ชีวิตความเป้นอยู่ ตลอดจนสภาพสิ่งแวดล้อมของเมืองที่คล้ายคลึงกนเราก็เรียกว่าเมืองพี่เมืองน้อง ได้อ อยางเช่น เมืองปาย กับ วังเวียง ที่นี้บรรยากาศของเมืองพักกลางทางท่ามกลางขุนเขา ลำน้ำ และสายหมอกเหมือนกัน หรือ จังหวัดยโสธร กับเมืองโยชิดะ ประเทศญี่ปุ่น ที่ได้รับการเรียกว่าเป็นเมืองคู่แฝดเพราะมีประเพณีการเล่นบั้งไฟคล้ายคลึงกัน
ในเมืองไทยมีหลายจังหวัดที่มีการเจริญสัมพันธ์อันดีเป็นเมืองพ่เมืองน้องกันเมืองต่างๆ ทั่วดลก หรือเป้นเมืองพี่เมืองน้องกันเองภายใประเทส อย่างกรุงเทพฯที่สถาปนาเมืองพี่เมืองน้องกับจังหวัดแพร่ ภายหลังจากที่กรุงเทพฯ ได้ทำการบูรณปฏิสังขรณ์เสาชิงช้า โดยได้รับความร่วมมือจากจังหวัดแพร่ในการอนุญาตให้พลีต้นสักทองจำนวน 6 ต้น มาเป็นเสาชิง่ช้าต้นใหม่
หรือการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างจังหวัดสุพรรณบุรีกับเมือง Courtenay ประเทศแคนาดา ความเป้นเมืองพี่เมืองน้องระหว่าง ภูเก็ต กับเมืองนีซ ฝรั่งเศส เป็นต้นth.wikipedia.org/wiki/เมืองพี่น้องและเมืองแฝด
เมืองคูแฝดเป็นหนึ่งในการส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเมืองต่างๆ ของอาเวีนและเขตเมือง ซึ่งเป็นการร่วมมือกันของอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม จัดอยู่ในประชาคมอาเซียนด้านสังคมและวัฒนธรรม หมวด D ในข้อ 5 ว่าด้วยการ "ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเมืองต่างๆ ของอาเซียนและเขตเมือง" โดยเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อรับประกันว่าเขตเมืองและชุมชนในอาเซียน มสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน รองรับความ้องการของประชาชนในด้านสังคมและเศรษบกิจได้ โดยมีมาตรการ ดังนี้
i. ขยายงานที่มีอยู่ภายใต้ข้อริเริ่มอาเซียนว่าด้วยเมืองที่มีลักษณะที่มีสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
ii. เพิ่มพูนความพยายามของแต่ละประเทศ และร่วมกันในการปรับปรุงคุณภาพของอากาศและน้ำภายในอาเซียนภายใต้ข้อริเริ่มระดับชาติหรือระดับภูมิภาคเพืีอลดมลภาวะทางอุตสาหกรรมและากรคมนาคม
iii. แบ่งปันประสบการณ์ความเชี่ยวชาญและเทคโนโลยีด้านต่างๆ เช่น การวางผังเมือง รวมทั้ง การจัดการน้ำเขเมืองสีเขีย และการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของเขตเมือง การสาธราณสุข และการจัดการของเสีย 3Rs (ลด, นำมาใช่ใหม่และการทำให้นำมาใช้ประโยชน์ได้อีก) การควบคุมมลภาวะในอากาศ เสียง น้ำ และบนดิน อาทิ เช่น จัดให้มีโครงการเมืองคู่แฝด
iv. ดำเนินกาเรพื่อมุ่งไปสู่ข้อริเริ่มต่างๆ เช่น "สังคมที่มีก๊าซคาร์บอนต่ำ", "เมืองกะทัดรัด", "เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม" และการคมนาคมที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืน
v. จัดทำมาตรการที่เปรียบเทยบได้ในระดับสากล สำหรับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนสำหรับเมืองใหญ่ในอาเซียนภายในปี 2558
vi. แนะนำและดำเนินการให้รางวัลเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ESC) ภายในปี 2551 เพื่อเป็นแรงจูงใจในการส่งเสริมแนวปฏิบัติในเรื่อง ESCmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d5/
เมื่องคู่แฝดไทยกับกัมพูชา
จากแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ACMECS ตามปฏิญญาพุกามที่ผุ้นำทั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนามและไทย ได้ลงนามร่วมกัน เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2546 ณ เมืองพุกาม เพื่อแสดงเจตนารมณ์ทางกาเมือง โดยเห็นชอบให้เกิดโครงการร่วมกันของทุกประเทศ และโครงการระดับทวิภาคี รวมทั้งโครงการเมืองคู่แฝด ก็เป็นหนึ่งในโครงกรที่กำหนดขึ้นเพื่อให้ยุทธศาสตร์ความรวมมือทางเสณาฐกิจบรรลุตามวัตถุประสงค์ ซึ่งเป้าหมายทางเศรษฐกิจที่มีร่วมกัน คือ
- เชื่อมโยงธุรกิจบริการ การต้า ธุรกรรมการเงิน
- ขนส่ง
- เชื่อมดยงแหล่งท่องเที่ยว
- เขตประกอบการอุตสาหกรรม เขตการผลิตร่วม เน้นอุตสาหกรรมใช้แรงงาน
- พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานร่วมกัน
โดยโครงการร่วมไทย-กัมพูชา กำหนดให้มีเมือคู้แฝด 9 โครงการ คือ ศรีสะเกษ-เสียมเรียบ, สุรินทร์-อุดรมีชัย, สระแก้ว-บันเตียเมียนเจย, จันทบุรี-ไพลิน, ตราด-เกาะกง, อุบลราชธานี-พระวิหาร, จันทบุรี-พระตะบอง, ตราด-ปราสาท, บุรีรัมย์-อุดรมีชัย
โครงการเมืองคู่แฝด เป็นการดำเนินงานเพื่อพัฒนาพื้นที่ระหว่างไทยกบเพื่อบ้านให้เป้ฯเมืองเชื้อมโยงระหว่างกัน เป้นรากฐานการผลิตด้านอุตสาหกรรมการต้า การท่องเท่ยว สนับสนุนการย้ายฐานการผลิตด้านอุตสาหกรรมจากไทยไปสู่ประเทศเพื่อบ้าน โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2548 ให้กำหนดมาตรการผ่อนปรมสำหรับเมืองที่เป็น Sister City นำรองในการจัดทำ Contract Farming 3 แห่งได้แก่ 1. ไทย-พม่า : แม่สอด-เมียวดี, 2. ไทย-ลาว : เลย-ไชยบุรี และ 3. ไทย-กัมพูชา : จันทบุรี-พระตะบอง/ไพลิน
เมื่อคู่แฝด เสียมเรียบ- ศรีสะเกษ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยว การอำนวยความสะดวกด้านการเดินทางจึงเป้นปัจจัยที่สำคัญที่ช่วยส่งเสริมธุรกอจการท่องเที่ยวระหว่างไทยและกัมพุชา โดยเฉพาะอยางยิ่งการเข้าเยี่ยมชมปราสาทนครวัด นครธม และปราสาทอื่นๆ ในกัมพูชา จากความรวมมือทางเศณาฐกิจระหว่างไทยและกัมพุา ทำให้เกิดการพัฒนาถนนหมายเลข 67 (ช่อง สะงำ-อัลลอเวง-เสียมเรียบ) เพื่อให้การเกินทางโดยรถยนต์ระหว่าง 2 ปรเทศสะดวกขึ้น ด้วยงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลไทยกว่า 1,300 ล้านบาทซึ่งแล้วเสร็จในปี 2551 โดยที่ถนนสายนี้ได้ส่งผลให้การขนส่งสินค้าและธุรกิจการท่องเที่ยวเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เนื่องจากนักท่องเที่ยวท้งชาวไทยและต่างชาติสามารถใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ชั่วโม
จากช่องสะงำจังหวัดศรีสะเกษ ถึง จังหวัดเสียมเรียบ เพื่อชมความงามของปราสามหินนครวัด นครธมไ้ ทั้งนี้ ยังสามารถสร้างรายได้และอาชีพใหก้ดับประชาชนบริเวณเส้นทางการสัญจรทั้งในไทยและกัมพุชา เพนื่อจากโครงการก่อสร้างถนนดังกล่าวได้เสร็จสิ้นแล้ว แต่ยังไม่ได้ดำเนินการเจรจาหรือติดต่อประสานงานในด้านการอำนวยความสะดวกบนเส้นทางดังกล่ว เช่น จุดพักรถ ศูนย์บริการการเินทาง เป้ฯต้น ดังนั้น เพื่อป้องกันปัญหา ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผุ้ประกอบการขนส่งและผุ้โดยสารที่จะเข้ามาดำเนินงานบนถนนหมายเลข 67 จึงควรเร่งการเจรจาร่วมกัน ระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเกชนทั้งของไทยและกัมพูชา
เมื่อคู่แฝด เกาะกง-ตราด จากกรอบความร่วมมือ ACMCS ในโครงการเมืองคู่แฝด (เกาะกง-www.boi.go.th/thai/clmv/Back_up/2010_cambodia/2010_cam_5_2.html
ตราด) จังหวัดตราดจึงเร่งดำเนินการเพื่อให้เกิดการพัฒนาเศรษบกิจร่วมกัน จากกลยุทธ์เสริมสร้างความเป้นหุ้นสวนทางเศราบกิจ ในการเปิดประตูสู่อินโดจีนได้เกิดโครงการต่างๆ ขึ้น เช่น โครงการก่อสร้างถนน 4 เลน ตราด-บ้านหาดเล็ก ไปเชื่อมกับถนนสาย 48 ของกัมพุชา เพื่อเชื่อมโยงภนนระหว่างประเทศ โดยความรับผิดชอบของแขวงการทางตราด(กรมทางหลวง) งบประมาณตั้งแต่ปี 2548-2551 จำนวน 900 ล้านบาท ดครงการพัฒนาเมืองคู่แฝด (เกาะกง-ตราด)จัทบุรี-พระตะบอง/ไพลิน) โดยความรับผิดชอบของจังหวัดตราดและจันทบุรี งบประมาณปี 2548 จำนวน 10 ล้านบาท และโครงการจัดระบบบริหารจัดการศูนย์รวมสินค้าเพื่อการส่งออก(HUB) โดขความรับผิดชอบของพาณิชย์จังหวัด วบประมาณปี 2548-2551 จำนวน 315 ล้านบาท จากกลบุทธ์กำหนดกลไกด้านการบริหารจัดการสินค้าเกษตรเป้ฯ รายสินค้าเพื่อสร้างเสถียรภาพทางราคาสินค้าเกษตร และให้เกษตรกรได้รับราคาผลิตที่เป็นธรรม เป็นต้น ทั้งนี้ จากการเล็งเห็นความสำคัญทางการสาธารณสุข จากกลยุทธ์ส่งเสริมและการพัฒนาตามกรอบปฏิญญาพุกาม จึงได้จัดโครงการเกาะกง-ตราด ร่วมใจพัฒนาสาะารณสุข โดยความรับผิดชอบของสาธารณสุขจังหวัดด้วยงบประมาณปี 2548-2551 จำนวน 3.9 ล้านบาท ซึงถื่อเป็นส่วนหนึ่งด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานร่วมกันของทั้ง 2 เมื่อง(เกาะกง-ตราด)
จุดเด่นของระบบเมืองคุ่แฝด คือ การจับคู่กันระหว่างเมือชายแดนที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจกับเมพืองชายแดนประเทศเพื่อบ้านที่ตั้งประชิดซึงเป้าหมายโครงการ ได้แก่ การส่งเสริมความสัมพันธ์ระดับพื้นที่แบบข้ามพรมแดน ซึ่งนำไปสู่ความร่วมมือในสาขาอื่นๆ เช่น การขยายระบบโลจิสติกส์และการโยกย้ายฐานการผลิตอุตสาหกรรม
โดยหากยึดตคามกรอบปฏิญญาพุกาม ไทยได้กระชับเมืองคู่แฝดกับกัมพูชา เมียนมาร์ และลาว ในหลากหลายเขตภูมิศาสตร์ ขณะเดียวกัน ระบบเมืองคู่แฝดยังครอบคลุมถึงกลุ่มเมืองที่ไม่มีพรมแดนติดกัน แต่มีความเชื่อมโยงกันในทางเราฐกิจการท่องเที่ยวและวัฒนธรรม เช่น เชียงใหม่-มัณฑะเลย์, กรุงเทพฯ-ย่างกุ้ง, พุกาม-เสียมเรียบ และสตึงเตรง-จำปาสัก
สำหรับไทยและรัฐอินโดจีนอื่นๆ การสถาปนาเมืองคู่แผดถือเป็นหมุดหมายหลักในการพัฒนาระเบียบเศรษฐกิจใต้ยุคเออีซี แต่ด้วยพื้นภูมิและศักยภาพของแต่ละเมือง รวมถึงทรัพยยากรย่อมมีผลต่อการเติบโตของพลังทางเศรษฐกิจ ซึ่งพบว่าหัวเมือชายแดนตามวงตะเข็บไทย-เพื่อนบ้านล้ายมีทั้งจุดอ่อน จุดแข็ง และขีดความสามารถที่จะรองรับการพัฒนาในระดับที่แตกต่างกัน ดยจะของยกตัวอย่างเมืองคุ่แฝดที่จะรองรัีบการพัฒนาในระดับที่แตกต่างกัน
ตัวอย่างเช่น
เมื่องคู่แฝดสระแก้ว-บันเตียเมียนเจย(ศรีโสภณ) ถือว่ามีศักยภาพด้านโลจิสติกส์เนื่องจากตั้งอยุ่บนแนวระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ ซึ่งเชื่อมระหว่างนครโฮจิมินห์ของเวียดนามผ่านกรุงเพทฯ แล้วโยงเข้าสู่ทวายของเมียนาร์ รวมถึงเป้นชุมทางตลาดโรงเหลือ แหล่งกาสิโนและแหล่งกระจายสินค้าไปยังเขตอุตสาหกรรมพิเศษปอยเปตโอเนียง
เมื่อเทียบสระแก้วกับบันเตียเมียนเจย พบว่าเขตอำเภออรัญประเทศมีความโดดเด่นในฐานะจุดพักสินค้า ตลาดค้าส่งและค้าปลีกสู่อินโดจีน พร้อมมีเส้นทางคมนาคมเชื่อมสูกรุงเทพฯ และหัวเมืองชายทะเลใกล้เคียง หากแต่ก็มีจุดอ่อน อาทิ การขาดแคลนแรงงานภาคเกษตรและสภาพแออัดตรงจุดผ่านอดนถาวรบ้านคลองลึก ส่วนบันเตียเมียนเจยของกัมพุชา นับเป้นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและแรงงานราคาถูก รวมถึงควบคุมระบบขนส่งทางถนนและระบบรางเพื่อกระจายสินค้าสู่เวียดนามใต้ แต่มีจุดอ่อนในเรื่องขาดแคลนแรงงานฝีมือระดับสุงและระบบสาธารณูปโภคที่ได้มาตรฐาน
สะพานเชื่อความสัมพันธ์ไทย-พม่า รองรับโครงการเมืองคู่แฝด เม่สอด-เมียวดี |
สำหรับจุดแข็งของครพนม ได้แก่ การควบคุมผลผลิตทางการเกษตร เช่น ข้าว ข้าวโพด และปลาแม่น้ำ พร้อมได้รับสิทธิพิเศษกรส่งเสริมการลงทุนจาก BOI (เขต 3) ด้านการยกเว้นภาษี แต่มีปัญหาขาดแคลนความร่วมมือระหว่างภาคการผลิตต่างๆ ขณะที่แขวงคำม่วนที่แม้จะเต็มไปด้วยแร่ธาตุ เช่น โปแตช ทองคำ ยิปซัม และเป็นที่ตั้งของเขือนกระแสไฟฟ้าน้ำเทิน 2 แต่กลับมีจุดอ่อนเรื่องความพร้อมขอสส่ิงอำนวยความสะดวกตามเส้นทางหมายเลข 12 ระหว่างนครพนมกับกวางบิงห์ของเวียดนาม เช่น สถานีเติมน้ำมัน
ด้านเมืองคู่แฝดกาญจนบุร-ทวาย ถือเป้นจุดเปลี่ยของระบบการต้าคมนาคมย่ายอาเวียนพื้ทวีป โดยเฉพาะการโยงทวายผ่านกาญจนบุรี กรุงเทพฯ เข้าแหลมฉบังและมาบตาพุด โดยจุดแข็.ของกาญจนบุรี ได้แก่ ทำเลที่ตั้งซึ่งอยู่ไม่ไกลจากรุงเทพฯ พร้อมด้วยศักยภาพในการพัฒนาสินค้าเกาตรกรรม ส่วนจุดอ่อนอยู่ที่การขาดแคลนศูนย์กระจายสินค้า
ส่วนเมืองทวายมีจุดเด่นอยุ่ตรงแหล่งวัตถุดิบทางประมงและทำเลการต้าผ่านโครงการท่าเรือน้ำลึกทวาย แต่มีจุดบกพร่องที่ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานและความไม่สงบในบางพื้นที่ อาทิ เขตอิทธิพลกองกำลังกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงที่อยู่ไม่ไกลจากแนวถนน-ท่อก๊าซ พร้อมยังคงมีปัญหารเื่องการเจรจาสันตุภาพกับรัฐบาลเมียนมาร์ในบางกรณี
โครงการเมืองคู่แฝดถือเป็นนวัตกรรมเออีซีที่มีรากฐานมาจากปฏิญญาพุกามพร้อมทวีบทบาทสำคัญขึ้นเรื่อยๆ ผ่านการกระชับแน่นทางเศรษฐกิจ
ทว่าความแตกต่างของขีดกำลังเมืองในแต่ละย่ายย่อมส่งผลให้นักลงทุนต้องหันมาพลิกกลยุทธ์เพื่อวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพเมืองอย่างมีชั้นเชิงในการนี้การวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็ง พร้อมชิงคว้าโอกาสและขจัดอุปสรรคอย่างชาญฉลาด อาจเป็นหลักพิชัยยุทธ์พื้นฐานที่ช่วยให้นักลงทุนไทยเจาะตลาดและคุมฐานเศรษฐกจิเมืองคู่แผดได้สมใจwww.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1430585293
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น