Environmental Sound Technology (EST)

             "ประชาคมอาเซียน" เป็นเป้าหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเวียน เพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองและขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระหว่างประเทศในทุกด้าน รวมถึงความสามารถในการรับมือกับปัญหาใหม่ๆ ระดับโลกที่ส่งผลกระทบต่อภูมิภาค เช่น ภาวะดลกร้อน การก่อการร้าย หรืออาจกล่าวได้ว่าการะเป้ฯประชาคมอาเว๊ยนคือ การทำให้ประเทศสมาชิกรวมเป้น "ครอบครัวเดียวกัน" มีควแข็งแกร่งและมีภูมิต้านทานที่ดี สมาชิกมนครอบครัวมีสภาพความเป็นอยุ่ที่ดี ปลอดภัย และสามารถทำมาค้าขายได้อย่างสะดวกย่ิงขึ้น...
             อาเซียนมีความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรมหลายด้าน ทั้งการส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น การแก้ไขปัญหาหมอกควันไฟป่า การสร้างความร่วมมือเพื่อนุรักษ์มรดกทางธรรมชาติของอาเซียน การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ การจัดตั้งศุนย์ความหลากลายทางชัวภาพอาเว๊ยน โครงการฟื้นฟูป่าและระบบนิเวศ การสร้างความร่วมมือในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ เช่น การดำเนินมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติต่อ การสร้างความปลอดภัยด้านอาหาร ความร่วมมือด้านเทคนิคเกี่ยวกับยาการจัดการภัยพิบัติ เช่น การช่วยเหลือบรรเท่าทุกข์ผุ้ประสบภัยในกรณีที่เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ การจัดทำแผนปฏิบัตการ การฝึกอบรม การสื่อสารประสานงานอาเวียน เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และด้านการอนุรักษ์และส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน เช่น การจัดทำโครงการศึกษาวิจัย และจัดทำการผลิตร่วมกันในเรื่องการอนุรักษ์โบราณสถาน ศิลปะการแสดงดั้งเดิม และสิ่งที่ถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของภูมิภาค เป็นต้น
          โครงสร้างและกลไกบริหารอาเซียนด้าน่ิงแวดล้อม แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ
           1. การประชุมของรัฐมนตรีด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิกอาเซีัยน มีวัตถุประสงค์เพื่อประชุมหารือในประดเ็นปัญหาที่สำคัญและกำหนดแนวทางระดับนโยบาย และความร่วมมือด้าน่ิงแวดล้อมของภูมิภาคอาเซียน ตลอดจนทบทวนข้อตัดสินใจต่างๆ ซึ่งจะมีการประชุมร่วมกันทุกปี
           2. ระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม  การประชุมระดับเจ้าหน้าที่อสุโสด้าสิ่งแวดล้อมเป้นการประชุมในระดับปลัดกระทรวง หรือเที่ยบเท่าของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อทำหน้าที่กำกับดูแล และติดตามงานด้านสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งประเทศไทยมีปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทำหน้าที่เป้ฯประธานเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเวียนด้านสิ่งแวดล้อม โดยจะมีการประชุมร่วมกันทุกปี
            3. คณะทำงานอาเว๊ยนด้านส่ิงแวดล้อม คณะทำงานอาเวียนด้านส่ิงแวดล้อม เป้นการทำางานของเจ้าหน้าที่ในระดับปฏิบัติเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินกความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งแบ่งออกเป็น 7 คณะทำงาน ดังนี้
                     - คณะทำานอาเวียนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป้นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
                     - คณะทำงานอาเวียนด้านการอนุรักษ์ธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ มีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาิติและส่ิงแวดล้อมเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
                      - คณะทำงานอาเวียนด้านส่ิงแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่ง มีกรมควบคุมมลพิษเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
                       - คณะทำงานอาเวียนด้านข้อตกลงพหุภาคีด้านสิ่งแวดล้อม มีกรมควบคุมมลพษเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
                        - คณะทำงานอาเวียนด้านส่ิงแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน มีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป็นหน่วยงสานกลางประสานการดำเนินงาน
                       - คณะทำงานอาเวียนด้านการจัดการทรัพยากรน้ำ มีกรมทรัพยากรน้ำเป้นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
                       - คณะทำงานอาเวียนด้านส่ิงแวดล้อมศึกษา มีกรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อมเป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
                นอกจากคณะทำงานอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อมแล้ว การดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมของอาเซียนยังมีกรอบเวทีหารือประเด็นสำคัญด้านส่ิแงแวดล้อม และการดำเนินการที่คาบเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้แก่
              Meeting of the Conference of the Partiesto the ASEAN Agreement Transboundary Haze Polluution โดยมีกรมควบคุมมลพิษเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
              Meeting of Sub-Regionnal Ministerail Steering Committee (MSC Mekong) Transboundary Haze Pollution โดยมีกรมควบคุมมลพิษเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
              The Governing Board (GB) Meeting of the ASEAN Centre for Biodiversity (ACB) โดยมีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป้นหน่วยงานกลางระสานการดำเนินงาน
              คณะกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ( ASEAN Committee on Science and Technology : ASEAN COST) โดยมีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโ
ยีเป้นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน ซึ่งกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเป็นหน่วยประสานงาานคณะอนุกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางทะเล
             การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเวียนด้านการเกษตรและป่าไม้ มีกระทรวงเกษตรและสหกรณืเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก เพื่อกำหนดแนวทางในระดับนโยบายและทบทวนข้อตัดสินใจ ดดยมีกรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป็นหนวยรสานงานเจ้าหน้าที่อสวุโสอาเซียนด้านป่าไม้ ซึ่งเป็นการประชุมภายใต้พันธกรณีของอาเซียนด้านป่าไม้ นอกจากนั้ ยังมีคณะทำงานซึ่งมีการดำเนินงานจัดตั้งเครือข่ายการบังคับใช้กฎ่หมายด้านสัตว์ป่าและพืชป่าในภุมิภาคอาเซียน โดยมีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชเป็นหน่วยงานหลักในการทำหน้าที่กำกับยดูแล
             การปรุชมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านแร่ มีกระทรวงอุตสาหกรรมเป้นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก และกรมทรัพยากรธรณี ร่วมเป็นคณะทำงานด้านสารสนเทศและฐานข้อามุลแร่
           บางส่วนจาก "ควมรุ้ด้านอาเซียนสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานด้านอาเซียนสิ่งแวดล้อม"
 ***
            ความร่วมมืออาเซียนดด้านสังคมและวัฒนธรรม หมวด D สิ่งแวดล้อม ในข้อ D4 ว่าด้วย "การส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม(EST)" มีเป้าหมายเชิงกลยุทธ์คือ ใช้เทคโนโลยีด้านส่ิงแวดล้อมเพื่อบรรลุป้าหมายเรื่องการพัฒนาที่ยั่งยืนดดยให้มีผลกระทบน้อยที่สุดต่อสิ่งแวดล้อม
             มาตรการ
             i. ดำเนินการตามเครือข่ายอาเวียนว่าด้วยอีเอสที่ (อาเซียน-เนสต์) ภายในปี 2558
             ii. มุ่งไปสู่การรับรองในเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมทั่วทั้งภูมิภาค/กลไกในการติดป้ายประกาศเพื่อส่งเสริมการเติบโตทางเศราบกจิและปกป้องทงสิ่งแวดล้อมภายในปี 2558
             iii. ส่งเสริมการประชุมอีเอสทีเพื่อประเมินความตร้องการในการพัฒนาเทคโนโลยีและการพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน
             iv. ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอเาซียนภายใต้กรอบความร่วมมือใต้-ใต้ และกรอบความร่วมมือเหนือ-ใต้ เพื่อส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยี
             v. แสวงหาแนวทางในการจัดตั้งศูนย์อีเอสทีสำหรับประเทศสมาชิกอาเซียน (เช่น ศูนย์ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด)
             vi ขยายความร่วมมือในการทำวิจัยร่วม การพัฒนาการเคลื่อนย้ายและการถ่ายทอดอีเอสทีmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d4/
           
              ในปัจจุบันแนวโน้มการพัฒนาของเทคโนโลยียานยนต์โลกและการผลิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมมากขึ้น โดยในแผนแม่บทอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยปี พงศ. 2555-2559 ได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องนี้เช่นเดียวกันซึ่งได้มีวิสัยทัศนืในด้านการผลิตยานยนต์สีเขียนและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
ดังนี้ "ประเทศไทย
              เป้นฐานการผลิตยานยนต์ของโลกดวยห่วงโซ่อุปทาน ที่สร้างมูลค่าเพิ่มในประเทศและเป็นเมติรกับส่ิงแวดล้อม" รวมถึงแนวโน้มกฎหมายข้อบังคับสำหรับยานยนต์ด้าน่ิงแวดล้อมในโลกรวมถึงประเทสไทยก็มีแนวโน้มที่เข้มงวดขึ้นด้วย ดดยถ้าผุ้ประกอบการผุ้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทยไม่ปรับตัวหรือปรับตัวไม่ทันต่อแนวโน้มก็อาจจะทำให้เสียโอกาสในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป้นมติรกับส่ิงแวดล้อมและสูญเสียความสามารถในการแข่งขันในอนาคต โดยผู้เขียนจะขอยกตัวอย่างแนวโน้มเทคโนดลยีและการผลิต เพื่อเป้นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมที่อุตสาหกรมมยานยนต์ไทยต้องตระหนักและพร้อมปรับตัวดังนี้
             1. การปรับปรุงกระบวนการผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐานข้อบังคัยด้านสิ่งแวดล้อมแนวโน้มในอุตสาหกรรมยานยนต์มีแนวโน้มว่าจะมีมาตรการด้านกฎหมาย ข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อมให้เข้มข้นมากขึ้นเรื่อยๆ เช่นแนวโน้มในอุตสาหกรรมยานยนต์มีแนวโน้มว่าจะมีมาตรฐานด้านกฎหมาย ข้อบังคับด้านส่ิงแวบด้อมให้เข้มข้นมากขึ้นเรื่อยๆ เช่น
              มาตรฐาน ELVs ซึ่งเป็นมาตรการบังคับใช้ในกลุ่มประเทศยุโรปโดยภาพรวมแล้วระเบียบ ELVs ส่งผลต่อผุ้ประกอบการในอุตสาหกรรมยานยนต์ต้องปรับกระบวนการผลิตให้สามารถผลิตผลติภัณฑ์ที่สามารถ รีไซเคิล, รียูธ และรีคัฟเวอร์ โดยมีเป้าหมายคือ
           
 - สัดส่วนการใช้ซ้ำ/การดึงทรัพยากรกลับ ไม่ต่ำกว่าง 05% โดยน้ำหนัก และการใช้ซ้ำ/การรีไซเคิล ไม่ต่ำกว่า 80% โดยน้ำหนัก ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2549
             - สัดส่วนการใช้ซ้ำ/การดึงทรัพยากรกลับ มาใช้และการนำกลับมาใช้ ไม่ต่ำกว่า 85% โดยน้ำหนัก และการใช้ซ้ำ/การรีไซเคิล ไม่ต่ำหว่าง 85%โดยน้ำหนัก ตั้งแต่ 1 มกรคม พ.ศ. 2558
           
ทั้งนี้มาตรฐาน ELVs ยังมีการระบุว่าการห้ามใช้ดลหะหนัก 4 ชนิด : ยานยนต์และอะไหล่สำหบยานยนต์ที่นำเข้าตลาดหลัง 1 กรกฎาคม 2546 ต้องปราศจากตะกั่ว ปรอท แคดเมียม และโครเมียมเฮกซะวาเลนซ์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปใด ยกเว้นการใช้งานเฉพาะบางอย่างมี่ระบุให้เป็นข้อยกเว้น
             โดยมาตรฐานนี้จะมีการบังคับกับบานยนต์ที่่งออกไปจำหน่ายยังประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป โดยบังคับผ่านบริษัทผลติรถยนต์โดยผุ้ผลิตยานยนต์ก็จะมีการระบุเป็นข้อกำหนดของบริษัทตัวเอง เพื่อให้บริษัทผุ้ผลติช้ินส่วนยานยนต์ปฏิบัติตามอีกทอดหนึ่งซึ่งผู้ผลิตยานยนต์และชิ้นส่วนก็จะต้องมีกรปรับกระบวนการผลิตให้เข้ากับมาตการดังกล่าว
            มาตรการไอเสียรยตน อีมิสชั่น
            แนวโน้มมาตรฐานไอเสียยานยนต์โลกนั้น มีแนวโน้มจะมีความเข้มงวดมากขึ้นเรื่อยๆ โดยมีแนวโน้มในการปรับใช้มาตรฐานของกลุ่มสหภาพยุโรปมาบังคับใช้ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยด้วย ดดยประเทศไทยถือว่าเป้นผุ้นำในการผลิตรถยต์ที่มีมาตฐานที่เข้มงวดที่สุดประเทศหนึ่งในกลุ่มอาเซียน
            ซึ่งแนวโน้มการบังคับใช้มาตรฐาน ที่เข้มงวดนี้ก็จะมีผลต่อการผลติชิ้นส่วนยานยนต์ที่จะต้องผลิตชิ้นส่วนให้มีคุณสมบัติสอดรับกับมาตฐานใหม่ๆ อาทิ ชิ้นส่วนระบบการจ่ายน้ำมนเชื้อเพลิงก็จะต้องสามารถทนต่อแรงดันในการฉีดได้มากขึ้น ซึ่งก็จะทำให้วัตถุดิบและเทคโนโลยีการผลิตเปลี่ยนไปและผุ้ผลิตชิ้นส่วนยายนต์ก็จะต้องปรบกระบวนการผลิตให้สอดรับกับเทคโนโลยีใหม่ข้างต้น...
           2. การปรับกระบวนการผลิตใด้สอดคล้องกับพัฒนาการของเทคโนโลยียานยนต์ที่มีแนวโน้มเป็สเขียน การปรับกระบวนการผลิตให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเทคโนโลยียานยนต์ให้มีแนวโน้มเป้นสีเขียวนั้นมีความสำคัญมาก เพราะถ้าผุ้ประกอบการปรับตัวไม่ทันก็จะทำให้ผลิตสินค้าไม่เป้นที่ต้องการของตลาดหรือลุกค้าและก็ทำให้ขายสิค้าไม่ได้...
           3. สภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรมยานยนต์ที่สูงขึ้น ทำให้ผุ้ประกอบการยานยนต์จะต้องลดต้อนทุนโดยต้องนำวิธีการในการเพ่ิมประสิทธิภาพและผลิตภาพมาประยุกต์ใช้มากขึ้น เช่น กระบวนการลดต้นทุน ไม่ว่าจะเป้นการลดการสูญเสียในกระบวนการผลิต การออกแบบให้ต้นทุนถูกลง การเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลติและที่เกี่ยวข้องโดยใช้กระบวนการต่าง โดยทั้งหมดจะนำไปสู่กระบวนการผลิตที่เปลี่ยนไป ซึ่งมีกล่าวมาทั้งหมดในบทความนี้เป็นเพียงตัวอย่างปัจจัย แนวโน้มการเลปี่ยนแปลงในด้านเทคโนดลยีและการผลติยานยนต์ที่จะทำให้กระบวนการผลิตในอนาคตเปลี่ยนแปลงไปในเชิงที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมมากขึ้น ถ้าผุ้ประกอบการไทยโดยเฉพาะผุ้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไม่รีบปรับตัวพัฒนาผลิตภัฒฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมก็จะทำใหสูญเสียโอกาสสูญเสียความสามารถในการแข่งขันได้ โดยในประเทศ ASEAN คู่แข่งคนสำคัญของเราก็คือประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งมีประชากรประมาณ 240 ล้านคน และอินโดนีเซียมีเปาหมายในการจะขึ้นเป็นที่ 1 ในอาเวียนเช่นเดียวกัน ถ้าเราขยับตัวเร็วดดยมีการพัฒนาผุ้ประกอบการ พัฒนาบุคลากร และกระบวนการผลิตที่เเข็งแกร่งตามแยวโน้มเทคโนโลยีที่เป้ฯมิตรกับส่ิงแวลด้อมอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการพัฒนาความแข็งแกร่งของ ซับพราย เชน ซึงรวมถึงการบูรณาการความร่วมมือกับประเทศ CLMV และนธยบายทางด้านภาษีที่เอื้อต่อการลงทุน ซึ่งมีจำนวนประชากรรวมทั้งหมดไม่น้อยไปกว่าอินโดนีเซียก็จะทำให้ประเทศไทยรักษาความเป็นผู้นำในด้านการผลิตยานยนต์ในอาเวียนภายใต้นโยบายการผลิตทีเ่ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างแน่นอน และท้ายที่สุดแล้วอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทย ก็จะมเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยลดภาวะโลกร้อนและรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยสถาบันยานยนต์พร้อมที่จะเป้ฯหนึ่งในฟันเฟืองหลักที่จะช่วยในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยให้ก้าวต่อไป...www.thaiauto.or.th/2012/th/news/news-detail.asp?news_id=3156
             

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)