1. ความเค็มของน้ำทะเล เกิดจากเกลือแร่ธาตุต่างๆ ที่ละลายอยู่ในมวลน้ำ แร่ธาตุที่ม่ีอยู่น้น้ำทะลในปริมาณมาก ได้แก่ โซเดียมและคอลอรีน รองลงไป ได้แก แมกนีเซียน ซัลเผิร์ แคลเซียน โปแตสเซียน หน่วยวันความเค็มของน้ำทะเลคือ "ส่วนต่อพันส่วน" โดยปกติความเค็มของน้ำทะเลมีค่าเฉลี่ยประมาณ 35 ส่วนต่อพันส่วน และจะแปรเปลียไปตามฤดูกาล ปริมาณ น้ำฟ้า อัตราการระเหย ตำแหน่งที่ตั้ง และระยทางที่ทำจากปากแม่น้ำหรือชายฝั่ง
2. อุณห๓มิ เป้นปัจจัยหลักที่กำหนดการกระจายชนิดและความอุดมสมบูรณ์ของสิ่งมีชีวิตในทะเล สัตว์ในทะเลส่วนใหย่เป็นสัตว์เลือดเย็น ไม่สามารถปรับอุณหภูมิในร่างกายตามสภาพแวดล้อมได้ อุณหภูมิในน้ำทะเลแม้จะเป้นช่วงที่แคบๆ ก็จะมีผลต่อส่ิงมีชีวิตในทะเล
3. ควาเป็นกรดด่างน้ำทะเล ส่วนมากน้ำทะเลมีค่าความเป้นกรดด่งที่ pH8 หากน้ำทะเลิเวณใดมีการละลายคาร์บอนไดออกไซด์มากน้ำทะเลก็จะมีค่าเป้นกรดมาก และหากบริเวณใดที่มีอัตราการสังเคราะห์แสงในน้ำทะเลสูงหรือมีการใช้คาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำมาก ก็จะทำให้ค่าเป็นด่างมากขึ้น
4. ความหาแน่นของมวลน้ำทะเล จะมีปฏิภาคตรงกับค่าคามเค็มของน้ำทะเล และมีปฏิภาคกลับกับอุณหภูมิของน้ำทะเลโดยมลน้ำที่มีความหนาแน่นน้อยจะลอยเหนือมวลน้ำที่มีความหนาแน่นมาก โดยช่วงน้ำทะเลที่มีการเปลี่ยนความหนาแน่นเรียกว่า พีคโนลีน...

ข้อมูล สานะการณ์คุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่ชายฝั่งทะเลในรอบ 5 ปี ดังกล่าวน้จะเป้ฯประโยชน์ในการติดตามการเปล่ยยแปลงและการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง โดยสรุปแยกต่ามพื้นที่ดังนี้ คุณภาพน้ำทะเลอ่าวไทยฝั่งตะวันออก, คุณภาพน้ำะเลอ่าวไทยตอนบน, คุณภาพน้ำทะเลอ่าวไทยตอนกลาง, คุณภาพน้ำทะเลอ่าวไทยตอนล่าง, คุณภาพน้ำทะเลทะเลอันดามัน
อ่าวไทย มีลักษณะเป็นเอสทูรีแบบแม่น้ำในไุบเขาที่จมน้ำ ก้นทะเลเคยเป้นที่ราบที่เยโผล่พ้นน้ำมาก่อน บนก้นทะเลจะมีร่องน้ำโบราณที่ต่อกับแม่น้ำในปัจจุบัน เช่น แม่น้ำแม่กลอง แม่น้ำบางปะกง แม่น้ำจันทบุรี ร่องน้ำชุมพรร่องน้ำหลังสวน ร่องน้ำสงขลาที่ก้นอ่าวมีแม่น้ำสคัญ 4 สาย ไหล่ลงสู่อ่าว คือ แม่กลอง ท่าจีนเจ้าพระยา และบางปะกง ตามลำดับ นอกจากนี้ฝั่งซ้ายและขวาของอ่าวไทยยังมแม่น้ำสายสั้นๆ ที่ไหลลงสู่อ่าวอีกหลายสาย อ่าวไทยเป็นแอ่งรอบรับตะกอนจากแม่น้ำที่ไหลลงสุ่อ่าว จากากรสำรวจพื้นท้องทะเลของกรมอุทก-ศาสตร์พบว่าท้องทะเลกลางอ่าวเป้นโคลนปนทราย หรือโคลนส่วนท้องทะเลอายไทยฝั่งตะวันตกจะเป้นโคลนปน-ทราย โคลนปนทรายขี้เป็ด ทรายปนโคลนและทราย เป็นแห่งๆ ไป รายละเอียดข้อมูลสมุทรศาสตร์ชายฝั่งอ่าวไทย มีดังนี้
- ความลึกของพื้นผิวทะเล มีท้องทะเลคล้ายแอ่งกะทะ ส่วนที่ลึกที่สุดของอ่าวไทยมีความลึกประมาณ 80 เมตร บริเวณร่องน้ำลึกกล่วอ่าว มีความลึกมากกว่า 50 เมตร และยาวเข้าไปจนถึงแนวระหว่างเกาะช้าง จ. ตราด กับอ.บางสะพานใหญ่ จ.ประจวบคีรีขันธ์ ส่วนก้นอ่าว คือ อ่าวไทยตอนบนหรืออ่าวไทยรูปตัว "ก" มีรูปร่างสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดประมาณ 100x100 ตารางกิโลเมตร อ่ายไทยตอนบนมีความลลึกสูงเฉลี่ยในอ่ายไทยตอนบนประมษณ 15 เมตร โดยอ่ายไทยถูกกั้นออกจาทะเลจีนใต้ด้วยสันเขาใต้นำ้ 2 แนวทางฝั่งซ้ายและขวาของอ่ายสันเขาได้น้ำฝั่งซ้ายมีความลึกประมาณ 50 ม. เป็นแนวยาวจากโกตา-บารู(รองน้ำโกลก์) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 160 กิโลเมตร ทางฝังขวามีความลึกประมาณ 25 เมตร เป้นแนวยาวจาแหลมคาเมาไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 100 กิโลเมตร และในบริเวณร่องน้ำลึกมีชั้นแนวตั้งของเปลือกโลก ณ ที่ความลบึกประมาณ 67 ม. กั้นอยู่ซึ่งจะเป็นเสมือนตัวควบคุมการไหลของน้ำระดับล่างในอ่าวไทย
2. กระแสน้ำ กระเสน้ำเนืองจากลมเหนือผิวน้ำ ลมหรือแรงเฉือย เนื่องจากลมทำให้เกิดชั้นมวลน้ำผิวหน้าที่เคล่อนที่เนื่องจากลม เรียกชั้นน้ำว่า wkman tranport ตามทฤษฎีแล้วลมจะทำให้น้ำผิวหน้าเคลื่อนที่เบี่ยงไป 45 องศาทางขวาของทิศทางลมในซีกโลกเหนือ ใต้ผิวน้ำลงมาทิศทางกระแสน้ำจะเบี่ยงมากกว่า 45 องศา ขึ้นเรื่อยๆ จนถึงเบื้องล่าวของชั้นน้ำ ทิศทางของกระแสน้ำจะตรงกันข้ามกับกระแสน้ำผิวหน้า การเคลื่อนที่ของมวลน้ำสุทธิอยู่ในทิศ 90 องศา ทางขวามือของทิศทางลม ส่วนกระแสน้ำเนื่องจากน้ำท่า ทำให้เกิดการไหลเวียนของน้ำแบบ Gravitational circulation กล่าวคือ น้ำท่าจะไหลออกสู่ทะเลทางชั้นบนขณะที่เหนี่ยวนำให้น้ำทะเลไหลเข้าแม่น้ำทางด้านล่าง น้ำท่าจะมีความหนาแน่นต่ำหว่าน้ำทะเลจึงลอยตัวอยู่เหนือน้ำทะเลจนกว่าจะมีกระแสน้ำ คลื่อน ช่วยเร่งการผสมผสานน้ำท่ากับน้ำทะเลด้านล่างเกิดเป็นน้ำชายฝั่งซึ่งมีความเค็มต่ำกว่าน้ำทะเล น้ำท่าจะมผลต่อความเค็มของน้ำในอ่ายค่อนข้างมาก และมีผลต่อการไหลเวียนของน้ำในอ่าวค่อนข้างน้อย เนื่องจากปริมาณน้ำท่าที่ไหลลงอ่าวไทยต่อปีน้อยกว่าปริมาณน้ำในอ่าวค่อนข้างมาก
กระแสน้ำเนื่องจากความแตกต่างของความหนาแน่นน้ำ ความหนาแน่นน้ำที่แตกต่างกันทำให้เกิดการไหลเวียนของน้ำทั้งในแนวราบและแนวดิ่ง ผลการศึกษา พบว่า ในกระแสดน้ำในมหาสมุทรในซีกโลกเหนือจะไหลตั้งฉากกับเส้นความเอียง ของความหนาแน่นของมาลน้ำผิวหน้าในลักษรที่มวลน้ำที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าจะอยู่ทางขวามือของผุ้สังเกต เมื่อผู้สังเกตหันหน้าไปทางแนวทางการเคลื่อนที่ของกระแสน้ำ
- การขั้นลงของน้ำทะเล การขึ้นลงของน้ำทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลอ่าวไทย เป็นแบบน้ำเดี่ยว คือเกิดน้ำขึ้น 1 ครั้งและ น้ำลง 1 ครั้งต่อวัน เนื่องจากอ่าวไทยเป็นอ่าวตื้น มีก้นอ่าวขรุขระไม่ราบเรียบการเดินทางของคลื่นน้ำขึ้น-ลง จึงไม่สม่ำเสมอกัน เมื่อคลื่นน้ำขึ้นเดินทางเข้ามาในอ่าวแล้ว ก็จะสะท้อนกลับทำให้เกิดแรงหักลางกันและเป้นผลให้มีน้ำขึ้นน้ำลงเหลือเพียงวันละหนึ่งครั้ง และการขึ้นลงของน้ำทะเลบรเิวณชายฝ่งทะเลอ่ายไทยยังมีลักาณะป็นแบบน้ำผสม คือมีการขึ้น-ลงของน้ำทะเลสองครั้งต่อวัน แต่ระดับน้ำทะเลที่มีขึ้นลงสองครั้งมีขนาดไม่เท่ากันอีกด้วย ระดับการขึ้นลงของน้ำ ณ สถานีตรวจวัดของกรมอุทกศาสตร์กองทัพเรือทีเ่กาะปราบ จ.สุรษษฎร์ธานี มีระดับน้ำขึ้นสูงสุดและน้ำลงต่ำสุด เท่ากับ 2.93 และ 0.32 เมตร ตามลำดับ ช่วงความแตกต่างของน้ำทะเล เท่ากับ 2.61ม.
- คลื่นและลมมรสุม มีคลื่อนเกิดตามช่วงมรสุม โดยมรสุมตะวันอกเฉียงเหนือจะทำให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่กว่าปกติในบริเวณด่าวไทยด้านตะวันตก สวนลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะทำให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่กวาปกติในบริเวณอ่ายไทยด้านตะวันออก สำหรับอ่าวไทยปกติคลื่นในอ่ายไทยจะมีขนาดเล็กความสุงประมาณ 1-2 ม. ส่วนคลื่นที่มีผลกระทบต่อชายฝั่งจะต้องพิจารณาถึงคาบของคลืน ด้วย เช่น คลื่นขนาดเล็กที่มีคาบของคลื่นยาวจะก่อให้เกดผลกระทบมากว่าคลื่นขนาดใหญ่แต่คาบคลื่นสั้น...
ลักษณะชายฝั่งทะเลของพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน มัีลักาณะเป้ฯชายฝั่งทะเลยุบตัวลงหรือจมตัว ซึ่งเกิดการเปลี่ยนแปลงของลักษณะสัณฐานชายฝั่งครั้งใหญ่ เมื่อประมาณ 65 ล้านปีมาแล้ว ในยุคเทอร์เชียร์รี่ การจมตัวของชายฝั่งทำหใ้ชายใั่งทะเลของพื้นที่มีความลาดชันและเกิดเป็นแวไม่ราบเรียบ เว้าเเหว่ง มีอ่าวและเกาะแก่งมากมาย ที่เห้นได้ชัดเจน คือ บริเวณปากมแ่น้ำกระบุรี จ.ระนอง เกาะสำคัญ ได้แก่ เกาะภูมเก็ต เกาะตะรุเตา เกาะลันตา เกาะลิบง เกาะพระทองแ ละเกาะยาวใหญ่ บริเวณชายฝังทะลบางแ่ห่ง น้ำทะเลท่วมถึง มีป่าชายเลนขึ้นอยุ ตั้งแต่อ่าวพังงาลงไผภึงจังฟวักตรัง ปลพำบร่แงรแยหารหักดซาพปนวชายฝั่งตามแ่นวชายฝั่งตามอ่าวต่างๆ บ้างเช่นบริเวณอ่ายฉลอง อ่ายภูเก็ต อ่าวราไวย์ และอ่าวมะพร้าว เป็นต้น รอยละเอียด ข้อมุลสมุทรศาสตร์ชายฝั่งทะเลอันดามัน มีดังนี้
- ความลึกของพื้นผิวทะเล บริเวณชายฝั่งทะเลของพื้นีกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน แบ่งได้ 2 พื้นที่ตาเส้นชั้นความลึกของน้ำทะเล ซึงก่อให้เกิดความหลากหลายของแนวปะการังทั้งชนิดและปริมาร คือ ผิวพื้นทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลจังหวัดระนอง พังงาฝั่งตะวันตกและภูเก็ตฝั่งตะวันตก ทรวดทรงของพื้นทะเลมีความลาดชันสุง มีความลคกน้ำเฉลี่ยแระมาณ 1,000 เมตรโดยเฉพาะบริเวณแอ่งอันดามันซึ่งเป็นบริเวณที่ทะเลไทยมีความลึกมากที่สุด ประมาร 3,000 ม. ลักษระพื้นทะเลเป็นทรายและทรายปนโคลน ในขณะที่พื้นผิวทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลบริเวณจังหวัดพังงาฝั่งใต้ ภูเก็ตฝั่งตะวันออก กระบี่ และตัง มีความลาดเทน้อย ส่วนของไหล่ทวีมีความลึกไม่เกิด 300 ม.
- กระแสน้ำ ในทะเลอันดามันบริเวณพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม ก่อให้เกิดการไหลเวียนของน้ำในทิศทางต่างๆ ซึงอาจแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ กระแสน้ำที่มีทิศทางไม่แน่นอน บริเวณชายฝั่งทะเลด้านใต้จังหวัดระนอง แลภูเก็ตฝังตะวันตก และกระแสน้ำที่มีทิศทางแน่นอน พบบริเวณชายฝั่งทะเลด้านเนหือของจังหวัดระนอง ด้านใต้และด้านตะวันอกของจังหวัดภูเก็ต สรุปได้ดังนี้
กระเสน้ำบริเวณชายฝั่งทะเลด้านใต้จังหวัดระนอง และภูก็ตฝั่งตะวันตก มัลักาณะทิศทางไหลไม่นแน่นอน รูปแบบจะเปลี่ยนแปลงอยุ่ตลอดเวลา อาจเนื่องมาากลักาณะชายฝั่ง สภาพภูมิประเทศ หือเกิดจากการผสมผสานของลักษณะการเกิดของกระแสน้ำแต่ละประเภท ที่ไม่มีปรเภทหนึ่งประเภทใดแสดงลักษณะเด่นมาเป็นอิทธิพลต่อกัน โดยปกติและ้วถ้าเป็นทะเลปิดกระแสน้ำมักจะมีรูปแบบเป็น turbulence มากกว่าทะเลปิด
กระแสดน้ำบรเิวณชายฝั่งทะเลด้านเหนือของจังหวัดระนอง ด้านใต้และด้านตะวันออกของจังหวัดภูเก็ต มีลักษณะแบบtidal current เป็นไปตามรูปแบบอิทธิพลน้ำขึ้นน้ำลงโดยช่วงน้ำขึ้นกระแสน้ำจะไหลจากด้านใต้ของเกาะแมทธิวไปยังด้านตะวันออกสุ่ปากน้ำระนอง และไหลจากด้านใต้ของเกาะภูเก็ตไปยังด้านตะวันออกของเกาะบริเวณอ่าวพังงาและไหลในทิศทางตรงกันข้ามในช่วงน้ำลง โดยกระแสน้ำลักษณะต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อสภาพสิ่งแวดล้อมหลายประการ เช่น ความขุ่นของน้ำ ที่อยู่อาศยของสัตว์น้ำ เป็นต้น และยังเกิดอิทธิพลต่างๆ ใแต่ละฝั่งของพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามนไม่เหมือนกัน นอกจากนั้น รูปแบบของกระแสน้ำบริเวณจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดระนองดังกว่าง สงผลให้บริเวณใต้และด้านตะวันออกของเกาะภูเก็ตและบริเวณปากแม่น้ำระนอง ซึ่งกระแสน้ำมีทิศทางแน่นอนเป้นบางช่วง ทำให้การตกตะกอนและากรพัดพาตะกอนค่อนข้างดีกว่า เอื้ออำนวยต่ำการเกิดขึ้นและดำรงอยุ่ของป่าชายเลนในด้านนี้ดีกว่าด้านตะวันตก ซึ่งมีกระแสน้ำที่ไม่แน่นอน จะทำให้การตกตะกอนล่าชาและช่วยในการพัดพาตะกอนน้อย
การขึ้นลงของน้ำทะเล บริเวณชายฝั่งทะเลของพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน มัลักาณะเป็นแบบน้ำคู่หรือน้ำขึ้นลงวันละ 2 ครั้ง โดยมีระดับการขึ้นลงของน้ำ ณ สถานีตรวจวัดของกรมอุทกศาสตร์กองทัพเรือที่เกาะตะเภาน้อย จ.ภูเก็ต มีระดับน้ำขึ้นสุงสุดและน้ำลงต่ำสุด เท่ากับ 3.60 และ 0.38 ม. ตามลำดับ ช่วงความแตกต่างของน้ำทะลเท่ากับ 3.22 ม.
คลื่นและลมมรสุม บรเิวณชายฝั่งทะเลของพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามันด้านทิศตาะวันตก จะพบคลื่นผิวน้ำ ในระยะเวลานาน คือ ในรอบ 1 ปี จะมีระยะเวลาถึง 6 เดือน ที่มีลมและคลื่นเคลื่นเข้าสูชายฝั่งทะเลด้านทิศตะวันตกของพื้นที่ ดดยมีความเร็วปานกลางเฉลี่ยประมาณ 7.20 กิโลเมตรต่อชั่วโมงและความเร็วสูงสุดเฉพลี่ยประมาณ 69 กิโลเมตรต่อชั่วโม และก่อให้เกิดคลื่นสุง 0.43 และ 4.15 ม. ตามลำดับ ซึ่งมักจะเป็นคลื่นที่มีอทิธิลต่อการกัเซาะพังทลายของชายฝั่งได้ ส่วนบระิวณชายฝั่งด้านตะวันออกของ จ.ภูเก็ต จะพบว่า คลื่นมีอทิธพลต่อบริเวณนี้น้อยมาก ซึงทำให้บรเิวณส่วนใหญ่ โดยเฉพาะบริเวณอ่าวภูเก็ตจะมีอัตรการตกตะกอนค่อนข้างสุง อันจะเห้นได้จากตะกอนเลนบริเวณสะพานหินที่ขยายออกไปจากชายฝั่งจัทำให้พื้นท้องทะเลบรเวณนี้มีลักษณธตื้นเขินmarinegiscenter.dmcr.go.th/km/oceanography_doc5/#.Wb5xpbJJbIU
อาเซียนกับความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรม ด้านส่ิงแวดล้อม ได้เล็งเห็นความสำคัญของทรัพยากรชายฝั่งและทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน และมีเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ คือ สร้างหลักประกันเรื่องสิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่งว่าจะได้รับการพัฒนาอย่างยั่งยืน ระบบนเวศตัวอย่าง พืชและพื้นที่ดั้งเดิมได้รับการคุ้มครอง การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้รับการจัดการอย่างยั่งยืน และการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่งได้รับการปลูกฝัง โดยระบุไว้ในหมวด D ว่าด้วยการ "ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม" ในข้อ D7 "ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรชายฝั่งและทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน" โดยมีมาตการ ดังนี้
i. สร้างหลักรปะกันเรื่องการประสานงานระหว่างหนวยงานระหว่างประเทศและรายสาขาทั้งในระดับภูมิภาคและระดับประเทศเพื่อบรรลุการพัฒนาอาเซียนอย่างยั่งยืนในด้านสิ่งแวดล้อมทางชายฝั่งและทางทะเล
ii. เสริมสร้างศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานที่มีคุณภาพของน้ำทะเลแห่งชาติภายในปี 2558 โดยมฃยึดถือเกภฑ์น้ำทะเลที่มีคุณภาพของอาเซียน
iii. จัดตั้งเครือข่ายตัวแทนของพื้นที่คุ้มครองเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมที่วิกฤต ภายในปี 2558 โดยการดำเนินการตามข้อกำหนดของอาเวียนว่าด้วยพื้นที่ที่เป็นมรดกทางทะเลและข้อกำหนดของอาเวียนว่าด้วยพื้นที่ที่ได้รับการคุ้มครองแ่ห่งชาติ
iv. ส่งเสริมการอนุรักษณ์และการจัดการอย่างยั่งยืนสำหรับระบบนิเวศที่สำคัญในเขตชายฝั่งและสภานที่อาศัยของสัตว์ และพืชทะเล เช่น ความพยายามร่วมกันที่จะรักาและปกป้องอุทยานแห่งชาติทางทะเลในเขตพื้นที่รอยต่อ เช่น ข้อริเร่ิมสามเหลี่ยมปะการังว่าด้วยแนวปะการัง การประมงและความมั่นคงด้านอาหาร
v. เสริมสร้างขีดความสามารถและสักยภาพรวมทั้งผลประโยชน์ทางเศราฐกิจเพื่อชุมชนประมงและชุมชนชายฝั่งอื่นๆ ในการสนับสนุนการมีส่วร่วมอย่างแข็งขันในการส่งเสริมความยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อม
vi. ส่งเสริมการใช้ส่ิงแวดล้อมชายฝั่งและทางทะเลอย่างยั่งยืดดยการรณรงค์ปลูกจิตสำนึกโดยเน้นความสำคัญระดับโลกของสิ่งแวดล้อมชายฝั่งและทางทะเลในการรับมือกับประเด็นความมั่นคงทางอาหาร การทำนุบำรุงการให้บริการของระบบนิเวศ รวมทั้งปกป้องสิ่งแวดล้อมทางทะเล
vii. ส่งเสริมการประสรงสนระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนในการรับมือกับปัญหามลภาวะข้ามสืบเนื่องจากอุบัติเหตุน้ำมันรั่วในทะลและ
viii. ส่งเสริมความร่วมมือในการรับมือกับมลภาวะของสิ่งแวดล้อมชายฝังและทะเลที่มีแหล่งที่มาจากพื้นดินmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d7/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น