ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย ประเทศสมาชิก 10 ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซียน บรูไนปละ ฟิลิปปินส์ "ปฎิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2" ซึ่งกำหนดให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนที่ประกอบ้บไปด้วย 3 เสาหลักได้แก่
- ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มุ่งห้ประเทศกลุ่มสมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสัติ แกไขปัญหาระหว่างกันโดยสันติวิธี มีเสถียรภาพและความมั่นคงรอบด้าน เพื่อความม่นคงปลอดภัยของเหล่าประชาชน
- ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน มุ่งเน้นให้เกิดการรวมตัวกันทางเศราฐกิจและความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน เพื่อให้ประเทศสมาชิกสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้
- ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มุ่งหวังให้ประชากรมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี มีความมั่นคงทางสังคม มีการพัฒนาในทุกๆ ด้าน และมัสังคมแบบเอื้ออาทร โดยจะมีแผนงนสรร้างความร่วมือ 6 ด้าน คือ
A.การพัฒนามนุษย์
A1 ให้ความสำคัญกับการศึกษา
A2 การลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
A3 ส่งเสริมการจ้างานที่เหมาะสม
A4 การอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์
A5 การอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์
A6 เสริมสร้างทักษะในการประกอบการสำหรับสตรี เยาวชน ผู้สุงอายุ และผุ้พิการ
A7 พัฒนาสมรรถภาพของระบบราชการ
B. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม
B1 การขจัดความยากจน
B2 เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมและความคุ้มกันจากผลกระทบด้านลบจากการรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวัฒน์
B3 ส่งเสริมความมั่นคง และความปลอดภัยด้านอาหาร
B4 การเข้าถึงการดูแลสุขภาพและส่งเสริมการดำรงชีวิตที่มีสุขภาพ
B5 การเพิ่มศักยภาพในการควบคุมโรคติดต่อ
B6 รับประกันอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด
B7 การสร้างรัฐที่พร้อมรับกับภัยพิบัติและประชาคมที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น
C. ความยุติธรรมและสิทธิ
C1 การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการสำหรับสตรี เยาวชน ผุ้สุงอายุ และผุ้พิการ
C2 การคุ้มครองและส่งเสริมแรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน
C3 ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ
D. ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
D1 การจัดการปัญหาส่ิงแวดล้อมของโลก
D2 การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมร่วมของประชาชน
D3 ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมของประชาชน
D4 ส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม (อีเอสที)
D5 ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเขตเมืองต่างๆ ของอาเซียน และเขตเมือง
D6 การทำการประสานกันเรื่องนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมและฐานข้อมูล
D7 ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรชายฝั่ง และทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน
D8 ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
D9 ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้ำจืด
D10 การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการจัดการต่อผลกระทบ
D11 ส่งเสริมการบริหารตัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
E. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
E1 ส่งเสริมการตระหนักรับรู้เก่ยวกับอาเซียน และความรู้สึกของการเป็นประชาคม
E2 การส่งเสริมและการอนุรักษณืมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน
E3 ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม
E4 การมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชน
F. การลดช่องว่างทางการพัฒนาwww.mfa.go.th/asean/th/customize/30643-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99.html
D2 การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดน เพื่อดำเนินมาตรการและส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ เพื่อต่อต้านปัญหามลพิษจากส่ิงแวดล้อม ซึ่งรวมถึงปัญหามลพิษหมอกควันข้ามแดน การเคลื่อนย้ยปฏิกูลอันตรายข้ามแดน โดยการเสริมสร้างขีดความสามารถ ส่งเสริมการตะกหนักรับรู้ต่อสาธารณชน เพิ่มอำนาจการบังคับใช้กฎหมาย และสนับสนุนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมที่ยังยืน และดำเนินการตามความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษหมอกควันข้ามแดน
D2.1 มลพิษหมอกควันข้ามแดน...
D2.2 มลพิษจากของเสียที่มีพิษข้ามแดน มาตรการ
- ส่งเสริมการประสานงานนระดับภูมิภาคและการแลกเปลี่ยนข้อมุล ประสบการณ์และความสามารถในการจัดการของเสียอันตราย
- ใช้ประโยชน์จากศูนย์ภูมิภาคอนุสัญญาบาเซลในการฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (BCRC-SEA) และบทบาทของคณะทำงานในการให้บริการแก่ภูมิภาคในเรื่องการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการเสริมสร้างขีดความสามารถในการจัดการของเสียอันตราย
- จัดตั้งกลไกระดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพและพร้อมที่จะปฏิบัติการในการจัดการของเสียอันตรายข้ามแดน รวมทั้งการขนย้ายของเสียที่ผิดกฎหมายโดยให้สอดคล้องกับอนุสัญญาบาเซลmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d2/
อนุสัญญาบาเซิล หรืออนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดนและการกำจัดซึ่งของเสียอันตราย เป็นสธิสัญญาระดับนานาชาติว่า ด้วยการจำกัดการเคลื่อนย้ายของเสียอันตรายระหว่างประเทศ โดยเฉพาะจากประเทศกำลังพัฒนาไปยังประเทศด้อยพัฒนา จุดมุ่งหมยคือลดปริมาณสารพิษที่เกิดจากของเสีย หรือ ขยะ
อนุสัญญาบาเซิลเร่ิมลงนามเมือวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ปัจจุบันมี 166 ประเทศที่ลงนาม โดยมีประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศเฮติ และสหรัฐอเมริกาที่ลงนามแล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มเข้ากระบวนการปฏิบัติตามสนธิสัญญา
ความเป็นมา สาระสำคัญและประโยชน์การเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาบาเซล
th.wikipedia.org/wiki/อนุสัญญาบาเซิล
ความเป็นมาในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาปัญหาการลักลอบนำของเสียอันตรายจากประเทศอุตสาหกรรมไปท้ิงในประเทศด้อยพัฒนาที่อยู่ทวีปแอฟริกาอเมริกากลาง และอเอเชียได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นตามลำดับโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ จึงได้จัดประชุมนานาชาติขึ้นตามลำดับโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ จึงได้จัดประชุมนานาชาติขึ้นเมือเดือนมีนาคม พ.ศ. 2532 ณ นครบาเซล ประ
เทศสวิตเซอร์แลนด์เพื่อจัดทำร่างอนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตราย้ามแดนโดยมีวัตถุประสงค์เพือควบคุมการนำเข้า ส่งออกและนำผ่านของเสียอันตรายให้เกิดความปลอดภัยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย รวมทั้งป้องกันการขนสงที่ผิดกฎหมายและช่วยเลหือประเทศกำลังพัฒนาในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการของเสียอันตราย โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ซึ่งต่อมาได้เปิดให้ประเทศต่างๆ ได้ลงนามเข้ารวมเป็นภาคตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม 2533 และมีผลใช้บังคับเมื่อวัีนที่ 5 พฤษภาคม 2535 ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกที่ให้สัตยาบันเป็นภาคีสมาชิกอนุสัญญาแล้ว จำนวนทั้งหมด 169 ประเทศ (ข้อมูลเมื่อธันวาคม 2549) ประเทศไทยได้จัดส่งผุ้แทนเข้าร่วมการประชุมระดับนานาชาติเพื่อจัดทำร่างอนุสัญญาและกำหนดข้อตกลงต่างๆ มาโดยลำดับและได้ให้สัตยาบันเป็นภาคีสมาชิกอนุสัญญาบาเซลเมือวันที่ 24 พฤศจิกายน 2540 อนุสัญญาบาเซลมีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2541 เป็นต้นมา
th.wikipedia.org/wiki/อนุสัญญาบาเซิล
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น