย-พม่า : แม่สอด-เมียวดี, 2. ไทย-ลาว : เลย-ไชยบุรี และ 3. ไทย-กัมพูชา : จันทบุรี-พระตะบอง/ไพลิน
เมื่อคู่แฝด เสียมเรียบ- ศรีสะเกษ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยว การอำนวยความสะดวกด้านการเดินทางจึงเป้นปัจจัยที่สำคัญที่ช่วยส่งเสริมธุรกอจการท่องเที่ยวระหว่างไทยและกัมพุชา โดยเฉพาะอยางยิ่งการเข้าเยี่ยมชมปราสาทนครวัด นครธม และปราสาทอื่นๆ ในกัมพูชา จากความรวมมือทางเศณาฐกิจระหว่างไทยและกัมพุา ทำให้เกิดการพัฒนาถนนหมายเลข 67 (ช่อง สะงำ-อัลลอเวง-เสียมเรียบ) เพื่อให้การเกินทางโดยรถยนต์ระหว่าง 2 ปรเทศสะดวกขึ้น ด้วยงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลไทยกว่า 1,300 ล้านบาทซึ่งแล้วเสร็จในปี 2551 โดยที่ถนนสายนี้ได้ส่งผลให้การขนส่งสินค้าและธุรกิจการท่องเที่ยวเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เนื่องจากนักท่องเที่ยวท้งชาวไทยและต่างชาติสามารถใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ชั่วโม
จากช่องสะงำจังหวัดศรีสะเกษ ถึง จังหวัดเสียมเรียบ เพื่อชมความงามของปราสามหินนครวัด นครธมไ้ ทั้งนี้ ยังสามารถสร้างรายได้และอาชีพใหก้ดับประชาชนบริเวณเส้นทางการสัญจรทั้งในไทยและกัมพุชา เพนื่อจากโครงการก่อสร้างถนนดังกล่าวได้เสร็จสิ้นแล้ว แต่ยังไม่ได้ดำเนินการเจรจาหรือติดต่อประสานงานในด้านการอำนวยความสะดวกบนเส้นทางดังกล่ว เช่น จุดพักรถ ศูนย์บริการการเินทาง เป้ฯต้น ดังนั้น เพื่อป้องกันปัญหา ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผุ้ประกอบการขนส่งและผุ้โดยสารที่จะเข้ามาดำเนินงานบนถนนหมายเลข 67 จึงควรเร่งการเจรจาร่วมกัน ระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเกชนทั้งของไทยและกัมพูชา
เมื่อคู่แฝด เกาะกง-ตราด จากกรอบความร่วมมือ ACMCS ในโครงการเมืองคู่แฝด (เกาะกง-www.boi.go.th/thai/clmv/Back_up/2010_cambodia/2010_cam_5_2.html
ตราด) จังหวัดตราดจึงเร่งดำเนินการเพื่อให้เกิดการพัฒนาเศรษบกิจร่วมกัน จากกลยุทธ์เสริมสร้างความเป้นหุ้นสวนทางเศราบกิจ ในการเปิดประตูสู่อินโดจีนได้เกิดโครงการต่างๆ ขึ้น เช่น โครงการก่อสร้างถนน 4 เลน ตราด-บ้านหาดเล็ก ไปเชื่อมกับถนนสาย 48 ของกัมพุชา เพื่อเชื่อมโยงภนนระหว่างประเทศ โดยความรับผิดชอบของแขวงการทางตราด(กรมทางหลวง) งบประมาณตั้งแต่ปี 2548-2551 จำนวน 900 ล้านบาท ดครงการพัฒนาเมืองคู่แฝด (เกาะกง-ตราด)จัทบุรี-พระตะบอง/ไพลิน) โดยความรับผิดชอบของจังหวัดตราดและจันทบุรี งบประมาณปี 2548 จำนวน 10 ล้านบาท และโครงการจัดระบบบริหารจัดการศูนย์รวมสินค้าเพื่อการส่งออก(HUB) โดขความรับผิดชอบของพาณิชย์จังหวัด วบประมาณปี 2548-2551 จำนวน 315 ล้านบาท จากกลบุทธ์กำหนดกลไกด้านการบริหารจัดการสินค้าเกษตรเป้ฯ รายสินค้าเพื่อสร้างเสถียรภาพทางราคาสินค้าเกษตร และให้เกษตรกรได้รับราคาผลิตที่เป็นธรรม เป็นต้น ทั้งนี้ จากการเล็งเห็นความสำคัญทางการสาธารณสุข จากกลยุทธ์ส่งเสริมและการพัฒนาตามกรอบปฏิญญาพุกาม จึงได้จัดโครงการเกาะกง-ตราด ร่วมใจพัฒนาสาะารณสุข โดยความรับผิดชอบของสาธารณสุขจังหวัดด้วยงบประมาณปี 2548-2551 จำนวน 3.9 ล้านบาท ซึงถื่อเป็นส่วนหนึ่งด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานร่วมกันของทั้ง 2 เมื่อง(เกาะกง-ตราด)
จุดเด่นของระบบเมืองคุ่แฝด คือ การจับคู่กันระหว่างเมือชายแดนที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจกับเมพืองชายแดนประเทศเพื่อบ้านที่ตั้งประชิดซึงเป้าหมายโครงการ ได้แก่ การส่งเสริมความสัมพันธ์ระดับพื้นที่แบบข้ามพรมแดน ซึ่งนำไปสู่ความร่วมมือในสาขาอื่นๆ เช่น การขยายระบบโลจิสติกส์และการโยกย้ายฐานการผลิตอุตสาหกรรม
โดยหากยึดตคามกรอบปฏิญญาพุกาม ไทยได้กระชับเมืองคู่แฝดกับกัมพูชา เมียนมาร์ และลาว ในหลากหลายเขตภูมิศาสตร์ ขณะเดียวกัน ระบบเมืองคู่แฝดยังครอบคลุมถึงกลุ่มเมืองที่ไม่มีพรมแดนติดกัน แต่มีความเชื่อมโยงกันในทางเราฐกิจการท่องเที่ยวและวัฒนธรรม เช่น เชียงใหม่-มัณฑะเลย์, กรุงเทพฯ-ย่างกุ้ง, พุกาม-เสียมเรียบ และสตึงเตรง-จำปาสัก
สำหรับไทยและรัฐอินโดจีนอื่นๆ การสถาปนาเมืองคู่แผดถือเป็นหมุดหมายหลักในการพัฒนาระเบียบเศรษฐกิจใต้ยุคเออีซี แต่ด้วยพื้นภูมิและศักยภาพของแต่ละเมือง รวมถึงทรัพยยากรย่อมมีผลต่อการเติบโตของพลังทางเศรษฐกิจ ซึ่งพบว่าหัวเมือชายแดนตามวงตะเข็บไทย-เพื่อนบ้านล้ายมีทั้งจุดอ่อน จุดแข็ง และขีดความสามารถที่จะรองรับการพัฒนาในระดับที่แตกต่างกัน ดยจะของยกตัวอย่างเมืองคุ่แฝดที่จะรองรัีบการพัฒนาในระดับที่แตกต่างกัน
ตัวอย่างเช่น
เมื่องคู่แฝดสระแก้ว-บันเตียเมียนเจย(ศรีโสภณ) ถือว่ามีศักยภาพด้านโลจิสติกส์เนื่องจากตั้งอยุ่บนแนวระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ ซึ่งเชื่อมระหว่างนครโฮจิมินห์ของเวียดนามผ่านกรุงเพทฯ แล้วโยงเข้าสู่ทวายของเมียนาร์ รวมถึงเป้นชุมทางตลาดโรงเหลือ แหล่งกาสิโนและแหล่งกระจายสินค้าไปยังเขตอุตสาหกรรมพิเศษปอยเปตโอเนียง
เมื่อเทียบสระแก้วกับบันเตียเมียนเจย พบว่าเขตอำเภออรัญประเทศมีความโดดเด่นในฐานะจุดพักสินค้า ตลาดค้าส่งและค้าปลีกสู่อินโดจีน พร้อมมีเส้นทางคมนาคมเชื่อมสูกรุงเทพฯ และหัวเมืองชายทะเลใกล้เคียง หากแต่ก็มีจุดอ่อน อาทิ การขาดแคลนแรงงานภาคเกษตรและสภาพแออัดตรงจุดผ่านอดนถาวรบ้านคลองลึก ส่วนบันเตียเมียนเจยของกัมพุชา นับเป้นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและแรงงานราคาถูก รวมถึงควบคุมระบบขนส่งทางถนนและระบบรางเพื่อกระจายสินค้าสู่เวียดนามใต้ แต่มีจุดอ่อนในเรื่องขาดแคลนแรงงานฝีมือระดับสุงและระบบสาธารณูปโภคที่ได้มาตรฐาน
สะพานเชื่อความสัมพันธ์ไทย-พม่า รองรับโครงการเมืองคู่แฝด เม่สอด-เมียวดี |
สำหรับจุดแข็งของครพนม ได้แก่ การควบคุมผลผลิตทางการเกษตร เช่น ข้าว ข้าวโพด และปลาแม่น้ำ พร้อมได้รับสิทธิพิเศษกรส่งเสริมการลงทุนจาก BOI (เขต 3) ด้านการยกเว้นภาษี แต่มีปัญหาขาดแคลนความร่วมมือระหว่างภาคการผลิตต่างๆ ขณะที่แขวงคำม่วนที่แม้จะเต็มไปด้วยแร่ธาตุ เช่น โปแตช ทองคำ ยิปซัม และเป็นที่ตั้งของเขือนกระแสไฟฟ้าน้ำเทิน 2 แต่กลับมีจุดอ่อนเรื่องความพร้อมขอสส่ิงอำนวยความสะดวกตามเส้นทางหมายเลข 12 ระหว่างนครพนมกับกวางบิงห์ของเวียดนาม เช่น สถานีเติมน้ำมัน
ด้านเมืองคู่แฝดกาญจนบุร-ทวาย ถือเป้นจุดเปลี่ยของระบบการต้าคมนาคมย่ายอาเวียนพื้ทวีป โดยเฉพาะการโยงทวายผ่านกาญจนบุรี กรุงเทพฯ เข้าแหลมฉบังและมาบตาพุด โดยจุดแข็.ของกาญจนบุรี ได้แก่ ทำเลที่ตั้งซึ่งอยู่ไม่ไกลจากรุงเทพฯ พร้อมด้วยศักยภาพในการพัฒนาสินค้าเกาตรกรรม ส่วนจุดอ่อนอยู่ที่การขาดแคลนศูนย์กระจายสินค้า
ส่วนเมืองทวายมีจุดเด่นอยุ่ตรงแหล่งวัตถุดิบทางประมงและทำเลการต้าผ่านโครงการท่าเรือน้ำลึกทวาย แต่มีจุดบกพร่องที่ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานและความไม่สงบในบางพื้นที่ อาทิ เขตอิทธิพลกองกำลังกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงที่อยู่ไม่ไกลจากแนวถนน-ท่อก๊าซ พร้อมยังคงมีปัญหารเื่องการเจรจาสันตุภาพกับรัฐบาลเมียนมาร์ในบางกรณี
โครงการเมืองคู่แฝดถือเป็นนวัตกรรมเออีซีที่มีรากฐานมาจากปฏิญญาพุกามพร้อมทวีบทบาทสำคัญขึ้นเรื่อยๆ ผ่านการกระชับแน่นทางเศรษฐกิจ
ทว่าความแตกต่างของขีดกำลังเมืองในแต่ละย่ายย่อมส่งผลให้นักลงทุนต้องหันมาพลิกกลยุทธ์เพื่อวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพเมืองอย่างมีชั้นเชิงในการนี้การวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็ง พร้อมชิงคว้าโอกาสและขจัดอุปสรรคอย่างชาญฉลาด อาจเป็นหลักพิชัยยุทธ์พื้นฐานที่ช่วยให้นักลงทุนไทยเจาะตลาดและคุมฐานเศรษฐกจิเมืองคู่แผดได้สมใจwww.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1430585293
Environmental Sound Technology (EST)
"ประชาคมอาเซียน" เป็นเป้าหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเวียน เพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองและขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระหว่างประเทศในทุกด้าน รวมถึงความสามารถในการรับมือกับปัญหาใหม่ๆ ระดับโลกที่ส่งผลกระทบต่อภูมิภาค เช่น ภาวะดลกร้อน การก่อการร้าย หรืออาจกล่าวได้ว่าการะเป้ฯประชาคมอาเว๊ยนคือ การทำให้ประเทศสมาชิกรวมเป้น "ครอบครัวเดียวกัน" มีควแข็งแกร่งและมีภูมิต้านทานที่ดี สมาชิกมนครอบครัวมีสภาพความเป็นอยุ่ที่ดี ปลอดภัย และสามารถทำมาค้าขายได้อย่างสะดวกย่ิงขึ้น...
อาเซียนมีความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรมหลายด้าน ทั้งการส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น การแก้ไขปัญหาหมอกควันไฟป่า การสร้างความร่วมมือเพื่อนุรักษ์มรดกทางธรรมชาติของอาเซียน การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ การจัดตั้งศุนย์ความหลากลายทางชัวภาพอาเว๊ยน โครงการฟื้นฟูป่าและระบบนิเวศ การสร้างความร่วมมือในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ เช่น การดำเนินมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติต่อ การสร้างความปลอดภัยด้านอาหาร ความร่วมมือด้านเทคนิคเกี่ยวกับยาการจัดการภัยพิบัติ เช่น การช่วยเหลือบรรเท่าทุกข์ผุ้ประสบภัยในกรณีที่เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ การจัดทำแผนปฏิบัตการ การฝึกอบรม การสื่อสารประสานงานอาเวียน เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และด้านการอนุรักษ์และส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน เช่น การจัดทำโครงการศึกษาวิจัย และจัดทำการผลิตร่วมกันในเรื่องการอนุรักษ์โบราณสถาน ศิลปะการแสดงดั้งเดิม และสิ่งที่ถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของภูมิภาค เป็นต้น
โครงสร้างและกลไกบริหารอาเซียนด้าน่ิงแวดล้อม แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ
1. การประชุมของรัฐมนตรีด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิกอาเซีัยน มีวัตถุประสงค์เพื่อประชุมหารือในประดเ็นปัญหาที่สำคัญและกำหนดแนวทางระดับนโยบาย และความร่วมมือด้าน่ิงแวดล้อมของภูมิภาคอาเซียน ตลอดจนทบทวนข้อตัดสินใจต่างๆ ซึ่งจะมีการประชุมร่วมกันทุกปี
2. ระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม การประชุมระดับเจ้าหน้าที่อสุโสด้าสิ่งแวดล้อมเป้นการประชุมในระดับปลัดกระทรวง หรือเที่ยบเท่าของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อทำหน้าที่กำกับดูแล และติดตามงานด้านสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งประเทศไทยมีปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทำหน้าที่เป้ฯประธานเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเวียนด้านสิ่งแวดล้อม โดยจะมีการประชุมร่วมกันทุกปี
3. คณะทำงานอาเว๊ยนด้านส่ิงแวดล้อม คณะทำงานอาเวียนด้านส่ิงแวดล้อม เป้นการทำางานของเจ้าหน้าที่ในระดับปฏิบัติเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินกความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งแบ่งออกเป็น 7 คณะทำงาน ดังนี้
- คณะทำานอาเวียนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป้นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเวียนด้านการอนุรักษ์ธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ มีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาิติและส่ิงแวดล้อมเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเวียนด้านส่ิงแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่ง มีกรมควบคุมมลพิษเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเวียนด้านข้อตกลงพหุภาคีด้านสิ่งแวดล้อม มีกรมควบคุมมลพษเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเวียนด้านส่ิงแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน มีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป็นหน่วยงสานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเวียนด้านการจัดการทรัพยากรน้ำ มีกรมทรัพยากรน้ำเป้นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเวียนด้านส่ิงแวดล้อมศึกษา มีกรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อมเป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
นอกจากคณะทำงานอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อมแล้ว การดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมของอาเซียนยังมีกรอบเวทีหารือประเด็นสำคัญด้านส่ิแงแวดล้อม และการดำเนินการที่คาบเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้แก่
Meeting of the Conference of the Partiesto the ASEAN Agreement Transboundary Haze Polluution โดยมีกรมควบคุมมลพิษเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
Meeting of Sub-Regionnal Ministerail Steering Committee (MSC Mekong) Transboundary Haze Pollution โดยมีกรมควบคุมมลพิษเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
The Governing Board (GB) Meeting of the ASEAN Centre for Biodiversity (ACB) โดยมีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป้นหน่วยงานกลางระสานการดำเนินงาน
คณะกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ( ASEAN Committee on Science and Technology : ASEAN COST) โดยมีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโ
ยีเป้นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน ซึ่งกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเป็นหน่วยประสานงาานคณะอนุกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางทะเล
การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเวียนด้านการเกษตรและป่าไม้ มีกระทรวงเกษตรและสหกรณืเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก เพื่อกำหนดแนวทางในระดับนโยบายและทบทวนข้อตัดสินใจ ดดยมีกรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป็นหนวยรสานงานเจ้าหน้าที่อสวุโสอาเซียนด้านป่าไม้ ซึ่งเป็นการประชุมภายใต้พันธกรณีของอาเซียนด้านป่าไม้ นอกจากนั้ ยังมีคณะทำงานซึ่งมีการดำเนินงานจัดตั้งเครือข่ายการบังคับใช้กฎ่หมายด้านสัตว์ป่าและพืชป่าในภุมิภาคอาเซียน โดยมีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชเป็นหน่วยงานหลักในการทำหน้าที่กำกับยดูแล
การปรุชมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านแร่ มีกระทรวงอุตสาหกรรมเป้นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก และกรมทรัพยากรธรณี ร่วมเป็นคณะทำงานด้านสารสนเทศและฐานข้อามุลแร่
บางส่วนจาก "ควมรุ้ด้านอาเซียนสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานด้านอาเซียนสิ่งแวดล้อม"
***
ความร่วมมืออาเซียนดด้านสังคมและวัฒนธรรม หมวด D สิ่งแวดล้อม ในข้อ D4 ว่าด้วย "การส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม(EST)" มีเป้าหมายเชิงกลยุทธ์คือ ใช้เทคโนโลยีด้านส่ิงแวดล้อมเพื่อบรรลุป้าหมายเรื่องการพัฒนาที่ยั่งยืนดดยให้มีผลกระทบน้อยที่สุดต่อสิ่งแวดล้อม
มาตรการ
i. ดำเนินการตามเครือข่ายอาเวียนว่าด้วยอีเอสที่ (อาเซียน-เนสต์) ภายในปี 2558
ii. มุ่งไปสู่การรับรองในเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมทั่วทั้งภูมิภาค/กลไกในการติดป้ายประกาศเพื่อส่งเสริมการเติบโตทางเศราบกจิและปกป้องทงสิ่งแวดล้อมภายในปี 2558
iii. ส่งเสริมการประชุมอีเอสทีเพื่อประเมินความตร้องการในการพัฒนาเทคโนโลยีและการพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน
iv. ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอเาซียนภายใต้กรอบความร่วมมือใต้-ใต้ และกรอบความร่วมมือเหนือ-ใต้ เพื่อส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยี
v. แสวงหาแนวทางในการจัดตั้งศูนย์อีเอสทีสำหรับประเทศสมาชิกอาเซียน (เช่น ศูนย์ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด)
vi ขยายความร่วมมือในการทำวิจัยร่วม การพัฒนาการเคลื่อนย้ายและการถ่ายทอดอีเอสทีmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d4/
ในปัจจุบันแนวโน้มการพัฒนาของเทคโนโลยียานยนต์โลกและการผลิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมมากขึ้น โดยในแผนแม่บทอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยปี พงศ. 2555-2559 ได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องนี้เช่นเดียวกันซึ่งได้มีวิสัยทัศนืในด้านการผลิตยานยนต์สีเขียนและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
ดังนี้ "ประเทศไทย
เป้นฐานการผลิตยานยนต์ของโลกดวยห่วงโซ่อุปทาน ที่สร้างมูลค่าเพิ่มในประเทศและเป็นเมติรกับส่ิงแวดล้อม" รวมถึงแนวโน้มกฎหมายข้อบังคับสำหรับยานยนต์ด้าน่ิงแวดล้อมในโลกรวมถึงประเทสไทยก็มีแนวโน้มที่เข้มงวดขึ้นด้วย ดดยถ้าผุ้ประกอบการผุ้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทยไม่ปรับตัวหรือปรับตัวไม่ทันต่อแนวโน้มก็อาจจะทำให้เสียโอกาสในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป้นมติรกับส่ิงแวดล้อมและสูญเสียความสามารถในการแข่งขันในอนาคต โดยผู้เขียนจะขอยกตัวอย่างแนวโน้มเทคโนดลยีและการผลิต เพื่อเป้นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมที่อุตสาหกรมมยานยนต์ไทยต้องตระหนักและพร้อมปรับตัวดังนี้
1. การปรับปรุงกระบวนการผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐานข้อบังคัยด้านสิ่งแวดล้อมแนวโน้มในอุตสาหกรรมยานยนต์มีแนวโน้มว่าจะมีมาตรการด้านกฎหมาย ข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อมให้เข้มข้นมากขึ้นเรื่อยๆ เช่นแนวโน้มในอุตสาหกรรมยานยนต์มีแนวโน้มว่าจะมีมาตรฐานด้านกฎหมาย ข้อบังคับด้านส่ิงแวบด้อมให้เข้มข้นมากขึ้นเรื่อยๆ เช่น
มาตรฐาน ELVs ซึ่งเป็นมาตรการบังคับใช้ในกลุ่มประเทศยุโรปโดยภาพรวมแล้วระเบียบ ELVs ส่งผลต่อผุ้ประกอบการในอุตสาหกรรมยานยนต์ต้องปรับกระบวนการผลิตให้สามารถผลิตผลติภัณฑ์ที่สามารถ รีไซเคิล, รียูธ และรีคัฟเวอร์ โดยมีเป้าหมายคือ
- สัดส่วนการใช้ซ้ำ/การดึงทรัพยากรกลับ ไม่ต่ำกว่าง 05% โดยน้ำหนัก และการใช้ซ้ำ/การรีไซเคิล ไม่ต่ำกว่า 80% โดยน้ำหนัก ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2549
- สัดส่วนการใช้ซ้ำ/การดึงทรัพยากรกลับ มาใช้และการนำกลับมาใช้ ไม่ต่ำกว่า 85% โดยน้ำหนัก และการใช้ซ้ำ/การรีไซเคิล ไม่ต่ำหว่าง 85%โดยน้ำหนัก ตั้งแต่ 1 มกรคม พ.ศ. 2558
ทั้งนี้มาตรฐาน ELVs ยังมีการระบุว่าการห้ามใช้ดลหะหนัก 4 ชนิด : ยานยนต์และอะไหล่สำหบยานยนต์ที่นำเข้าตลาดหลัง 1 กรกฎาคม 2546 ต้องปราศจากตะกั่ว ปรอท แคดเมียม และโครเมียมเฮกซะวาเลนซ์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปใด ยกเว้นการใช้งานเฉพาะบางอย่างมี่ระบุให้เป็นข้อยกเว้น
โดยมาตรฐานนี้จะมีการบังคับกับบานยนต์ที่่งออกไปจำหน่ายยังประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป โดยบังคับผ่านบริษัทผลติรถยนต์โดยผุ้ผลิตยานยนต์ก็จะมีการระบุเป็นข้อกำหนดของบริษัทตัวเอง เพื่อให้บริษัทผุ้ผลติช้ินส่วนยานยนต์ปฏิบัติตามอีกทอดหนึ่งซึ่งผู้ผลิตยานยนต์และชิ้นส่วนก็จะต้องมีกรปรับกระบวนการผลิตให้เข้ากับมาตการดังกล่าว
มาตรการไอเสียรยตน อีมิสชั่น
แนวโน้มมาตรฐานไอเสียยานยนต์โลกนั้น มีแนวโน้มจะมีความเข้มงวดมากขึ้นเรื่อยๆ โดยมีแนวโน้มในการปรับใช้มาตรฐานของกลุ่มสหภาพยุโรปมาบังคับใช้ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยด้วย ดดยประเทศไทยถือว่าเป้นผุ้นำในการผลิตรถยต์ที่มีมาตฐานที่เข้มงวดที่สุดประเทศหนึ่งในกลุ่มอาเซียน
ซึ่งแนวโน้มการบังคับใช้มาตรฐาน ที่เข้มงวดนี้ก็จะมีผลต่อการผลติชิ้นส่วนยานยนต์ที่จะต้องผลิตชิ้นส่วนให้มีคุณสมบัติสอดรับกับมาตฐานใหม่ๆ อาทิ ชิ้นส่วนระบบการจ่ายน้ำมนเชื้อเพลิงก็จะต้องสามารถทนต่อแรงดันในการฉีดได้มากขึ้น ซึ่งก็จะทำให้วัตถุดิบและเทคโนโลยีการผลิตเปลี่ยนไปและผุ้ผลิตชิ้นส่วนยายนต์ก็จะต้องปรบกระบวนการผลิตให้สอดรับกับเทคโนโลยีใหม่ข้างต้น...
2. การปรับกระบวนการผลิตใด้สอดคล้องกับพัฒนาการของเทคโนโลยียานยนต์ที่มีแนวโน้มเป็สเขียน การปรับกระบวนการผลิตให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเทคโนโลยียานยนต์ให้มีแนวโน้มเป้นสีเขียวนั้นมีความสำคัญมาก เพราะถ้าผุ้ประกอบการปรับตัวไม่ทันก็จะทำให้ผลิตสินค้าไม่เป้นที่ต้องการของตลาดหรือลุกค้าและก็ทำให้ขายสิค้าไม่ได้...
3. สภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรมยานยนต์ที่สูงขึ้น ทำให้ผุ้ประกอบการยานยนต์จะต้องลดต้อนทุนโดยต้องนำวิธีการในการเพ่ิมประสิทธิภาพและผลิตภาพมาประยุกต์ใช้มากขึ้น เช่น กระบวนการลดต้นทุน ไม่ว่าจะเป้นการลดการสูญเสียในกระบวนการผลิต การออกแบบให้ต้นทุนถูกลง การเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลติและที่เกี่ยวข้องโดยใช้กระบวนการต่าง โดยทั้งหมดจะนำไปสู่กระบวนการผลิตที่เปลี่ยนไป ซึ่งมีกล่าวมาทั้งหมดในบทความนี้เป็นเพียงตัวอย่างปัจจัย แนวโน้มการเลปี่ยนแปลงในด้านเทคโนดลยีและการผลติยานยนต์ที่จะทำให้กระบวนการผลิตในอนาคตเปลี่ยนแปลงไปในเชิงที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมมากขึ้น ถ้าผุ้ประกอบการไทยโดยเฉพาะผุ้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไม่รีบปรับตัวพัฒนาผลิตภัฒฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมก็จะทำใหสูญเสียโอกาสสูญเสียความสามารถในการแข่งขันได้ โดยในประเทศ ASEAN คู่แข่งคนสำคัญของเราก็คือประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งมีประชากรประมาณ 240 ล้านคน และอินโดนีเซียมีเปาหมายในการจะขึ้นเป็นที่ 1 ในอาเวียนเช่นเดียวกัน ถ้าเราขยับตัวเร็วดดยมีการพัฒนาผุ้ประกอบการ พัฒนาบุคลากร และกระบวนการผลิตที่เเข็งแกร่งตามแยวโน้มเทคโนโลยีที่เป้ฯมิตรกับส่ิงแวลด้อมอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการพัฒนาความแข็งแกร่งของ ซับพราย เชน ซึงรวมถึงการบูรณาการความร่วมมือกับประเทศ CLMV และนธยบายทางด้านภาษีที่เอื้อต่อการลงทุน ซึ่งมีจำนวนประชากรรวมทั้งหมดไม่น้อยไปกว่าอินโดนีเซียก็จะทำให้ประเทศไทยรักษาความเป็นผู้นำในด้านการผลิตยานยนต์ในอาเวียนภายใต้นโยบายการผลิตทีเ่ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างแน่นอน และท้ายที่สุดแล้วอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทย ก็จะมเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยลดภาวะโลกร้อนและรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยสถาบันยานยนต์พร้อมที่จะเป้ฯหนึ่งในฟันเฟืองหลักที่จะช่วยในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยให้ก้าวต่อไป...www.thaiauto.or.th/2012/th/news/news-detail.asp?news_id=3156
อาเซียนมีความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรมหลายด้าน ทั้งการส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น การแก้ไขปัญหาหมอกควันไฟป่า การสร้างความร่วมมือเพื่อนุรักษ์มรดกทางธรรมชาติของอาเซียน การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ การจัดตั้งศุนย์ความหลากลายทางชัวภาพอาเว๊ยน โครงการฟื้นฟูป่าและระบบนิเวศ การสร้างความร่วมมือในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ เช่น การดำเนินมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติต่อ การสร้างความปลอดภัยด้านอาหาร ความร่วมมือด้านเทคนิคเกี่ยวกับยาการจัดการภัยพิบัติ เช่น การช่วยเหลือบรรเท่าทุกข์ผุ้ประสบภัยในกรณีที่เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ การจัดทำแผนปฏิบัตการ การฝึกอบรม การสื่อสารประสานงานอาเวียน เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และด้านการอนุรักษ์และส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน เช่น การจัดทำโครงการศึกษาวิจัย และจัดทำการผลิตร่วมกันในเรื่องการอนุรักษ์โบราณสถาน ศิลปะการแสดงดั้งเดิม และสิ่งที่ถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของภูมิภาค เป็นต้น
โครงสร้างและกลไกบริหารอาเซียนด้าน่ิงแวดล้อม แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ
1. การประชุมของรัฐมนตรีด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิกอาเซีัยน มีวัตถุประสงค์เพื่อประชุมหารือในประดเ็นปัญหาที่สำคัญและกำหนดแนวทางระดับนโยบาย และความร่วมมือด้าน่ิงแวดล้อมของภูมิภาคอาเซียน ตลอดจนทบทวนข้อตัดสินใจต่างๆ ซึ่งจะมีการประชุมร่วมกันทุกปี
2. ระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม การประชุมระดับเจ้าหน้าที่อสุโสด้าสิ่งแวดล้อมเป้นการประชุมในระดับปลัดกระทรวง หรือเที่ยบเท่าของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อทำหน้าที่กำกับดูแล และติดตามงานด้านสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งประเทศไทยมีปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทำหน้าที่เป้ฯประธานเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเวียนด้านสิ่งแวดล้อม โดยจะมีการประชุมร่วมกันทุกปี
3. คณะทำงานอาเว๊ยนด้านส่ิงแวดล้อม คณะทำงานอาเวียนด้านส่ิงแวดล้อม เป้นการทำางานของเจ้าหน้าที่ในระดับปฏิบัติเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินกความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งแบ่งออกเป็น 7 คณะทำงาน ดังนี้
- คณะทำานอาเวียนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป้นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเวียนด้านการอนุรักษ์ธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ มีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาิติและส่ิงแวดล้อมเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเวียนด้านส่ิงแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่ง มีกรมควบคุมมลพิษเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเวียนด้านข้อตกลงพหุภาคีด้านสิ่งแวดล้อม มีกรมควบคุมมลพษเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเวียนด้านส่ิงแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน มีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป็นหน่วยงสานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเวียนด้านการจัดการทรัพยากรน้ำ มีกรมทรัพยากรน้ำเป้นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเวียนด้านส่ิงแวดล้อมศึกษา มีกรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อมเป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
นอกจากคณะทำงานอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อมแล้ว การดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมของอาเซียนยังมีกรอบเวทีหารือประเด็นสำคัญด้านส่ิแงแวดล้อม และการดำเนินการที่คาบเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้แก่
Meeting of the Conference of the Partiesto the ASEAN Agreement Transboundary Haze Polluution โดยมีกรมควบคุมมลพิษเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
Meeting of Sub-Regionnal Ministerail Steering Committee (MSC Mekong) Transboundary Haze Pollution โดยมีกรมควบคุมมลพิษเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
The Governing Board (GB) Meeting of the ASEAN Centre for Biodiversity (ACB) โดยมีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป้นหน่วยงานกลางระสานการดำเนินงาน
คณะกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ( ASEAN Committee on Science and Technology : ASEAN COST) โดยมีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโ
ยีเป้นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน ซึ่งกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเป็นหน่วยประสานงาานคณะอนุกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางทะเล
การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเวียนด้านการเกษตรและป่าไม้ มีกระทรวงเกษตรและสหกรณืเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก เพื่อกำหนดแนวทางในระดับนโยบายและทบทวนข้อตัดสินใจ ดดยมีกรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป็นหนวยรสานงานเจ้าหน้าที่อสวุโสอาเซียนด้านป่าไม้ ซึ่งเป็นการประชุมภายใต้พันธกรณีของอาเซียนด้านป่าไม้ นอกจากนั้ ยังมีคณะทำงานซึ่งมีการดำเนินงานจัดตั้งเครือข่ายการบังคับใช้กฎ่หมายด้านสัตว์ป่าและพืชป่าในภุมิภาคอาเซียน โดยมีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชเป็นหน่วยงานหลักในการทำหน้าที่กำกับยดูแล
การปรุชมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านแร่ มีกระทรวงอุตสาหกรรมเป้นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก และกรมทรัพยากรธรณี ร่วมเป็นคณะทำงานด้านสารสนเทศและฐานข้อามุลแร่
บางส่วนจาก "ควมรุ้ด้านอาเซียนสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานด้านอาเซียนสิ่งแวดล้อม"
***
ความร่วมมืออาเซียนดด้านสังคมและวัฒนธรรม หมวด D สิ่งแวดล้อม ในข้อ D4 ว่าด้วย "การส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม(EST)" มีเป้าหมายเชิงกลยุทธ์คือ ใช้เทคโนโลยีด้านส่ิงแวดล้อมเพื่อบรรลุป้าหมายเรื่องการพัฒนาที่ยั่งยืนดดยให้มีผลกระทบน้อยที่สุดต่อสิ่งแวดล้อม
มาตรการ
i. ดำเนินการตามเครือข่ายอาเวียนว่าด้วยอีเอสที่ (อาเซียน-เนสต์) ภายในปี 2558
ii. มุ่งไปสู่การรับรองในเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมทั่วทั้งภูมิภาค/กลไกในการติดป้ายประกาศเพื่อส่งเสริมการเติบโตทางเศราบกจิและปกป้องทงสิ่งแวดล้อมภายในปี 2558
iv. ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอเาซียนภายใต้กรอบความร่วมมือใต้-ใต้ และกรอบความร่วมมือเหนือ-ใต้ เพื่อส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยี
v. แสวงหาแนวทางในการจัดตั้งศูนย์อีเอสทีสำหรับประเทศสมาชิกอาเซียน (เช่น ศูนย์ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด)
vi ขยายความร่วมมือในการทำวิจัยร่วม การพัฒนาการเคลื่อนย้ายและการถ่ายทอดอีเอสทีmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d4/
ในปัจจุบันแนวโน้มการพัฒนาของเทคโนโลยียานยนต์โลกและการผลิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมมากขึ้น โดยในแผนแม่บทอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยปี พงศ. 2555-2559 ได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องนี้เช่นเดียวกันซึ่งได้มีวิสัยทัศนืในด้านการผลิตยานยนต์สีเขียนและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
ดังนี้ "ประเทศไทย
1. การปรับปรุงกระบวนการผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐานข้อบังคัยด้านสิ่งแวดล้อมแนวโน้มในอุตสาหกรรมยานยนต์มีแนวโน้มว่าจะมีมาตรการด้านกฎหมาย ข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อมให้เข้มข้นมากขึ้นเรื่อยๆ เช่นแนวโน้มในอุตสาหกรรมยานยนต์มีแนวโน้มว่าจะมีมาตรฐานด้านกฎหมาย ข้อบังคับด้านส่ิงแวบด้อมให้เข้มข้นมากขึ้นเรื่อยๆ เช่น
มาตรฐาน ELVs ซึ่งเป็นมาตรการบังคับใช้ในกลุ่มประเทศยุโรปโดยภาพรวมแล้วระเบียบ ELVs ส่งผลต่อผุ้ประกอบการในอุตสาหกรรมยานยนต์ต้องปรับกระบวนการผลิตให้สามารถผลิตผลติภัณฑ์ที่สามารถ รีไซเคิล, รียูธ และรีคัฟเวอร์ โดยมีเป้าหมายคือ
- สัดส่วนการใช้ซ้ำ/การดึงทรัพยากรกลับ ไม่ต่ำกว่าง 05% โดยน้ำหนัก และการใช้ซ้ำ/การรีไซเคิล ไม่ต่ำกว่า 80% โดยน้ำหนัก ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2549
- สัดส่วนการใช้ซ้ำ/การดึงทรัพยากรกลับ มาใช้และการนำกลับมาใช้ ไม่ต่ำกว่า 85% โดยน้ำหนัก และการใช้ซ้ำ/การรีไซเคิล ไม่ต่ำหว่าง 85%โดยน้ำหนัก ตั้งแต่ 1 มกรคม พ.ศ. 2558
ทั้งนี้มาตรฐาน ELVs ยังมีการระบุว่าการห้ามใช้ดลหะหนัก 4 ชนิด : ยานยนต์และอะไหล่สำหบยานยนต์ที่นำเข้าตลาดหลัง 1 กรกฎาคม 2546 ต้องปราศจากตะกั่ว ปรอท แคดเมียม และโครเมียมเฮกซะวาเลนซ์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปใด ยกเว้นการใช้งานเฉพาะบางอย่างมี่ระบุให้เป็นข้อยกเว้น
โดยมาตรฐานนี้จะมีการบังคับกับบานยนต์ที่่งออกไปจำหน่ายยังประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป โดยบังคับผ่านบริษัทผลติรถยนต์โดยผุ้ผลิตยานยนต์ก็จะมีการระบุเป็นข้อกำหนดของบริษัทตัวเอง เพื่อให้บริษัทผุ้ผลติช้ินส่วนยานยนต์ปฏิบัติตามอีกทอดหนึ่งซึ่งผู้ผลิตยานยนต์และชิ้นส่วนก็จะต้องมีกรปรับกระบวนการผลิตให้เข้ากับมาตการดังกล่าว
มาตรการไอเสียรยตน อีมิสชั่น
แนวโน้มมาตรฐานไอเสียยานยนต์โลกนั้น มีแนวโน้มจะมีความเข้มงวดมากขึ้นเรื่อยๆ โดยมีแนวโน้มในการปรับใช้มาตรฐานของกลุ่มสหภาพยุโรปมาบังคับใช้ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยด้วย ดดยประเทศไทยถือว่าเป้นผุ้นำในการผลิตรถยต์ที่มีมาตฐานที่เข้มงวดที่สุดประเทศหนึ่งในกลุ่มอาเซียน
ซึ่งแนวโน้มการบังคับใช้มาตรฐาน ที่เข้มงวดนี้ก็จะมีผลต่อการผลติชิ้นส่วนยานยนต์ที่จะต้องผลิตชิ้นส่วนให้มีคุณสมบัติสอดรับกับมาตฐานใหม่ๆ อาทิ ชิ้นส่วนระบบการจ่ายน้ำมนเชื้อเพลิงก็จะต้องสามารถทนต่อแรงดันในการฉีดได้มากขึ้น ซึ่งก็จะทำให้วัตถุดิบและเทคโนโลยีการผลิตเปลี่ยนไปและผุ้ผลิตชิ้นส่วนยายนต์ก็จะต้องปรบกระบวนการผลิตให้สอดรับกับเทคโนโลยีใหม่ข้างต้น...
2. การปรับกระบวนการผลิตใด้สอดคล้องกับพัฒนาการของเทคโนโลยียานยนต์ที่มีแนวโน้มเป็สเขียน การปรับกระบวนการผลิตให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเทคโนโลยียานยนต์ให้มีแนวโน้มเป้นสีเขียวนั้นมีความสำคัญมาก เพราะถ้าผุ้ประกอบการปรับตัวไม่ทันก็จะทำให้ผลิตสินค้าไม่เป้นที่ต้องการของตลาดหรือลุกค้าและก็ทำให้ขายสิค้าไม่ได้...
3. สภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรมยานยนต์ที่สูงขึ้น ทำให้ผุ้ประกอบการยานยนต์จะต้องลดต้อนทุนโดยต้องนำวิธีการในการเพ่ิมประสิทธิภาพและผลิตภาพมาประยุกต์ใช้มากขึ้น เช่น กระบวนการลดต้นทุน ไม่ว่าจะเป้นการลดการสูญเสียในกระบวนการผลิต การออกแบบให้ต้นทุนถูกลง การเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลติและที่เกี่ยวข้องโดยใช้กระบวนการต่าง โดยทั้งหมดจะนำไปสู่กระบวนการผลิตที่เปลี่ยนไป ซึ่งมีกล่าวมาทั้งหมดในบทความนี้เป็นเพียงตัวอย่างปัจจัย แนวโน้มการเลปี่ยนแปลงในด้านเทคโนดลยีและการผลติยานยนต์ที่จะทำให้กระบวนการผลิตในอนาคตเปลี่ยนแปลงไปในเชิงที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมมากขึ้น ถ้าผุ้ประกอบการไทยโดยเฉพาะผุ้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไม่รีบปรับตัวพัฒนาผลิตภัฒฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมก็จะทำใหสูญเสียโอกาสสูญเสียความสามารถในการแข่งขันได้ โดยในประเทศ ASEAN คู่แข่งคนสำคัญของเราก็คือประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งมีประชากรประมาณ 240 ล้านคน และอินโดนีเซียมีเปาหมายในการจะขึ้นเป็นที่ 1 ในอาเวียนเช่นเดียวกัน ถ้าเราขยับตัวเร็วดดยมีการพัฒนาผุ้ประกอบการ พัฒนาบุคลากร และกระบวนการผลิตที่เเข็งแกร่งตามแยวโน้มเทคโนโลยีที่เป้ฯมิตรกับส่ิงแวลด้อมอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการพัฒนาความแข็งแกร่งของ ซับพราย เชน ซึงรวมถึงการบูรณาการความร่วมมือกับประเทศ CLMV และนธยบายทางด้านภาษีที่เอื้อต่อการลงทุน ซึ่งมีจำนวนประชากรรวมทั้งหมดไม่น้อยไปกว่าอินโดนีเซียก็จะทำให้ประเทศไทยรักษาความเป็นผู้นำในด้านการผลิตยานยนต์ในอาเวียนภายใต้นโยบายการผลิตทีเ่ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างแน่นอน และท้ายที่สุดแล้วอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทย ก็จะมเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยลดภาวะโลกร้อนและรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยสถาบันยานยนต์พร้อมที่จะเป้ฯหนึ่งในฟันเฟืองหลักที่จะช่วยในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยให้ก้าวต่อไป...www.thaiauto.or.th/2012/th/news/news-detail.asp?news_id=3156
วันอังคารที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2560
Eco-School
ประชาคมสังและวัฒนธรรมอาเซียน ในหมวด D ว่าด้วยสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการศึกษาสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของประชาชน อยู่ในหมวด D3 โดยมีเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ที่จะทำให้อาเซียนเขียวและสะอา มั่งคั่งด้วยประเพณีวัฒนธรรม เป็นที่ซึ่งค่านิยมและธรรมเนียมปฏิบัติของประชาชนสอดคล้องกลมแลืน และประสานกับธรรมชาติด้วยการที่ประชาชนมีความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม เต็มไปด้วยชาติพันธุ์ทางสิ่งแวดล้อมและมีความตั้งใจ และความสามารถในการส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาค ดดยผ่านทางการศึกาาด้านสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยมี มาตรการดังนี้
i ปฏิบัตตามแผนงานอาเซียนว่าด้วยการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม (AEEAP) ปี 2551-2555
ii จัดทำการประเมินสำหรับหลักสูตรการศึกษาแห่งชาติในระบบการ ศึกาาขั้นพื้นฐานเรื่องเนื้อหาครอบคลุมการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม (EE) และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ESD)
iii จัดทำฐานขั้นต่ำเพื่อประเมินโครงการการศึกษาวิชาชีพครู่ รวมทั้งการให้บริการฝึกอบรมทั้งก่อนและระหว่างนั้นได้ครอบคลุมประเด็นออีและอีเอสดีในทางทฤษฎีและแนวทางปฏิบัติ
iv ส่งเสริมให้มีระบบการรับประกันคุณภาพในการศึกาษที่เป้นทางการเพื่อให้ครอบคลุมอีอีและอีเอสดีในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
v ส่งเสริมการทำวิจัยในเรื่องอีอีและอีเอสดีเพื่อให้แน่ใจว่าจะมีการพัฒนาในการศึษาที่เป็นทางการ
vi ส่งเสริมแนวคิดรื่องโรงเรียนที่ยั่งยืน เช่น อีโดสกูลและโรงเรียนสีเขียว ในประเทศสมาชิกอาเซียน
vii ส่งเสริมอีอีให้เป็นเครื่องมือำคัญสำหรับการพัฒนาเืองทีเ่ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนในแต่ละประเทศสมาชิก
ix ใช้อีอีอย่างเหมาะสมในการส่งเสริมแนวปฏิบัติของธุรกิจที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืน
x ส่งเสริมสัปดาห์ส่ิงแวดล้อมอาเซียนเพื่อเป็นเวทีจัดกิจกรรมระดับชาติในการเฉลิมฉลองและส่งเสริมการตระหนักรับรู้เรื่องอสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคกับผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียจากประเทศสมาชิกอาเซียน
xi จัดทำเกณฑ์ขั้นต่ำของอีอีสำหรับความต้องการในการฝึกอบรมในด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนสำหรับผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียจากทุกภาคส่วนทั้งที่เป้ฯทางการและไม่เป้นทางการ
xii จัดการฝึกอบรมเกี่ยวกบอีอีและอีเอสดีสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ
xiii จัดทำโครงการฝึกอบรมผู้นำด้านการพัฒนาอยางยั่งยืนในเรื่องอาเซียนอีอีสำหรับกลุ่มเป้าหมายหลัก เช่น ข้าราชการ สมาชิกรัฐสภา นัการเมือง รวมทังสื่อมวลชนและผุ้มีอยู่ในแวดวงการสื่อสาร เยาวชน สตรี เป็นต้น
xiv จัดให้มีทุนการศึกษาเกี่ยวักบอีอีและอีเอสดีสำหรับผู้มีส่วนได้่ส่วนเสียในภูมิภาค
xv ส่งเสริมและจัดการข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมในอาเว๊ยอย่างแข็งขันเพื่อให้เป็นศูนย์ข้อมูลในการแจกจ่ายและแลกเปลี่ยนและการเรียนรู้เรื่องอีอีและอีเอสดีในอาเซียน
xvi พัฒนาเครือข่ายเยาวชนทั่วอาเซียนเพื่อส่ิงแวดล้อมที่ยังยืน
xvii จัดให้มีการประชุมนานาชาติประจำปีเกี่ยวกับอาเวียนอีอี การประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอีอีของภูมิภาคเพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข้อเท็จจริงประสบการณ์และเป็นการสร้างเครื่อข่าย เป็นต้น
xix จัดตั้งเครือข่ายและกระชับความร่วมมือกับอค์กรเอกชน มหาวิทยาลัย และสื่อมวลชนทั่วภุมภาคเพ่อให้เป็นผุ้ปฏิบัติ ผู้้สนับสนุน ผุ้ถ่ายทอด และเป้นตัวแทนของการเปลียนแลปงสำหรับอีอ และอีเอสดี และ
xx ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผุ้นำชุมชน เช่น ผุ้นำทางศาสนาซึ่งมีความใกล้ชิดกับชุมชนท้องถ่ินในการส่งเสริมเรื่องการตระหนักรับรู้แก่สาธารณชนเกี่ยวกับควมสำคัญของการพัฒนาที่ยั่งยืนและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับส่ิงแวดล้อมที่ยั่งยืนmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d3/
Eco-School หรือ โรงเรียนสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน มีจุดเร่ิมต้นจากการรวบรวมประสบการณ์การทำงานของบุคลากรหลักของศูนย์สิ่งแวดล้อมศึกษาระดับจังหวัดที่ต้องการจะเห็นการพัฒนากระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา Environmental Education ในโรงเรียน ที่ตอบสนองเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยที่ฌรงเรียนสามารดำเนินการได้อย่างกลมกลืนไปกับมิติการเรียนรู้ต่างๆ ของนักเรียน ทั้งในโรงเรียน ที่บ้าน ในชุมชนและสังคมภายนอก และที่สำคัญต้องไม่เป็นการเพ่ิมภาระงานให้กับโรงเรียน
นิยามของอีโก้สคูล คือ "โรงเรียนที่มีการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนกระบวนการเรียนรุ้ที่สงเสริมและพัฒนานักรเียนให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ ตระหนักต่อปัญหารส่งิแวดล้อมและการพัฒนาของท้องถ่ิน มีความรู้ความเข้าใจอันเป็นผลจากระบวนการเรียนรู้และการลงมือปฏิบัติจริงและพร้อมที่จะข้าไปมีบทบาทในการป้องกัน ฟื้นฟู รักษา และใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนต่อไป"
เป้าหมายสูงสุดของโรงเรียยอีโคสคูล คือ การพัฒนานักรเียนให้เติบโตขึ้นเป้น "พลเมือง" ที่ใช้ชีวิตอย่าง "พอเพียง" เพื่อสังคมและส่ิงแวดล้อมที่ "ยั่งยืน"
ประโยชน์ที่จะได้รับ
- สิงแวดล้อมในโรงเรียน (และชุมชน) ดีขึ้น
- ชุมชนเห้ฯความสำคัญ และเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรุ้ของนักเรียน
- โรงเรียนได้รับการพัฒนาให้เป็น "สังคมจำลอง" และเป็น "พื้นที่เรียนรู้" ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
- โรงเรียนได้รับโอกาสและการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งหน่วยงานของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และหน่วยงานหรือองค์กรที่ทำงานด้านส่ิงแวดล้อมและการจัดกระบวนการเรียนรู้
- ครูได้รับการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อสร้างนักเรียน ให้เติบโตขึ้นเป็น "พลเมือง" ที่มีวิถีชีวิต "พอเพียง" เพื่อมุ่งสู่สังคมและส่ิงแวดล้อมที่ "ยั่งยืน"
- ครูและผู้บริหารโรงเรียนสามารถนำผลงานไปใช้ประกอบการประเมินวิทยฐานะ
- นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงกล้าพูด กล้าแสดงความคิดเห็น และนำเสนอความคิด
- นักเรียนสามารถคิดวเคราะห์ได้ดีข้น
- นักเรียนรู้จักชุมชนของตนและเข้าใจประเด็นสิ่งแวดล้อมของชุมชนมากย่ิงขึ้น
- นักเรียนมีจิตสำนึกรักบ้านเกิด
- นักเรียนมีความตระหนัก รับผิดชอบ และดูแลสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน
- นักเรียนเติบโตขึ้นเป็น "พลเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อม"
พันธกิจ
การดำเนินงานโรงเรียนอีโคสคูลให้ประสบความสำเร็จโรงเรียนจำเป็นจะต้องนำหลักการจัดการโรงเรียนทั้งระบบ ( whole school Approch) มาใช้เพื่เป็นแนวทางในการบริหารจัดการ โดยกำหนดเป็ฯพันธกิจหลัก 4 ด้าน ที่เปรียบเสมือน "ฟันเฟือง"ชขับเคลื่อนการดำเนินงานโรงเรียนอีโคสคูล ซึงพันธกิจหลักประกอบด้วย นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมศึกาาและดครงสร้างการบริหารจัดการ, การจัดกระบวนการเรียนรู้, การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในโรงเรียน, การมีส่วนร่วมและเครือข่ายด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา
คุณลักษระสำคัญของโรงเรียนอีโคสคูล
- มีการบริหารจัดการโรงเรียนทั้งระบบอย่างต่อเนือ่ง ตั้งแต่ระดับนโยบาย หลักสูตรสถานศึกษา และการจัดการด้านทรัพยากรธรรมชติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
- มีการจัดการเรียนรู้มุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยใช้ "กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา"เป็นเครื่องมือหลักในการจัดการเรียรุ้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับบริบทของชุมชนและประเทศเน้นผุ้เรียนเป็นสำคัญ และเน้นการพัฒนาทักษระการเรียนรุ้ที่พร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงในสตวรรษที่ 21
- มีการบูรณาการประเด็นสิ่งแวดล้อมท้องถ่ินเข้าในหลักสูตรการเรียนการสน และกิจกรรมพัฒาผุ้เรียน โดยมีการเชื่อมโยงให้เห็นถึงความสมพันธ์ของประเด็นสิ่งแวดล้อมในระดับท้องถ่ิน ประเทศ ภูมิภาค และระดับโลก
- เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกคนทั้งดรงเรียนและชุมชนท้องถ่นดดยการบวนการทำงานจะต้องให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมทั้งจากผุ้บริหารโรงเรียน ครู บุคลากรในดรงเรียน นักเรียน และผุ้แทนชุมชน ดดยร่วมกันคิดค้อนแนวทาง/วิธีการ ป้องกัน และ แก้ไขปัญาสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนชุมชน
-ช่วยเสริมพลังการทำงานตามภารกิจของโรงเรียนที่มีอยู่เดิม ให้มีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ดดยไม่เป็นการเพ่ิมภาระให้แก่โรงเรียน คือ เมื่อผุ้บริหารและทุกฝ่ายในโรงเรียนสมัครใจและมีความมุ่งมั่นจะพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนอีโคสคูลแล้ว จะต้องไม่รู้สึกว่าเป้นภาระงานที่เพิ่มมากขึ้นแต่อย่างใด
คุณลักษณะของพลเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อม
พลเมือง หมายถึง ราษฎรหรือประชาชนที่นอกจากจะต้องเสียภาษีและปฏิบัติตามกฎหมายบ้านเมืองแล้ว ยังต้องมีบทบาทและสิทธิในการแสดงความคิดเห็นรวมถึงการเข้าร่วมทำกิจกรรมต่างไ เพื่อส่วนรวม นอกจากนี้ ควารมีความเข้าใจปัญหาของชุมชน และมีความเชื่อมั่นว่าสามารถที่จะดำเนินการเองได้ ซึ่งชุมชนหรือสังคมที่มีพลเมืองทีดี ย่อมส่งผลให้ชุมชนหรือสังคมนั้นมีความเข้ฒแข็ง
เป้าหมายสูงสุดของโรงเรียนอีโคสคูล คือ พัฒนานักเรียนให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อสงคมและส่ิงแวดล้อม โดยใช้หลักการจัการโรงเรียนทั้งระบบ และน้อมนำหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อให้เกิดความยั่งยืนขึ้นในท้องถ่ินและสงคม หรือสรุปสั้นๆ ก็คือ การสร้าง "พลเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อม" โดยสามารถสรุปคุณลักาณของพลเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อมได้ดังนี้
- รู้ัจักและขเข้าใจชุมชนอย่่างถ่องแท้
- ติดตามข่าวสาร สภาพและปัญหาด้านส่ิงแวดล้อม เศราบกิจ และสังคม อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
- สามารถคาดการณ์ถึงแนวโน้มสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อมของชุมชนได้
- รู้ถึงแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมกับสภาพสังคมและบริบทท้องถิ่น
- มีจิตสำนึกรักประเทศชาติบ้านเกิด
- กล้าแสดงความคิดเห็นนเรื่องต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมบนพื้นฐานหลักการประชาธิปไตย
- ไม่เพิกเฉยต่อความอยุติธรรมในสังคม
- มีวินัยและเคารพกฎกติการของสังคม
- มีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนและสังคมเมื่อมีโอกาส
- มีพฤติกรรมและใช้ชีวิตประจำวันอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- มีความเป็นผุ้นำในงานหรือกิจกรรมการดูแลรักษาทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม
คู่มือแนวทางการดำเนินงานโรงเรียนอีโคสคูล, กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
i ปฏิบัตตามแผนงานอาเซียนว่าด้วยการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม (AEEAP) ปี 2551-2555
ii จัดทำการประเมินสำหรับหลักสูตรการศึกษาแห่งชาติในระบบการ ศึกาาขั้นพื้นฐานเรื่องเนื้อหาครอบคลุมการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม (EE) และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ESD)
iii จัดทำฐานขั้นต่ำเพื่อประเมินโครงการการศึกษาวิชาชีพครู่ รวมทั้งการให้บริการฝึกอบรมทั้งก่อนและระหว่างนั้นได้ครอบคลุมประเด็นออีและอีเอสดีในทางทฤษฎีและแนวทางปฏิบัติ
iv ส่งเสริมให้มีระบบการรับประกันคุณภาพในการศึกาษที่เป้นทางการเพื่อให้ครอบคลุมอีอีและอีเอสดีในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
v ส่งเสริมการทำวิจัยในเรื่องอีอีและอีเอสดีเพื่อให้แน่ใจว่าจะมีการพัฒนาในการศึษาที่เป็นทางการ
vi ส่งเสริมแนวคิดรื่องโรงเรียนที่ยั่งยืน เช่น อีโดสกูลและโรงเรียนสีเขียว ในประเทศสมาชิกอาเซียน
vii ส่งเสริมอีอีให้เป็นเครื่องมือำคัญสำหรับการพัฒนาเืองทีเ่ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนในแต่ละประเทศสมาชิก
ix ใช้อีอีอย่างเหมาะสมในการส่งเสริมแนวปฏิบัติของธุรกิจที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืน
x ส่งเสริมสัปดาห์ส่ิงแวดล้อมอาเซียนเพื่อเป็นเวทีจัดกิจกรรมระดับชาติในการเฉลิมฉลองและส่งเสริมการตระหนักรับรู้เรื่องอสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคกับผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียจากประเทศสมาชิกอาเซียน
xi จัดทำเกณฑ์ขั้นต่ำของอีอีสำหรับความต้องการในการฝึกอบรมในด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนสำหรับผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียจากทุกภาคส่วนทั้งที่เป้ฯทางการและไม่เป้นทางการ
xii จัดการฝึกอบรมเกี่ยวกบอีอีและอีเอสดีสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ
xiii จัดทำโครงการฝึกอบรมผู้นำด้านการพัฒนาอยางยั่งยืนในเรื่องอาเซียนอีอีสำหรับกลุ่มเป้าหมายหลัก เช่น ข้าราชการ สมาชิกรัฐสภา นัการเมือง รวมทังสื่อมวลชนและผุ้มีอยู่ในแวดวงการสื่อสาร เยาวชน สตรี เป็นต้น
xiv จัดให้มีทุนการศึกษาเกี่ยวักบอีอีและอีเอสดีสำหรับผู้มีส่วนได้่ส่วนเสียในภูมิภาค
xv ส่งเสริมและจัดการข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมในอาเว๊ยอย่างแข็งขันเพื่อให้เป็นศูนย์ข้อมูลในการแจกจ่ายและแลกเปลี่ยนและการเรียนรู้เรื่องอีอีและอีเอสดีในอาเซียน
xvi พัฒนาเครือข่ายเยาวชนทั่วอาเซียนเพื่อส่ิงแวดล้อมที่ยังยืน
xvii จัดให้มีการประชุมนานาชาติประจำปีเกี่ยวกับอาเวียนอีอี การประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอีอีของภูมิภาคเพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข้อเท็จจริงประสบการณ์และเป็นการสร้างเครื่อข่าย เป็นต้น
xix จัดตั้งเครือข่ายและกระชับความร่วมมือกับอค์กรเอกชน มหาวิทยาลัย และสื่อมวลชนทั่วภุมภาคเพ่อให้เป็นผุ้ปฏิบัติ ผู้้สนับสนุน ผุ้ถ่ายทอด และเป้นตัวแทนของการเปลียนแลปงสำหรับอีอ และอีเอสดี และ
xx ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผุ้นำชุมชน เช่น ผุ้นำทางศาสนาซึ่งมีความใกล้ชิดกับชุมชนท้องถ่ินในการส่งเสริมเรื่องการตระหนักรับรู้แก่สาธารณชนเกี่ยวกับควมสำคัญของการพัฒนาที่ยั่งยืนและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับส่ิงแวดล้อมที่ยั่งยืนmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d3/
Eco-School หรือ โรงเรียนสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน มีจุดเร่ิมต้นจากการรวบรวมประสบการณ์การทำงานของบุคลากรหลักของศูนย์สิ่งแวดล้อมศึกษาระดับจังหวัดที่ต้องการจะเห็นการพัฒนากระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา Environmental Education ในโรงเรียน ที่ตอบสนองเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยที่ฌรงเรียนสามารดำเนินการได้อย่างกลมกลืนไปกับมิติการเรียนรู้ต่างๆ ของนักเรียน ทั้งในโรงเรียน ที่บ้าน ในชุมชนและสังคมภายนอก และที่สำคัญต้องไม่เป็นการเพ่ิมภาระงานให้กับโรงเรียน
นิยามของอีโก้สคูล คือ "โรงเรียนที่มีการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนกระบวนการเรียนรุ้ที่สงเสริมและพัฒนานักรเียนให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ ตระหนักต่อปัญหารส่งิแวดล้อมและการพัฒนาของท้องถ่ิน มีความรู้ความเข้าใจอันเป็นผลจากระบวนการเรียนรู้และการลงมือปฏิบัติจริงและพร้อมที่จะข้าไปมีบทบาทในการป้องกัน ฟื้นฟู รักษา และใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนต่อไป"
เป้าหมายสูงสุดของโรงเรียยอีโคสคูล คือ การพัฒนานักรเียนให้เติบโตขึ้นเป้น "พลเมือง" ที่ใช้ชีวิตอย่าง "พอเพียง" เพื่อสังคมและส่ิงแวดล้อมที่ "ยั่งยืน"
ประโยชน์ที่จะได้รับ
- สิงแวดล้อมในโรงเรียน (และชุมชน) ดีขึ้น
- ชุมชนเห้ฯความสำคัญ และเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรุ้ของนักเรียน
- โรงเรียนได้รับการพัฒนาให้เป็น "สังคมจำลอง" และเป็น "พื้นที่เรียนรู้" ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
- โรงเรียนได้รับโอกาสและการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งหน่วยงานของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และหน่วยงานหรือองค์กรที่ทำงานด้านส่ิงแวดล้อมและการจัดกระบวนการเรียนรู้
- ครูได้รับการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อสร้างนักเรียน ให้เติบโตขึ้นเป็น "พลเมือง" ที่มีวิถีชีวิต "พอเพียง" เพื่อมุ่งสู่สังคมและส่ิงแวดล้อมที่ "ยั่งยืน"
- ครูและผู้บริหารโรงเรียนสามารถนำผลงานไปใช้ประกอบการประเมินวิทยฐานะ
- นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงกล้าพูด กล้าแสดงความคิดเห็น และนำเสนอความคิด
- นักเรียนสามารถคิดวเคราะห์ได้ดีข้น
- นักเรียนรู้จักชุมชนของตนและเข้าใจประเด็นสิ่งแวดล้อมของชุมชนมากย่ิงขึ้น
- นักเรียนมีจิตสำนึกรักบ้านเกิด
- นักเรียนมีความตระหนัก รับผิดชอบ และดูแลสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน
- นักเรียนเติบโตขึ้นเป็น "พลเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อม"
พันธกิจ
การดำเนินงานโรงเรียนอีโคสคูลให้ประสบความสำเร็จโรงเรียนจำเป็นจะต้องนำหลักการจัดการโรงเรียนทั้งระบบ ( whole school Approch) มาใช้เพื่เป็นแนวทางในการบริหารจัดการ โดยกำหนดเป็ฯพันธกิจหลัก 4 ด้าน ที่เปรียบเสมือน "ฟันเฟือง"ชขับเคลื่อนการดำเนินงานโรงเรียนอีโคสคูล ซึงพันธกิจหลักประกอบด้วย นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมศึกาาและดครงสร้างการบริหารจัดการ, การจัดกระบวนการเรียนรู้, การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในโรงเรียน, การมีส่วนร่วมและเครือข่ายด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา
คุณลักษระสำคัญของโรงเรียนอีโคสคูล
- มีการบริหารจัดการโรงเรียนทั้งระบบอย่างต่อเนือ่ง ตั้งแต่ระดับนโยบาย หลักสูตรสถานศึกษา และการจัดการด้านทรัพยากรธรรมชติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
- มีการจัดการเรียนรู้มุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยใช้ "กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา"เป็นเครื่องมือหลักในการจัดการเรียรุ้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับบริบทของชุมชนและประเทศเน้นผุ้เรียนเป็นสำคัญ และเน้นการพัฒนาทักษระการเรียนรุ้ที่พร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงในสตวรรษที่ 21
- มีการบูรณาการประเด็นสิ่งแวดล้อมท้องถ่ินเข้าในหลักสูตรการเรียนการสน และกิจกรรมพัฒาผุ้เรียน โดยมีการเชื่อมโยงให้เห็นถึงความสมพันธ์ของประเด็นสิ่งแวดล้อมในระดับท้องถ่ิน ประเทศ ภูมิภาค และระดับโลก
- เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกคนทั้งดรงเรียนและชุมชนท้องถ่นดดยการบวนการทำงานจะต้องให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมทั้งจากผุ้บริหารโรงเรียน ครู บุคลากรในดรงเรียน นักเรียน และผุ้แทนชุมชน ดดยร่วมกันคิดค้อนแนวทาง/วิธีการ ป้องกัน และ แก้ไขปัญาสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนชุมชน
-ช่วยเสริมพลังการทำงานตามภารกิจของโรงเรียนที่มีอยู่เดิม ให้มีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ดดยไม่เป็นการเพ่ิมภาระให้แก่โรงเรียน คือ เมื่อผุ้บริหารและทุกฝ่ายในโรงเรียนสมัครใจและมีความมุ่งมั่นจะพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนอีโคสคูลแล้ว จะต้องไม่รู้สึกว่าเป้นภาระงานที่เพิ่มมากขึ้นแต่อย่างใด
คุณลักษณะของพลเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อม
พลเมือง หมายถึง ราษฎรหรือประชาชนที่นอกจากจะต้องเสียภาษีและปฏิบัติตามกฎหมายบ้านเมืองแล้ว ยังต้องมีบทบาทและสิทธิในการแสดงความคิดเห็นรวมถึงการเข้าร่วมทำกิจกรรมต่างไ เพื่อส่วนรวม นอกจากนี้ ควารมีความเข้าใจปัญหาของชุมชน และมีความเชื่อมั่นว่าสามารถที่จะดำเนินการเองได้ ซึ่งชุมชนหรือสังคมที่มีพลเมืองทีดี ย่อมส่งผลให้ชุมชนหรือสังคมนั้นมีความเข้ฒแข็ง
เป้าหมายสูงสุดของโรงเรียนอีโคสคูล คือ พัฒนานักเรียนให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อสงคมและส่ิงแวดล้อม โดยใช้หลักการจัการโรงเรียนทั้งระบบ และน้อมนำหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อให้เกิดความยั่งยืนขึ้นในท้องถ่ินและสงคม หรือสรุปสั้นๆ ก็คือ การสร้าง "พลเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อม" โดยสามารถสรุปคุณลักาณของพลเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อมได้ดังนี้
- รู้ัจักและขเข้าใจชุมชนอย่่างถ่องแท้
- ติดตามข่าวสาร สภาพและปัญหาด้านส่ิงแวดล้อม เศราบกิจ และสังคม อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
- สามารถคาดการณ์ถึงแนวโน้มสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อมของชุมชนได้
- รู้ถึงแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมกับสภาพสังคมและบริบทท้องถิ่น
- มีจิตสำนึกรักประเทศชาติบ้านเกิด
- กล้าแสดงความคิดเห็นนเรื่องต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมบนพื้นฐานหลักการประชาธิปไตย
- ไม่เพิกเฉยต่อความอยุติธรรมในสังคม
- มีวินัยและเคารพกฎกติการของสังคม
- มีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนและสังคมเมื่อมีโอกาส
- มีพฤติกรรมและใช้ชีวิตประจำวันอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- มีความเป็นผุ้นำในงานหรือกิจกรรมการดูแลรักษาทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม
คู่มือแนวทางการดำเนินงานโรงเรียนอีโคสคูล, กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
Basel Convention
ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย ประเทศสมาชิก 10 ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซียน บรูไนปละ ฟิลิปปินส์ "ปฎิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2" ซึ่งกำหนดให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนที่ประกอบ้บไปด้วย 3 เสาหลักได้แก่
- ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มุ่งห้ประเทศกลุ่มสมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสัติ แกไขปัญหาระหว่างกันโดยสันติวิธี มีเสถียรภาพและความมั่นคงรอบด้าน เพื่อความม่นคงปลอดภัยของเหล่าประชาชน
- ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน มุ่งเน้นให้เกิดการรวมตัวกันทางเศราฐกิจและความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน เพื่อให้ประเทศสมาชิกสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้
- ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มุ่งหวังให้ประชากรมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี มีความมั่นคงทางสังคม มีการพัฒนาในทุกๆ ด้าน และมัสังคมแบบเอื้ออาทร โดยจะมีแผนงนสรร้างความร่วมือ 6 ด้าน คือ
A.การพัฒนามนุษย์
A1 ให้ความสำคัญกับการศึกษา
A2 การลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
A3 ส่งเสริมการจ้างานที่เหมาะสม
A4 การอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์
A5 การอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์
A6 เสริมสร้างทักษะในการประกอบการสำหรับสตรี เยาวชน ผู้สุงอายุ และผุ้พิการ
A7 พัฒนาสมรรถภาพของระบบราชการ
B. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม
B1 การขจัดความยากจน
B2 เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมและความคุ้มกันจากผลกระทบด้านลบจากการรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวัฒน์
B3 ส่งเสริมความมั่นคง และความปลอดภัยด้านอาหาร
B4 การเข้าถึงการดูแลสุขภาพและส่งเสริมการดำรงชีวิตที่มีสุขภาพ
B5 การเพิ่มศักยภาพในการควบคุมโรคติดต่อ
B6 รับประกันอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด
B7 การสร้างรัฐที่พร้อมรับกับภัยพิบัติและประชาคมที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น
C. ความยุติธรรมและสิทธิ
C1 การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการสำหรับสตรี เยาวชน ผุ้สุงอายุ และผุ้พิการ
C2 การคุ้มครองและส่งเสริมแรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน
C3 ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ
D. ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
D1 การจัดการปัญหาส่ิงแวดล้อมของโลก
D2 การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมร่วมของประชาชน
D3 ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมของประชาชน
D4 ส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม (อีเอสที)
D5 ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเขตเมืองต่างๆ ของอาเซียน และเขตเมือง
D6 การทำการประสานกันเรื่องนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมและฐานข้อมูล
D7 ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรชายฝั่ง และทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน
D8 ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
D9 ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้ำจืด
D10 การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการจัดการต่อผลกระทบ
D11 ส่งเสริมการบริหารตัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
E. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
E1 ส่งเสริมการตระหนักรับรู้เก่ยวกับอาเซียน และความรู้สึกของการเป็นประชาคม
E2 การส่งเสริมและการอนุรักษณืมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน
E3 ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม
E4 การมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชน
F. การลดช่องว่างทางการพัฒนาwww.mfa.go.th/asean/th/customize/30643-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99.html
D2 การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดน เพื่อดำเนินมาตรการและส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ เพื่อต่อต้านปัญหามลพิษจากส่ิงแวดล้อม ซึ่งรวมถึงปัญหามลพิษหมอกควันข้ามแดน การเคลื่อนย้ยปฏิกูลอันตรายข้ามแดน โดยการเสริมสร้างขีดความสามารถ ส่งเสริมการตะกหนักรับรู้ต่อสาธารณชน เพิ่มอำนาจการบังคับใช้กฎหมาย และสนับสนุนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมที่ยังยืน และดำเนินการตามความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษหมอกควันข้ามแดน
D2.1 มลพิษหมอกควันข้ามแดน...
D2.2 มลพิษจากของเสียที่มีพิษข้ามแดน มาตรการ
- ส่งเสริมการประสานงานนระดับภูมิภาคและการแลกเปลี่ยนข้อมุล ประสบการณ์และความสามารถในการจัดการของเสียอันตราย
- ใช้ประโยชน์จากศูนย์ภูมิภาคอนุสัญญาบาเซลในการฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (BCRC-SEA) และบทบาทของคณะทำงานในการให้บริการแก่ภูมิภาคในเรื่องการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการเสริมสร้างขีดความสามารถในการจัดการของเสียอันตราย
- จัดตั้งกลไกระดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพและพร้อมที่จะปฏิบัติการในการจัดการของเสียอันตรายข้ามแดน รวมทั้งการขนย้ายของเสียที่ผิดกฎหมายโดยให้สอดคล้องกับอนุสัญญาบาเซลmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d2/
อนุสัญญาบาเซิล หรืออนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดนและการกำจัดซึ่งของเสียอันตราย เป็นสธิสัญญาระดับนานาชาติว่า ด้วยการจำกัดการเคลื่อนย้ายของเสียอันตรายระหว่างประเทศ โดยเฉพาะจากประเทศกำลังพัฒนาไปยังประเทศด้อยพัฒนา จุดมุ่งหมยคือลดปริมาณสารพิษที่เกิดจากของเสีย หรือ ขยะ
อนุสัญญาบาเซิลเร่ิมลงนามเมือวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ปัจจุบันมี 166 ประเทศที่ลงนาม โดยมีประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศเฮติ และสหรัฐอเมริกาที่ลงนามแล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มเข้ากระบวนการปฏิบัติตามสนธิสัญญา
ความเป็นมา สาระสำคัญและประโยชน์การเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาบาเซล
th.wikipedia.org/wiki/อนุสัญญาบาเซิล
ความเป็นมาในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาปัญหาการลักลอบนำของเสียอันตรายจากประเทศอุตสาหกรรมไปท้ิงในประเทศด้อยพัฒนาที่อยู่ทวีปแอฟริกาอเมริกากลาง และอเอเชียได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นตามลำดับโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ จึงได้จัดประชุมนานาชาติขึ้นตามลำดับโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ จึงได้จัดประชุมนานาชาติขึ้นเมือเดือนมีนาคม พ.ศ. 2532 ณ นครบาเซล ประ
เทศสวิตเซอร์แลนด์เพื่อจัดทำร่างอนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตราย้ามแดนโดยมีวัตถุประสงค์เพือควบคุมการนำเข้า ส่งออกและนำผ่านของเสียอันตรายให้เกิดความปลอดภัยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย รวมทั้งป้องกันการขนสงที่ผิดกฎหมายและช่วยเลหือประเทศกำลังพัฒนาในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการของเสียอันตราย โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ซึ่งต่อมาได้เปิดให้ประเทศต่างๆ ได้ลงนามเข้ารวมเป็นภาคตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม 2533 และมีผลใช้บังคับเมื่อวัีนที่ 5 พฤษภาคม 2535 ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกที่ให้สัตยาบันเป็นภาคีสมาชิกอนุสัญญาแล้ว จำนวนทั้งหมด 169 ประเทศ (ข้อมูลเมื่อธันวาคม 2549) ประเทศไทยได้จัดส่งผุ้แทนเข้าร่วมการประชุมระดับนานาชาติเพื่อจัดทำร่างอนุสัญญาและกำหนดข้อตกลงต่างๆ มาโดยลำดับและได้ให้สัตยาบันเป็นภาคีสมาชิกอนุสัญญาบาเซลเมือวันที่ 24 พฤศจิกายน 2540 อนุสัญญาบาเซลมีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2541 เป็นต้นมา
th.wikipedia.org/wiki/อนุสัญญาบาเซิล
- ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มุ่งห้ประเทศกลุ่มสมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสัติ แกไขปัญหาระหว่างกันโดยสันติวิธี มีเสถียรภาพและความมั่นคงรอบด้าน เพื่อความม่นคงปลอดภัยของเหล่าประชาชน
- ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน มุ่งเน้นให้เกิดการรวมตัวกันทางเศราฐกิจและความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน เพื่อให้ประเทศสมาชิกสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้
- ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มุ่งหวังให้ประชากรมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี มีความมั่นคงทางสังคม มีการพัฒนาในทุกๆ ด้าน และมัสังคมแบบเอื้ออาทร โดยจะมีแผนงนสรร้างความร่วมือ 6 ด้าน คือ
A.การพัฒนามนุษย์
A1 ให้ความสำคัญกับการศึกษา
A2 การลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
A3 ส่งเสริมการจ้างานที่เหมาะสม
A4 การอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์
A5 การอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์
A6 เสริมสร้างทักษะในการประกอบการสำหรับสตรี เยาวชน ผู้สุงอายุ และผุ้พิการ
A7 พัฒนาสมรรถภาพของระบบราชการ
B. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม
B1 การขจัดความยากจน
B2 เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมและความคุ้มกันจากผลกระทบด้านลบจากการรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวัฒน์
B3 ส่งเสริมความมั่นคง และความปลอดภัยด้านอาหาร
B4 การเข้าถึงการดูแลสุขภาพและส่งเสริมการดำรงชีวิตที่มีสุขภาพ
B5 การเพิ่มศักยภาพในการควบคุมโรคติดต่อ
B6 รับประกันอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด
B7 การสร้างรัฐที่พร้อมรับกับภัยพิบัติและประชาคมที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น
C. ความยุติธรรมและสิทธิ
C1 การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการสำหรับสตรี เยาวชน ผุ้สุงอายุ และผุ้พิการ
C2 การคุ้มครองและส่งเสริมแรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน
C3 ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ
D. ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
D1 การจัดการปัญหาส่ิงแวดล้อมของโลก
D2 การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมร่วมของประชาชน
D3 ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมของประชาชน
D4 ส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม (อีเอสที)
D5 ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเขตเมืองต่างๆ ของอาเซียน และเขตเมือง
D6 การทำการประสานกันเรื่องนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมและฐานข้อมูล
D7 ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรชายฝั่ง และทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน
D8 ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
D9 ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้ำจืด
D10 การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการจัดการต่อผลกระทบ
D11 ส่งเสริมการบริหารตัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
E. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
E1 ส่งเสริมการตระหนักรับรู้เก่ยวกับอาเซียน และความรู้สึกของการเป็นประชาคม
E2 การส่งเสริมและการอนุรักษณืมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน
E3 ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม
E4 การมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชน
F. การลดช่องว่างทางการพัฒนาwww.mfa.go.th/asean/th/customize/30643-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99.html
D2 การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดน เพื่อดำเนินมาตรการและส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ เพื่อต่อต้านปัญหามลพิษจากส่ิงแวดล้อม ซึ่งรวมถึงปัญหามลพิษหมอกควันข้ามแดน การเคลื่อนย้ยปฏิกูลอันตรายข้ามแดน โดยการเสริมสร้างขีดความสามารถ ส่งเสริมการตะกหนักรับรู้ต่อสาธารณชน เพิ่มอำนาจการบังคับใช้กฎหมาย และสนับสนุนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมที่ยังยืน และดำเนินการตามความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษหมอกควันข้ามแดน
D2.1 มลพิษหมอกควันข้ามแดน...
D2.2 มลพิษจากของเสียที่มีพิษข้ามแดน มาตรการ
- ส่งเสริมการประสานงานนระดับภูมิภาคและการแลกเปลี่ยนข้อมุล ประสบการณ์และความสามารถในการจัดการของเสียอันตราย
- ใช้ประโยชน์จากศูนย์ภูมิภาคอนุสัญญาบาเซลในการฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (BCRC-SEA) และบทบาทของคณะทำงานในการให้บริการแก่ภูมิภาคในเรื่องการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการเสริมสร้างขีดความสามารถในการจัดการของเสียอันตราย
- จัดตั้งกลไกระดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพและพร้อมที่จะปฏิบัติการในการจัดการของเสียอันตรายข้ามแดน รวมทั้งการขนย้ายของเสียที่ผิดกฎหมายโดยให้สอดคล้องกับอนุสัญญาบาเซลmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d2/
อนุสัญญาบาเซิล หรืออนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดนและการกำจัดซึ่งของเสียอันตราย เป็นสธิสัญญาระดับนานาชาติว่า ด้วยการจำกัดการเคลื่อนย้ายของเสียอันตรายระหว่างประเทศ โดยเฉพาะจากประเทศกำลังพัฒนาไปยังประเทศด้อยพัฒนา จุดมุ่งหมยคือลดปริมาณสารพิษที่เกิดจากของเสีย หรือ ขยะ
อนุสัญญาบาเซิลเร่ิมลงนามเมือวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ปัจจุบันมี 166 ประเทศที่ลงนาม โดยมีประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศเฮติ และสหรัฐอเมริกาที่ลงนามแล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มเข้ากระบวนการปฏิบัติตามสนธิสัญญา
ความเป็นมา สาระสำคัญและประโยชน์การเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาบาเซล
th.wikipedia.org/wiki/อนุสัญญาบาเซิล
ความเป็นมาในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาปัญหาการลักลอบนำของเสียอันตรายจากประเทศอุตสาหกรรมไปท้ิงในประเทศด้อยพัฒนาที่อยู่ทวีปแอฟริกาอเมริกากลาง และอเอเชียได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นตามลำดับโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ จึงได้จัดประชุมนานาชาติขึ้นตามลำดับโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ จึงได้จัดประชุมนานาชาติขึ้นเมือเดือนมีนาคม พ.ศ. 2532 ณ นครบาเซล ประ
เทศสวิตเซอร์แลนด์เพื่อจัดทำร่างอนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตราย้ามแดนโดยมีวัตถุประสงค์เพือควบคุมการนำเข้า ส่งออกและนำผ่านของเสียอันตรายให้เกิดความปลอดภัยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย รวมทั้งป้องกันการขนสงที่ผิดกฎหมายและช่วยเลหือประเทศกำลังพัฒนาในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการของเสียอันตราย โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ซึ่งต่อมาได้เปิดให้ประเทศต่างๆ ได้ลงนามเข้ารวมเป็นภาคตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม 2533 และมีผลใช้บังคับเมื่อวัีนที่ 5 พฤษภาคม 2535 ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกที่ให้สัตยาบันเป็นภาคีสมาชิกอนุสัญญาแล้ว จำนวนทั้งหมด 169 ประเทศ (ข้อมูลเมื่อธันวาคม 2549) ประเทศไทยได้จัดส่งผุ้แทนเข้าร่วมการประชุมระดับนานาชาติเพื่อจัดทำร่างอนุสัญญาและกำหนดข้อตกลงต่างๆ มาโดยลำดับและได้ให้สัตยาบันเป็นภาคีสมาชิกอนุสัญญาบาเซลเมือวันที่ 24 พฤศจิกายน 2540 อนุสัญญาบาเซลมีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2541 เป็นต้นมา
th.wikipedia.org/wiki/อนุสัญญาบาเซิล
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...