วันอังคารที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2560

Eco-School

             ประชาคมสังและวัฒนธรรมอาเซียน ในหมวด D ว่าด้วยสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการศึกษาสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของประชาชน อยู่ในหมวด D3 โดยมีเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ที่จะทำให้อาเซียนเขียวและสะอา มั่งคั่งด้วยประเพณีวัฒนธรรม เป็นที่ซึ่งค่านิยมและธรรมเนียมปฏิบัติของประชาชนสอดคล้องกลมแลืน และประสานกับธรรมชาติด้วยการที่ประชาชนมีความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม เต็มไปด้วยชาติพันธุ์ทางสิ่งแวดล้อมและมีความตั้งใจ และความสามารถในการส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาค ดดยผ่านทางการศึกาาด้านสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยมี มาตรการดังนี้
            i ปฏิบัตตามแผนงานอาเซียนว่าด้วยการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม (AEEAP) ปี 2551-2555
            ii จัดทำการประเมินสำหรับหลักสูตรการศึกษาแห่งชาติในระบบการ ศึกาาขั้นพื้นฐานเรื่องเนื้อหาครอบคลุมการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม (EE) และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ESD)
            iii จัดทำฐานขั้นต่ำเพื่อประเมินโครงการการศึกษาวิชาชีพครู่ รวมทั้งการให้บริการฝึกอบรมทั้งก่อนและระหว่างนั้นได้ครอบคลุมประเด็นออีและอีเอสดีในทางทฤษฎีและแนวทางปฏิบัติ
            iv ส่งเสริมให้มีระบบการรับประกันคุณภาพในการศึกาษที่เป้นทางการเพื่อให้ครอบคลุมอีอีและอีเอสดีในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
            v ส่งเสริมการทำวิจัยในเรื่องอีอีและอีเอสดีเพื่อให้แน่ใจว่าจะมีการพัฒนาในการศึษาที่เป็นทางการ
            vi ส่งเสริมแนวคิดรื่องโรงเรียนที่ยั่งยืน เช่น อีโดสกูลและโรงเรียนสีเขียว ในประเทศสมาชิกอาเซียน
            vii ส่งเสริมอีอีให้เป็นเครื่องมือำคัญสำหรับการพัฒนาเืองทีเ่ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนในแต่ละประเทศสมาชิก
            ix ใช้อีอีอย่างเหมาะสมในการส่งเสริมแนวปฏิบัติของธุรกิจที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืน
            x ส่งเสริมสัปดาห์ส่ิงแวดล้อมอาเซียนเพื่อเป็นเวทีจัดกิจกรรมระดับชาติในการเฉลิมฉลองและส่งเสริมการตระหนักรับรู้เรื่องอสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคกับผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียจากประเทศสมาชิกอาเซียน
            xi จัดทำเกณฑ์ขั้นต่ำของอีอีสำหรับความต้องการในการฝึกอบรมในด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนสำหรับผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียจากทุกภาคส่วนทั้งที่เป้ฯทางการและไม่เป้นทางการ
         
  xii จัดการฝึกอบรมเกี่ยวกบอีอีและอีเอสดีสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ
            xiii จัดทำโครงการฝึกอบรมผู้นำด้านการพัฒนาอยางยั่งยืนในเรื่องอาเซียนอีอีสำหรับกลุ่มเป้าหมายหลัก เช่น ข้าราชการ สมาชิกรัฐสภา นัการเมือง รวมทังสื่อมวลชนและผุ้มีอยู่ในแวดวงการสื่อสาร เยาวชน สตรี เป็นต้น
            xiv จัดให้มีทุนการศึกษาเกี่ยวักบอีอีและอีเอสดีสำหรับผู้มีส่วนได้่ส่วนเสียในภูมิภาค
            xv ส่งเสริมและจัดการข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมในอาเว๊ยอย่างแข็งขันเพื่อให้เป็นศูนย์ข้อมูลในการแจกจ่ายและแลกเปลี่ยนและการเรียนรู้เรื่องอีอีและอีเอสดีในอาเซียน
             xvi พัฒนาเครือข่ายเยาวชนทั่วอาเซียนเพื่อส่ิงแวดล้อมที่ยังยืน
             xvii จัดให้มีการประชุมนานาชาติประจำปีเกี่ยวกับอาเวียนอีอี การประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอีอีของภูมิภาคเพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข้อเท็จจริงประสบการณ์และเป็นการสร้างเครื่อข่าย เป็นต้น
            xix จัดตั้งเครือข่ายและกระชับความร่วมมือกับอค์กรเอกชน มหาวิทยาลัย และสื่อมวลชนทั่วภุมภาคเพ่อให้เป็นผุ้ปฏิบัติ ผู้้สนับสนุน ผุ้ถ่ายทอด และเป้นตัวแทนของการเปลียนแลปงสำหรับอีอ และอีเอสดี และ
            xx ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผุ้นำชุมชน เช่น ผุ้นำทางศาสนาซึ่งมีความใกล้ชิดกับชุมชนท้องถ่ินในการส่งเสริมเรื่องการตระหนักรับรู้แก่สาธารณชนเกี่ยวกับควมสำคัญของการพัฒนาที่ยั่งยืนและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับส่ิงแวดล้อมที่ยั่งยืนmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d3/
            Eco-School  หรือ โรงเรียนสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน มีจุดเร่ิมต้นจากการรวบรวมประสบการณ์การทำงานของบุคลากรหลักของศูนย์สิ่งแวดล้อมศึกษาระดับจังหวัดที่ต้องการจะเห็นการพัฒนากระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา Environmental Education ในโรงเรียน ที่ตอบสนองเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยที่ฌรงเรียนสามารดำเนินการได้อย่างกลมกลืนไปกับมิติการเรียนรู้ต่างๆ ของนักเรียน ทั้งในโรงเรียน ที่บ้าน ในชุมชนและสังคมภายนอก และที่สำคัญต้องไม่เป็นการเพ่ิมภาระงานให้กับโรงเรียน
           นิยามของอีโก้สคูล คือ "โรงเรียนที่มีการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนกระบวนการเรียนรุ้ที่สงเสริมและพัฒนานักรเียนให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ ตระหนักต่อปัญหารส่งิแวดล้อมและการพัฒนาของท้องถ่ิน มีความรู้ความเข้าใจอันเป็นผลจากระบวนการเรียนรู้และการลงมือปฏิบัติจริงและพร้อมที่จะข้าไปมีบทบาทในการป้องกัน ฟื้นฟู รักษา และใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนต่อไป"
           เป้าหมายสูงสุดของโรงเรียยอีโคสคูล คือ การพัฒนานักรเียนให้เติบโตขึ้นเป้น "พลเมือง" ที่ใช้ชีวิตอย่าง "พอเพียง" เพื่อสังคมและส่ิงแวดล้อมที่ "ยั่งยืน"
            ประโยชน์ที่จะได้รับ
            - สิงแวดล้อมในโรงเรียน (และชุมชน) ดีขึ้น
            - ชุมชนเห้ฯความสำคัญ และเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรุ้ของนักเรียน
            - โรงเรียนได้รับการพัฒนาให้เป็น "สังคมจำลอง" และเป็น "พื้นที่เรียนรู้" ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
            - โรงเรียนได้รับโอกาสและการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งหน่วยงานของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และหน่วยงานหรือองค์กรที่ทำงานด้านส่ิงแวดล้อมและการจัดกระบวนการเรียนรู้
            - ครูได้รับการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อสร้างนักเรียน ให้เติบโตขึ้นเป็น "พลเมือง" ที่มีวิถีชีวิต "พอเพียง" เพื่อมุ่งสู่สังคมและส่ิงแวดล้อมที่ "ยั่งยืน"
            - ครูและผู้บริหารโรงเรียนสามารถนำผลงานไปใช้ประกอบการประเมินวิทยฐานะ
            - นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงกล้าพูด กล้าแสดงความคิดเห็น และนำเสนอความคิด
            - นักเรียนสามารถคิดวเคราะห์ได้ดีข้น
            - นักเรียนรู้จักชุมชนของตนและเข้าใจประเด็นสิ่งแวดล้อมของชุมชนมากย่ิงขึ้น
            - นักเรียนมีจิตสำนึกรักบ้านเกิด
             - นักเรียนมีความตระหนัก รับผิดชอบ และดูแลสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน
           
 - นักเรียนเติบโตขึ้นเป็น "พลเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อม"
             พันธกิจ
             การดำเนินงานโรงเรียนอีโคสคูลให้ประสบความสำเร็จโรงเรียนจำเป็นจะต้องนำหลักการจัดการโรงเรียนทั้งระบบ ( whole school Approch) มาใช้เพื่เป็นแนวทางในการบริหารจัดการ โดยกำหนดเป็ฯพันธกิจหลัก 4 ด้าน ที่เปรียบเสมือน "ฟันเฟือง"ชขับเคลื่อนการดำเนินงานโรงเรียนอีโคสคูล ซึงพันธกิจหลักประกอบด้วย นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมศึกาาและดครงสร้างการบริหารจัดการ, การจัดกระบวนการเรียนรู้, การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในโรงเรียน, การมีส่วนร่วมและเครือข่ายด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา
            คุณลักษระสำคัญของโรงเรียนอีโคสคูล
            - มีการบริหารจัดการโรงเรียนทั้งระบบอย่างต่อเนือ่ง ตั้งแต่ระดับนโยบาย หลักสูตรสถานศึกษา และการจัดการด้านทรัพยากรธรรมชติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
            - มีการจัดการเรียนรู้มุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยใช้ "กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา"เป็นเครื่องมือหลักในการจัดการเรียรุ้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับบริบทของชุมชนและประเทศเน้นผุ้เรียนเป็นสำคัญ และเน้นการพัฒนาทักษระการเรียนรุ้ที่พร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงในสตวรรษที่ 21
            - มีการบูรณาการประเด็นสิ่งแวดล้อมท้องถ่ินเข้าในหลักสูตรการเรียนการสน และกิจกรรมพัฒาผุ้เรียน โดยมีการเชื่อมโยงให้เห็นถึงความสมพันธ์ของประเด็นสิ่งแวดล้อมในระดับท้องถ่ิน ประเทศ ภูมิภาค และระดับโลก
            - เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกคนทั้งดรงเรียนและชุมชนท้องถ่นดดยการบวนการทำงานจะต้องให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมทั้งจากผุ้บริหารโรงเรียน ครู บุคลากรในดรงเรียน นักเรียน และผุ้แทนชุมชน ดดยร่วมกันคิดค้อนแนวทาง/วิธีการ ป้องกัน และ แก้ไขปัญาสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนชุมชน
            -ช่วยเสริมพลังการทำงานตามภารกิจของโรงเรียนที่มีอยู่เดิม ให้มีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ดดยไม่เป็นการเพ่ิมภาระให้แก่โรงเรียน คือ เมื่อผุ้บริหารและทุกฝ่ายในโรงเรียนสมัครใจและมีความมุ่งมั่นจะพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนอีโคสคูลแล้ว จะต้องไม่รู้สึกว่าเป้นภาระงานที่เพิ่มมากขึ้นแต่อย่างใด
            คุณลักษณะของพลเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อม
            พลเมือง หมายถึง ราษฎรหรือประชาชนที่นอกจากจะต้องเสียภาษีและปฏิบัติตามกฎหมายบ้านเมืองแล้ว ยังต้องมีบทบาทและสิทธิในการแสดงความคิดเห็นรวมถึงการเข้าร่วมทำกิจกรรมต่างไ เพื่อส่วนรวม นอกจากนี้ ควารมีความเข้าใจปัญหาของชุมชน และมีความเชื่อมั่นว่าสามารถที่จะดำเนินการเองได้ ซึ่งชุมชนหรือสังคมที่มีพลเมืองทีดี ย่อมส่งผลให้ชุมชนหรือสังคมนั้นมีความเข้ฒแข็ง
         
เป้าหมายสูงสุดของโรงเรียนอีโคสคูล คือ พัฒนานักเรียนให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อสงคมและส่ิงแวดล้อม โดยใช้หลักการจัการโรงเรียนทั้งระบบ และน้อมนำหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อให้เกิดความยั่งยืนขึ้นในท้องถ่ินและสงคม หรือสรุปสั้นๆ ก็คือ การสร้าง "พลเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อม" โดยสามารถสรุปคุณลักาณของพลเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อมได้ดังนี้
            - รู้ัจักและขเข้าใจชุมชนอย่่างถ่องแท้
            - ติดตามข่าวสาร สภาพและปัญหาด้านส่ิงแวดล้อม เศราบกิจ และสังคม อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
            - สามารถคาดการณ์ถึงแนวโน้มสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อมของชุมชนได้
            - รู้ถึงแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมกับสภาพสังคมและบริบทท้องถิ่น
            - มีจิตสำนึกรักประเทศชาติบ้านเกิด
            - กล้าแสดงความคิดเห็นนเรื่องต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมบนพื้นฐานหลักการประชาธิปไตย
            - ไม่เพิกเฉยต่อความอยุติธรรมในสังคม
            - มีวินัยและเคารพกฎกติการของสังคม
            - มีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนและสังคมเมื่อมีโอกาส
            - มีพฤติกรรมและใช้ชีวิตประจำวันอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
            - มีความเป็นผุ้นำในงานหรือกิจกรรมการดูแลรักษาทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม
         
               คู่มือแนวทางการดำเนินงานโรงเรียนอีโคสคูล, กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...