วันพุธที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2560

Water

            น้ำ เป็นสารประกอบเคมี ชนิดหนึ่ง มีสูตรเคมีคือ H2O โมเลกุลของน้ำประกอบด้วยออกซิเจน 1 อะตอม และไฮโตรเจน 2 อะตอมเชื่อมติดกันด้วยพันธะโควาเนต์น้ำเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน แต่พบบนโลกที่สถานะของแข็ง (น้ำแข็ง) และสถานะแก๊ส (ไอน้ำ) น้ำยังมีในสถานะของผลึกของเหลวที่บริเวณพื้นผิวที่ขอบน้ำ
            น้ำปกคลุม 71% บนพื้นผิวโลก และเป็นปัจจัยสำคัญต่อชีวิต น้ำบนโลก 96.5% พบในมหาสมุทร 1.7% ในน้ำใต้ติน 1.7% ในธารน้ำแข็งและขั้นน้ำแข็งของทวีปแอนตาร์กติการและเกาะกรีนแลนด์ ซึ่งเป็นเสษส่วนเล็กน้อยบนผิวน้ำขนาดใหญ่ และ 0.001% พบในอากาศเป็นไอน้ำ ก้อนเมฆ (ก่อตัวขึ้นจาก
อนุภาคน้ำในสถานะของแข็งและของเหลวแขวนลอยอยู่บนอากาศ)และหยาดน้ำฟ้า น้ำบนโลกกเพียง 2.5% เป็นน้ำจืด และ 98.8% ของน้ำจำนวนนั้นพบในน้ำแข็งและน้ำใต้ดิน น้ำจืดน้อยกว่า 0.3 % เป็นน้ำจืด และ 98.8% ของน้ำจำนวนน้ำนพบในน้ำแข็งและน้ำใต้ดิน น้ำจืดน้อยกว่า 0.3% พบในแม่น้ำ ทะเลสาบ และขั้นบรรยากาศ และนำจืดบนโลกในปริมาณที่เล็กลงไปอีก (0.003%) พบในร่างกายของส่ิงมีชีวิตและผลิตภัณฑ์
           น้ำบนโลกเคลื่อนที่ต่อเนื่องตามวัฒจักรของการระเหยเป้นไอและการคายน้ำ(การคายระเหย) การควบแน่น การตกตะกอน และการไหลผ่าน โดยปกติจะไปภถึงทะเล การระเหยและการคายน้ำนำมาซึ่งการตกตะกอนลงสู่พื้นดิน
           น้ำดื่มสะอาดเป็นส่ิงจำเป้นสำหรับมุนษย์และส่ิงมีชีวิตอื่นๆ แม้ว่าน้ำจะมไ่ม่มีแคลอรีหรือสารอาการ ที่เป็นสารประกอบอินทรีย์ใดๆ การเข้าถึงน้ำดื่อมสะอาดได้เปลี่ยนแปลงไปในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านมาในเกือบทุกส่วนของโลก แต่ปรชากรประมาณ 1 พันล้านคนยังคงขาดแคลนน้ำดื่มสะอาดและกว่ 2.5 พันล้านคนขาดแคลนสุขอนามัยที่เพียงพอ มีความเก่ยวพันกันเรื่องน้ำสะอาดและค่า GDP ต่อคน อย่งไรก็ดี นักสังเกตบางคนประมาณไว้ว่าภายในปี ค.ศ. 2025 ประชากรโลกมากกว่าครึ่งหนึ่งจะประสบปัญหาความเสี่ยงที่เกี่ยวกับน้ำ รายงานล่าสุดเมือเดอืนพฤศจิกายน ค.ศ. 2009 รายงานว่า ภายในปี ค.ศ. 2030 ในพื้ที่ประเทศที่ำกำลังพัฒนาจะมีความต้องการน้ำจะเพิ่มขึ้นเกิดประมาณน้ำที่มีกว่า 50% น้ำมีบทบาทสำคัญในเสณษฐกิจโลก เนื่องจากน้ำเป้นตัวทำละลายของสารเคมีหลากหลายชนิดและอำนวนความสะดวกในเรื่องการให้ความเย็นในภาคอุตสาหกรรมและการคมนาคม น้ำจืดประมาณ 70% มนุษย์ใช้ไปกับเกษตรกรรม...
       
 น้ำจืด หมายถึงน้ำในแหล่งน้ำทั่วไปอาทิ บ่อน้ำ ทะเลสาบ แม่น้ำ ลำธาร เป็นต้น ที่ซึ่งมีเกลือและของแข็งอื่นละลายอยู่ในระดับต่ำ มีความหนาแน่นน้อย นั่นคือน้ำจอดไม่ได้เป็นน้ำเค็มและน้ำกร่อย นำ้จืดสามารถเป็นผลผลิตของน้ำทะเลที่เอาเกลือออกแล้วได้
           น้ำจืดเป็นทรัพยากรหมุนเวียนที่สำคัญต่อสิ่งมีชีวิตบนบกเป็นสวนใหญ่ และเป้ฯที่จำเป้นต่อมนุษย์สำหรับน้ำดื่ม และใช้ในเกาตรกรรมเป้ฯต้น องค์การสหประชาชาติได้คาดการณ์ไว้ว่า ประชากรโลกประมาณร้อยละ 18 ขาดแคลนน้ำด่มที่ปลอดภัย...
           ทรัพยากรน้ำ หมายถึง แหล่งต้นตอของน้ำที่เป็นประดยชน์หรือมีศักยภาพที่จะก่อให้เกิดประโยชน์แก่มนุษย์ ทรัพยากรน้ำมีความสำคัญเนื่องจากน้ำเป็นสิ่งจำเป็นเนื่องจากจำเป็นแก่การดำรงชีวิตของสิงมี่ชีวิตทุกชนิด ได้มีการนำน้ำมาใช้ในด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม บ้านเรือน นันทนาการและกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งด้าานสิ่งแวดล้อม น้ำที่มนุษย์นำมาใช้ในกิจกรรมต่างวๆ ดังกล่าวนั้นจะเป้ฯน้ำจือด แต่น้ำจืดในโลกเรามีเพียงร้อยละ 2.5 เท่านั้น และปริมาณ 2 ใน 3 ของน้ำจืดจำนวนนี้เป็นน้ำแข็งในรูปของธารน้ำแข็ง และน้ำแข็งที่จับตัวกันอยุ่ที่ขั้นโลกทั้งสองขั้ว ผัจุบันความต้องการน้ำมีมากว่าน้ำจืดที่มีอยุ่ในหลายส่วนของโลก และใอีกหฃลายพื้นที่ในโลกกำลังจะประสบปัญหาความไใ่สมดุลของปุปสงค์และุอุปทานของน้ำในอนาคตอันไม่ไกลนัก กรอบปฏิบัตเพื่อการจัดสรรทรัยากรน้ำให้แก่ผุ้ใช้น้ำ(ในพื้นที่ที่มีกรอบปฏิบัติแล้ว) เรียกว่า "สิทธิการใช้น้ำ"th.wikipedia.org/wiki/ทรัพยากรน้ำ
           แหล่งน้ำจืด
           น้ำผิวดิน ได้แก่น้ำในแม่น้ำลำคลอง ทะเลสบและในพื้นที่ชุมน้ำที่เป้นน้ำจืด ปกตินำผิวดินจะได้รับการเติมจาผนหรือหิมะ และจะหายไปตามธรรมชาติด้วยการระเหยการไหลออกสู่ทะเลและากรซึมลงไปใต้ดิน
           แม้ว่าการเติมน้ำจืดโดยธรรมชาิของระบบน้ำผิวดินจะได้จากการตกของผนหรือหิมะลงเฉพาะบนบริเวณลุมน้ำนั้นๆ ณ เวลาหนึ่งก็ตาม แต่ประมาณรวมของน้ำยังขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นอีกหลายปัจจัย ปัจจัยเหล่านี้รยมถึงปริมาณความจุของทะเลสาบ พื้นที่ชุมน้ำและอ่างเก็บน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้นอัตราการซึมของดินในพื้นที่กักเก็บต่างๆ ดังกล่าว ลักษณะของการไหลตามผิวพื้นที่ลุ่มน้ำ ช่วงเวลาการตกของฝนหรือหิมะและอัตราการระเหยของพื้ที่นั้นๆ ปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อสัดส่วนของน้ำที่ไหลออกสูทะเล ระเหยและซึมลงใต้ดิน
           กิจกรรมของมนุษย์สามารถสร้างผลกระทบต่อปัจจัยต่ารงๆ ดังกล่าวได้มากมนุษย์มักเพิ่มความจุน้ำเก็บกักด้วยการสร้างอ่างเก็บน้ำและละความจุ้ำเก็ฐกักด้วยการระบายพื้นที่ชุ่มน้ำให้แห้ง มนุษย์เพ่ิมปริมาณและความเร็วไหลตามผิวของน้ำด้วยการดาดผิวพื้นต่างๆ ให้แข็งรวมทั้งการทำทางให้น้ำไหลทิ้งไปรวดเร็วขึ้น
       
ปริมาณโดยรวมของน้ำที่มีให้ใช้ ณ เวลาหนึ่งนับเป็นข้อพิจารณาที่มีความสำคัญมาก การใช้น้ำบางประเภทของมนุษย์เป็นการใช้แบบหยุดๆ เดินๆ ตัวอย่ง เช่นการทำเกษตรกรรมหลายแห่งต้องการ้ำเป้นปรมาณมากในช่วฤดูเพาะปลูกและไม่ใช้น้ำอีกเลยหลังฟดูเกฐเกี่ยว การจ่ายน้ำให้พื้นที่เกษตรกรรมประเภทดังกล่าว ระบบน้ำผิวดินเพื่อากรนี้อาจต้องมีขนาดการเก็บกักที่ใหญ่เพื่อให้สามารถเก็บกักน้ำฝนที่ตกลงมาทั้งปีไว้ สำหรับปล่อยมาใบ้ภายเในเวลาที่สั้นเป็นต้น การใบ้น้ำปะเภทนี้ค่อยๆ ใช้ในปริมาณครั้งละไม่่มากแต่สม่ำเสมอทั้งปี เช่น้ำสำหรับหล่อเย็นในโรงผลิตไฟฟ้า การจ่าย้ำในกรณีนี้ ระบบน้ำผิวดินต้องการเพียงอ่างหรือแหล่งกักเก็บที่มีความจุให้พอสำหับไว้ชดเชยน้ำในสาธารที่มีอัตราการไหลเข้าอ่างในฤดูแล้วต่ำหว่งอัตราการใช้น้ำในการหล่อเย็น
           น้ำผิวดินตามธรรมชาติสามารถเพ่ิมพูนได้โดยการนำน้ำเข้ามาจากแหลงในลุมน้ำอื่นด้วยการขุดคลองส่งน้ำหรอวางท่อส่งน้ำ หรืออาจทำด้วยวิธีอื่นๆ แต่ก็ได้ไม่มาก มนุษย์เรามีส่วนทำให้ระบบน้ำผิวดินไม่มั่นคงหรือ "หายไป" จากการสร้างมลพิษ
           บราซิล เป็นประเทศที่ประมาณกันว่ามีแหล่งน้ำจืดมากที่สุดในโลกตามด้วยแคนาดาและรัศเซีย
         
น้ำใต้ผิวดินหรือน้ำใต้ดินหมายถึงน้ำจือดที่ขังอยุ่ในช่วงว่างของดินหรือหินและยังหมายถึงน้ำที่ไหลอยู่ภายในชั้นหินอุ้มน้ำ หรือชั้นน้ำ ซึ่งอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำใจ้ติด ในบางครั้งก็มีประโยชน์ที่จะแยกให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่าง น้ำใต้ผิวดินที่อยุ่ใกล้และสัมพันธ์กับน้ำผิวดิน กับ น้ำผิวดินที่สัมพันธ์กับน้ำใต้ผิวดินที่อยู่ใกล้และสัมพันะ์กับน้ำผิวดิน กับน้ำผิวดินที่สัมพันะ์กับน้ำใต้ผิวดินที่อยู่ลึคกมากในชั้นหินอุ้มน้ำ บางครั้งก็เรียกน้ำชนิดนี้ว่า่ "น้ำซากดึกดำบรรพ์"
           ความเครียดน้ำ
           แนวคิดของความเครียดน้ำค่อนข้างตรงไปตรงมา สมัชชาธุรกิจเพื่อากรพัฒนาที่ยั่งยืน ให้ความหมายว่าเป้ฯสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเมือเกิดการขาดแคบนน้ำสำหรับใช้ในกิจการต่างๆ ไม่ว่าจะเป้นเพื่อการเกษตร อุตสาหกรรมหรือภาคครัวเรือน การใช้เพื่อบ่งชี้ขีดเร่ิมเครียดน้ำในแง่่ของควาเพียงพอของน้ำต่อหัวนับเป็นเรื่องที่ซับซ้อนมากขึ้น อย่างไรก็ดี การใช้ดดยทั่วไปหมายึถงการใช้นำ้และประสิทธิภาพของการใช้น้ำ ได้มีการเสนอว่า เมือใดที่น้ำจืดที่ใช้หมุนเวียนได้ที่ใช้ต่อคน/ปีลดต่ำลงกว่า 1,700 ลูกบาสก์เมตร ประเทศนั้นๆ จะพบกับปัหาการเครียดน้ำ ต่ำกว่า 1,000 ลบม. ความขาดแคลนน้ำจะเริ่มมีผลกระทบต่อเศรษบกิจของประเทศและเกิดปัญหาสุขภาพและความเป็นอยู่ของประชาชน
       
 มีหลายส่ิงที่คุกคามต่อแหล่งน้ำจืดของโลก สิ่งคุกคาดังกล่วได้แก่
         - การเพิ่มจำนวนประชากร
         - การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ th.wikipedia.org/wiki/ทรัพยากรน้ำ
         ประชาคมอาเซียน ด้านสังคมและวัฒนธรรม หมวดว่าด้วยความยั่งยืนด้านส่ิงแวดล้อม ในข้อ D9 : ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยการน้ำจืด เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร คือ ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้ำจืด ดดยให้ความเชื่อมั่นในเรื่องการเข้าถึงทรัพยากรน้ำอย่างเท่าเทียมกัน และคุณภาพที่ได้รับการอมรับได้ในปริมราณที่เพียงพอ เพื่อรองรับความต้องการของประชาชนอาเซียน
          มาตรการ :
          i. สารต่อการดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์อาเซียนว่าด้วยการจัดการทรัพยากรน้ำ
          ii. พยายามที่จะลดจำนวนประชากร ที่ไม่สามารถเข้าถึงน้ำดื่มปลอดภัยใหนเลหือเพียงครึ่งเดียวภายในปี 2553
         iii. จัดการทรัพยากรน้ำอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธผลเพื่อให้สามารถได้บริการน้ำดื่มได้อย่างเพียงพอภายในปี 2558
         iv. ส่งเสริมการดำเนินการจัดการลุ่มแม่น้ำอย่างบูรณาการภายในปี 2558
         v. ส่งเสริมการตระหนักรับรู้และากรเป็นหุ้นส่วนเพื่อสเริมสร้างการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างบูรณาการ
         vi. ส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาควาด้วยมาตรการและดครงการอนุรักษ์น้ำ รวมทั้งนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการปรับปรุงคุณภาพและการจัดหาน้ำmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d9/
         
         

วันอังคารที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2560

CITES : The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora

           อนุสัญญาไซเตส ไซเตส อนุสัญญาว่าด้วยการต้าระหว่งประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อนุสัญญาวอชิงตัน ประเทศไทยเป็นสมาชิกลำดับที่ 80 โดยลงนามรับรองอนุสัญญาในปี 2518  และให้สัตยาบันในวันที่ 21 มกราคม 2526 
           คณะกรรมการ ไซเตส ประจำปรเทศไทย สังกัน กระทรวงเกษตรและสหกรณื เนื่องจากประทรวงเกษตรและสหกรณื ได้มีคำสั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการ ไซเตส ประจำประเทศไทยขึ้น โยมีัหน้าที่ดำเนินการในกิจกรรมต่างๆ และให้คำปรึกษาแก่รัญมนตรีในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับอนุสัะญญา ไซเตสในประเทศไทย
           กระทรวงเกาณตาและสหการณ์ได้จัแบ่หน้าที่รความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานของ ไซเตส ในปรเทศไทยมอบหมายให้ ส่วนราชการที่มีหน้าที่ดดยตรง ในการดูแลชนิดพันธุ์ที่ ไซเตส ควบคุม คือ
         
 สัตว์ป่า พืิชป่า ของป่า อยู่ในความรับผิดชอบของ กรมป่าไม้
           พืช อยู่ในความรีับผิดชอบของ กรมวิชาการเกษตร
           สัตว์น้ำ อยู่ในความรับผิดชอบของ กรมประมง 
           ปัจจุบัน การดำเนินงานการบริหารจัดการทรัพยากรสัตว์ป่า เพื ่อมิให้ประชกรของสัตว์ป่าลดน้อยลงหรือสูญพันธุ์ไป กรมป่าไม้ ได้ดำเนินการร่วมมือและประสานงานกับนานาชาติในการอนุรักษ์สัตว์ป่าและดำเนินงานด้านการป้องกันและปราบปราม โดยได้จัดตั้งด่านตรวจสัตว์ป่าขึ้นที่ทาอากาศยานนานาชาติ ท่าเรือและจุดตรวจตามแนวชายแดน เพื่อป้องกันการลักลอบการค้ การนำเ้ขา การสงออกและนำผ่านแดนซึ่งสัตว์ป่า ที่กระทำผิด พ.ร.บ.สงงนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ในปัจจุบันได้จัดตั้งขึ้นแล้วจำนวน 49 ด่าน
           ไซเตส เร่ิมมีขึ้นเมื่อ สหพันะ์ระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ หรือ IUCN ได้จัดการประชุมนานาชาติ ขึ้นในปี 2516 ที่กรงุวอชิงตัน ดี.ซี. เพื่อร่างอนุสัญญา ไซเตส ขึ้น มีประเทศที่เข้าร่วมประชุม 83 ประเทศรวมทั้งตัวแทนจากประเทไทยด้วย โดยมีผุ้ลงนามรับรองอนุสัญญาฉบับนี้ทันที่ 21 ประเทศและในปี พ.ศ. 2518 IUCN ได้จัดตั้งสำนักงานเลขาธิการ ไซเตส ขึ้น ทำหน้าที่บริหารอนุสัญญาฉบับนี้ ภายใต้การดูแลของ IUCN ปัจจุบนมีสำนักงานอยู่ที่เมืองเจนีวา ประเทศสวตตเซอร์แลนด์ มีสมาชิกกว่า 140 ประเทศ โดยสมาชิกจะต้องจ่ายเงินอุดหนุนรายไปเป็นค้าใช้จ่ายในการบริหารงานของสำนักเลขาธิการ ไซเตส สำหรับประเทศไทยนั้น กรมป่าไม้เป้นผุ้ขอตั้งงบประมาณเงินอุดหนุน ไซเตส โดยช่วงปี พ.ศ. 2536-2538 ประทศไทยต้องจ่ายเงินปีละ 112,000 บาทให้กับ ไซเตส
           
ไซเตสมีจุประสงค์ คือ การอนุรักษณ์ททรัพยากรสัตว์ป่าและพืชป่าในโลก เพื่อประโยชน์แห่งมวลมนุษย์ชาติโดยเน้นทรัพยากรสัตว์ป่าแฃละพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์หรือมีการคุกคาม ทำให้มีปริมาณร่อยหรอจนอาจเป้นเหตุให้สูญพันธุ์ วิธีการอนุรักษ์ของ ไซเตส ก็คือ การสร้างเครือข่ายทั่วโลกในการควบคุมการค้าระหว่างประเทศ ทั้งสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ แต่ไม่ควบคุมการต้าภายในประทเศ สำหรับชนิดพันธุ์อื่นๆ 
              หน้าที่ของไซเตส คือ 
               - สมาชิกต้องกำหนดมาตราการในการบังคับใช้อนุสัญญ ไซเตส มิให้มีการต้าสัตว์ป่า พืชป่าที่ผิดระเบียบอนุสัญญาฯ โดยมีมาตรการลงโทษผุ้ค้า ผู้ครอบครอง ริบของกลางและส่งของกลางกลับแหล่งกำเนิด กรณีที่ทราบถึงถ่ินกำเนิด
               - ต้องตั้งด่านตรวจสัตว์ป่า พืชป่าระหว่งประเทศเพื่อควบคุมและตรวจสอบการต้าสัตว์ป่า พืชป่า และการขนส่งที่ปลอดภัยตามระเบียบอนุสัญญ ไซเตส
               - ต้องส่งรายงานประจำปี เกี่ยวกับสถิติการต้าสัตว์่ป่า พืชป่าของประเทศตนแก่สำนักงานเลขาธิการ ไซเตส
               - ต้องจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายปฏิบัติการ และคณะทำงานฝ่ายวิทยาการ ประจำประเทศ เพื่อควบคุมการค้าสัตว์ป่า พืชป่า
              -  มีสิทธิเสนอขอเเลกเปลี่ยนชนิดพันธุ์ในบัญชี Appendix I-II-III ให้ภาคีพิจารณา
             ระบบการควบคุมของไซเตส การค้าสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศจะถูกควบคุมโดยระบบใบอนุญาต ซึ่งหมายถึงว่า สัตว์ป่าและพืชป่าที่ ไซเตส ควบคุมต้องมีใบอนุญาตในการ 
           
  -นำเข้า
              - ส่งออก
              - นำผ่าน
             - ส่งกลับออกไป 
              ประชาคมอาเซียน ด้านสังคมและวัฒนธรรม ได้มีการจำแนกความสำคัญในลักษณะต่างๆ โดยสิ่งแวดล้อมอยู่ในหมวด  D ซึ่งในข้อ D8 ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษณ์ทรัยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน โดยเป้าหมายทางยุทธศาตร์ คือ ให้ความมัี่นใจว่าความหลากหลายทางชีวภาพที่สมบูรณ์ของอาเวียนจะได้รับการรักษาและจัดการอย่างยั่งืนโดยการเสริมสร้างสภาวะที่ดีทางด้านสังคม เศราฐกิจ และสิ่งแวดล้อม
            มาตรการ :
            i. บรรลุเป้าหมาย ภายในปี 2553 ในเรื่องการลดอย่างมีความหมายของอัตราการสูญเสียในปัจจุบันของความหลากหลายทางชีวภาพโดยกาดำเนินแผนงานที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับชาติ ระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ 
            ii. ส่งเสริมการประสานงาน การแบ่งปันตัวอย่างบทเรียนในการเข้าถึงและการแบ่งปันทรัพยากรทางพันธุกรรมและชีวภาพอย่วงเท่าเทียมกันภายในปี 2558 
            iii. ส่งเสริมการจัดทำรายการและการร่วมกันจัดการอุทยานที่เป็นมรดกของอาเซียนในการเป้นเวทีที่มีประสิทธิภาพสำหรับการจัดการพิ้ที่ที่ได้รับการคุ้มครองทางระบบนิเวศ ภายในปี 2558 
            iv.ส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการพื้นที่คุ้มครองข้ามพรมแดนระหว่างประเทศสมราชิกอาเวียนที่เป็นเพื่อนบ้านกัน
            v. ดำเนินมาตรการที่เหมาะสมเพื่อลอผลกระทบของการเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนของส่ิงม่ีชีวิตที่เกิดจากการตัดต่อสารพันธุกรรมโดยเป้นไปตามพิธีสารคาร์ทาเกน่าว่าด้วยควาปลอดภัยทางชีวภาพภายในปี 2558
            vi. จัดตั้งเครือข่ายการทำงานในระดับภุมิภาคเพืรีอการเสริมสร้างขีดความสามารถในการจัดทำรายการของทรัพยากรทางชีวภาพและมาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพของภูมิภาคอาเซียนภายในปี 2558
         
  vii. ส่งเสริมบทบาทและศัยภาพของศูนย์อาเวียนว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อทำหน้าที่เป็นศูนย์ความเป็นเลิศในระดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการอนุรักษ์ และการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ
            viii. ส่งเสริมการมีสวนร่วมของชุมชนท้องถ่ินในการักษาความหลากหลายทางชีวภาพแลสุขภาพป่าไม้ ภายในปี 2558
            ix. ส่งเสริมนโยบายการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและแนวปฏิบัติที่จะลอผลกระทบจากการบุกรุกของสายพันธุ์ต่างถิ่นในระดับภูมิภาคและระหว่งประเทศ
            x. ส่งเสริมความร่วมมือในระดับภูมิภาคว่าด้วยการจัดการความหลากหลายทางชีัวภาพอย่างยั่งยืน เช่น การทำวิจัยร่วมกัน และการพัฒนาประสบการณ์ การแลกเปลี่ยนผุ้เชี่ยวชาญและการฝึกอบรม
           xi. เสริมสร้างความพยายาที่จะควบคุมการต้าข้ามพรมแดนในเรื่องสัตว์ป่าและพืชป่าภายใต้แผนงานอาเซียนว่าด้วยเรื่องการต้าพันธุ์พืชและสัตว์ป่า ปี 2548-2553 และเครือข่ายการป้องกันและปราบปรามการต้าสัตว์ป่าที่ผิดกฎหมาย (อาเซียน-เว็น) เพื่อดำเนินการตามพันธกรณีภายใต้อนุสัญญาว่ด้ายการต้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (ไซเตส)
          xii. แสวงหาความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเวียนในการจัดทำการสำรวจร่วมกันและการติดตามการอพยพของสัตว์ป่า
          xiii. ส่งเสริมความร่วมือระหว่งประเทศสมาชิกอาเวียนในการจัดการพื้นดินเสื่อมโทรมสำหรับการจัดการพื้นดินอย่างยั่งยืนเพื่อสนัยสนุนการเกษตรและส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืนmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d8/

วันจันทร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2560

Biodiversity

              ชีวภาพ หมายถึง ชีวิต เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต เช่น ความหลากหลายทางชีวภาพทำให้เกิดความสมดุลของธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต เช่น ภวะซึมเศร้าอาจเกิดจากความไม่สมดุลของสารชีวภาพในสมอง บางครั้งคำว่าชีวภาพ ใช้เกี่ยวกับจุลินทรีย์และกระบวนการผลิตส่ิงที่ได้และเกิดจากส่ิงมีชีวิต ะช่น เกษตรกรมักใช้วิธีการทางชีวภาพทำปุ๋ยหมัก การกำจัดน้ำเสีย ด้วยน้ำหมักwww.royin.go.th/?knowledges=%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E-%E0%B9%98-%E0%B8%98%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1-%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%95%E0%B9%95
ชีวภาพซึ่งมีจุลินทรีย์นับว่าได้ผลเป็นที่พอใจ ในการทำสงครามนอกจากจะใช้ขีปนาวุธและยุทโธปกรณ์ต่างๆ ยังพบการใช้อาวุธนิวเคลียร์ อาวุธเคมี และอาวุธชีวภาพ อีกด้ว นอกจากน้คำว่าชีวภาพยังมีความหมายตรงข้ามกับคำว่า กายภาพ ในความหมายว่า สิ่งมีชวิต ตรงข้ามกับ สิ่งไม่มีชีวิต เช่น เพ่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ครัวเรือนของเกษตรกรต้องมีทรัพยากรทางกายภาพ และชีวภาพเพียงพอต่อการดำรงชีพ บุคลากรทีทำงานเสี่ยงภัยต้องสวมใส่ถุปกรณืเพื่อป้องกันตนเองจากอันตรายทางกายภาพ และอันตรายทางชีวภาพ
              ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง การมีส่ิงมีชีวิตนานาชนิด นานาพันธุ์ในระบบนิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโล หรือง่ายๆ คือ การที่มีชนิดพันธุ์, สายพันธุ์ และระบบนิเวศ ที่แตกต่างหลากหลายบนโลก
              ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถพิจารณาได้จากความหลากหลายบระหวา่งสายพันธุื ระหว่างชนิดพันธุ์และระหว่างระบบนิเวศ
              ความหลากหลายางชีวภาพระหว่างสายพันธุ์สามารถพิจารณาได้จากความหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ระหว่างชนิดพันธุ์และระหว่างระบบนิเวศ
              ความหลากหลายทางชีวภาพระหว่างสายพันธุ์ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือ ความแตกต่างระหว่างพันธุ์พืชและสัตว์ต่างๆ ที่ใช้ในการเกษตร ความแตกต่างหลากหลายระหว่าสายพันธุ์ ทำให้สามารถเลือกบริโภคข้าวเจ้า หรือ ข้าวเหนียว ตามที่ต้องการได้ หากไม่มีความหลากหลายของสายพันธุต่างๆ แล้ว อาจจะต้องรับประทานส้มตำปูเค็มกับข้าวจ้าวก็เป็นได้ ความแตกต่างที่มีอยุ่ในสายพันธุ์ต่างๆ ังช่วยให้เกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุ์ปศุสัตว์เพื่อให้เหมาะสมตามความต้องากรของ ตลาดได้ เช่น ไก่พันะู์เนื่อ ไก่พันธุ์ไข่ดก และวัดพันธุ์เนื้อ เป็นต้น
           
ความหลากหลายระหว่างชนิดพันธ์ุ สามารถพบเห้นได้โดยที่วไปถึงความแตกต่างระหว่างพืชและสัตว์แต่ละชนิด ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ที่อยู่ใกล้ตัว เช่น สุนัข แมว จิ้งจก ตุ๊กแก กา นกพิราบ และนกกระจอก เป้ฯต้น หรือส่ิงมีชีวิตที่อยู่ในป่าเขาลำเนาไพร เช่น เสือ ช้าง กวาง กระจง เก้ง ลิง ชะนี หมี และว้วแดง เป็นต้น พื้นที่ธรรมชาติเป็นแหล่งที่อยู่อาเศยของสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างหลากหลาย แต่ว่ามนุษย์ได้นำเอาสิ่งมีชีวิตมาใช้ประโยช์ทางการเกษตรและอุตสาหกรรม น้อยกกว่าร้อบละ 5 ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในความเป้นจริงพบว่ามนุษย์ได้ใช้พืชเป็อาหารเพียง 3,000 ชนิด จากพัชมมีท่อลำเลียง ที่มีอยู่ทั้งหมดในโลกถึง 320,000 ชนิด ทั้งๆ ที่ประมาณร้อยละ 25 ของพืชที่มีท่อลำเลียงน้สามารถนำมาบริโภคได้ สำหรับชนิดพันธุ์สัตว์นั้น มนุษย์ได้นำเอาสัตว์เลี่ยงมาเพือใช้ประโยชน์เพียง 30 ชนิด จากสัตว์มกระดูกสันหลง ทั้งหมดที่มีในโลกประมาณ 50,000 ชนิด
             ความหลากหลายระหว่างระบบนิเวศเป้นความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งซับซ้อน สามารถเห็นได้จากความแตกต่งระหว่างระบบนิเวศประเภทต่างๆ เช่นทุ่งนา อ่างเก็บน้ำ หรือแม้กระทั่งชุมชนเมืองของเราเอง ในระบบนิเวศเหล่านี้ สิ้งมีชีวิตก็ต่างชนิดกัน และมีสภาพการอยู่อาเศัยแตกต่างกัน
              ความแตกต่างหลากหลายระหว่างระบบนิเวศ ทำให้โลกมีถ่ินทีอยู่อาเศัยเหมาะสมสำหรับสิ่งมสีชีวิตชนิดต่างๆ ระบบนิเวศแต่ละประเภทให้ประโยชน์แก่การดำรงชีวิตของมนุษย์แตกต่างกัน หรืออีกนัยหนึ่งให้บริการทางสิ่งแวดล้อม ต่างกันด้วย อาทิเช่น ป่าไม้ ทำหน้าที่ดุดซับน้ำ ไม่ให้เกิดน้ำท่วมและการพังทลายของดิน ส่วนป่าชายเลนทำหน้าที่เก็บตะกอนไม่ให้ไปทบถมจนบริเวณปากอ่าวตื้นเขิน ตลอดจนป้องกันการกัดเซาะบริเวณชายฝั่งจากกระแสลมและคลื่อนด้วย เป้นต้น
              อนุสัญญาความหลากหลายทางชีวภาพ
              จากการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา หรือการประชุมสุดยอดด้านสิ่งแวดล้อม ณ กรุงระโอ เดอ เจเนโร ประเทบราซิล เมื่อวันที่ 5-14 มิถูนายน พ.ศ. 2535 ประเทศทั่วโลกได้ให้การรับรองอนุสัญญาว่ด้วยความหลากลหลายทางชีวภาพ โดยมีทั้งสิ้น 157 ประเทศร่วมลงนาม อนุสัญญาฯ ได้มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ 2536 ปัจจุบัมีภาคี 191 ปรเทศ ในส่วนของประเทศไทย ได้ลงนามในอนุสัญญาเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พงศ. 2535 และให้สัตยาันเข้าเป็นภาคีเมือวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2546 มีผลบังคับใ้เมือวันที่ 29 มกตาคม พ.ศ. 2547
             อนุสัญญาฯ เป้ฯความตกลงด้านสิ่งแวดล้อมระหว่งปรเท ที่มีเจตนารมณ์ให้รัฐบาลทุกประเทศเคร่งครัดต่อการรักษษวินัยสิ่งแวดล้อม อนุสัญญาฯ ฉบับนี้เป็นอนุสัญญานานาชติฉบับแรกที่ครอบคลุมการอนุรักษ์ ทั้งพันธุกรรม ชนิดพันธู์ และระบบนิเวศ โดยมีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ
            - เพื่ออนุรักษณ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
            - เพื่อใช้ประโยชน์ความหลากลหยทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
            - เพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จากการใช้ทรัพยากรพันธุกรรมอย่างเท่าเทียมและยุติธรรมth.wikipedia.org/wiki/ความหลากหลายทางชีวภาพ
             ระบบนิเวศ คือกลุ่มอินทรีย์ (พืช สัตว์และจุลินทรีย์) ร่วมกับองค์ประกอบชีวนะของส่ิงแวดล้อมของพวกมัน (เช่น อากาศ น้ำและดินอนินทรีย์) ซึงมีปฏิสัมพันะ์กันเป็นระบบ ถือว่ ส่วนประกอบชีวนะและอชีวนะเชื่อมกันผ่านวัฎจักรสารอาหรและการถ่ายทอดพลังงาน ระบบนิเวศนิยามเป้นเครือข่ายปฏิสัมพันธ์ระหว่างอินทรีย์ด้วยกันและระหว่างอินทรีย์กับสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศมีขนาดเท่าใดก็ได้ แตกปกติครอลคลุมพื้นที่เฉพาะจำกัด แม้นักวิทยาศาสตร์บลางส่วนกล่าวว่า ทั้งโลกก็เป็นระบบนิเวศหนึ่งด้วย
           
พลังงาน น้ำ ไนโตรเจนและดินอนินทรีย์เป็นอีกส่วนประกอบอชีวะนะของระบบนิเวศ พลังงานซึ่งถ่ายทอดผ่านระบบนิเวศได้มาจากดวงอาทิตย์เป็นหลัก โดยทั่วไปเข้าสู่ระบบผ่านการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งกระบวนการนี้ยังจับคาร์บอนจากบรรยากาศด้วย สัตว์มีบทบาทสำคัญในการเคลื่อนของสสารและพลังงานผ่านระบบนิเวศ โดยการกินพืชและสัตว์อื่น นอกจากนี้ สัตว์ยังมีอิทธิพลต่อปริมาณพืชและชีวมวลจุลินทรีย์ที่มีอยู่ ตัวสลายสารอินทรีย์ปลดปล่อยคาร์บอนกลับสู่บรรยากาศและเอื้อการเกิดวัฎจักรสารอาหารโดยการแปลงสารอาหารที่สะสมอยุ่ในชีวมวลตายกลับสุ่รูปที่พร้อมถูกพืชและจุลินทรีย์อื่นใช้ โดยการย่อยสลายสารอินทรรีีย์ตาย ในธรรมชาิตและ้มีสาร 60 ชนิด ในจำนวน 96 ชนิด หมุนเวยนผ่านเข้าไปในอินทรีย์
             ระบบนิเวศมีทั้งปัจจัยภายนอกและภายในควบคุม ปัจจัยภายนอก เช่นภูมิอากาศ วัสดุกำเนิด วึ่สร้างดินและภูมิลักษณ์ ควบคุมโครงสร้างโดยรวมของระบบนิเวศและวิธีที่สิ่งต่างๆ เกิดในนั้น แต่ปัจจัยดังกล่าวไม่ได้รับอิทธิพลจากระบบนิเวศ ปัจจัยภายนอกอื่นรวมเลาและชีวชาติศักยะ ระบบนิเวศเป้นส่ิงพลวัต คือ อยู่ภายใตการรบกวนเป็นระยและอยู่ในกระบฝวนการฟื้นตัวจากการรบกวนในอดีตบางอย่าง ระบบนเวศในสิ่งแวดล้อมคล้ายกันที่ตั้งอยุ่ในส่วนของโลกต่างกันสามารมีลักษณะต่างกันมากเพราะมีชนิดต่างกัน การน้ำชนิดต่างถ่ินเข้ามาสามารถทใไ้เกิดการเลื่อนอย่างสำคัญในการทำหน้าที่ของระบบนิเวศ ปัจจัยภายในไม่เพียงควบคุมกระบวนการของระบบนิเวศ แต่ยังถูกระบบนิเวศคบคุมและมักอยู่ภายใต้วงวนป้อนกลับ เช่นกัน ขณะที่ทรัพยากรป้อนเข้าปกติถูกกระบวนการภายนอก เช่น ภูมิอากาศและวัสดุกำเนิด ควบคุม แต่การที่ทรัพยากรเหล่านี้ในระบบนิเวศถูกปัจจยภายใน เช่นการผุสลายตัว การแข่งขันรากหรือการเกิดร่ม ควบคุม ปัจจัยภายในอื่นมีการรบกวน การสืบทอด และประเภทของชนิดทีมี แม้มนุษย์อยู่ใและก่อให้เกิดผลภายในระบบนิเวศ แต่ผลลัพธ์รวมใหญ่พอมีอิทธิลต่อปัจจัยภายนอกอย่างภูมิ
อากาศ
             ความหลากหลายทางชีวภาพ เช่นเดียวกับการรบกวนและการสืบทอด มีผลต่อการทำหน้าที่ของระบบนิเวศ ระบบนิเวศให้สินค้าและบริหารต่างๆ ที่มนุษย์ต้องการ หลักกรการจัดการระบบนิเวศเสนอว่า แทนที่จะจัดการชนิดหนึงเพียงชนิดเดียว ควรจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ระบบนิเวศด้วยการจำแนกระบบนิเวศเป็นหน่วยเอกพันธุ์ทางระบบนิเวศ เป็นขึ้นตอนสำคัญสู่การจัดการระบบนิเวศอย่างสัมฤทธิ์ผล แต่ไม่มีวิธีทำวิธีใดหนึ่งตกลงกัน
              กระบวนการระบบนิเวศ











            แผนภาพการถ่ายทอดพลังงานของกบ กบเป็นสัญลักษณ์ของปมหนึ่งในสายใยอาหารขยาย พลังงานจากการกินถูกใช้ประโยชน์เพื่อกรบวนการเมแทบอลิซึมแล้วแผลงเป้นชีวมวล การถ่ายทอดพลังงานดำเนินวิถีของมันต่อการกบูกนักล่าหรือปรสิตกินต่อ หรือถูกกินเป็นซากสลายในดิน แผนภาพการถ่ายทอดพลังงานนี้แสดงวิธีที่พลังงานเสียไปเพื่อเป็นเชื้องเพลิงกระบวนการเมเทบอลิซึมซึ่งแปลงพลังงานและสารอาหารเป็นชีวมล 

            โซ่อาหารพลังงานเชื่อโยงสามขยาย (1. พืช, 2. สัตว์กินพช 3. สัตว์กินเนื้อ) แสดงความสัมพันธ์ระหว่งแผนภาพการถ่ายทอดอาการและสัดส่วนการแปลงพลังงาน สัดส่วนการแปลงพลังงานลดลงจากคุณภาพสูงกว่เป็นคุณภาพต่ำกว่าเมื่อพลังงานในโซ่อาหารไหลจากชนิดโภชนาการหนึ่งไปอีกชนิดหนึ่ง ( I สิ่งป้อนเข้า, A การนำอาหารไปเสริมสร้างเนื้อเยื่อ, R การหายใจ, NU ไม่ถูกใช้ประโยชน์, P การผลิต B ชีวมวล)
            คาร์บอนและพลังงานซึ่งรวมอยุ่ในเนื้อเยื้อพืช(การผลิตปฐมภูมิสุทธิ) ถูกสัตว์บริโภคขณะพืชยังมีชีวิต หรือยังไม่ถูกกินเมือเนื้อเยือพืชตายและกลายเป็นซากสลาย ในระบบนิเวศบนดินการผลิตปฐมภูมิสุทธิราว 90%  ถูกตัวสลายสารอินทรีย์สลาย ส่วนที่เหลือไม่ถุกสัตว์บริโภคขณะยังมีชีวิตแล้วเข้าสูระบบโภชนาการที่มีพืชเป็นฐาน ก็ถุกบริโภคหลังตายแล้วแล้วเข้าระบบโภชนาการที่มีซากสลายเป็นฐาน ในระบบในน้ำ สัดส่วนชีวมวบลพืชที่ถูกสัตว์กินพืชบริโภคมีสุงกว่ามาก ในระบบโภชนาการ อินทรีย์สังเคราห์ด้วยแสดงเป็นผุ้ผลติปฐมภูมิ อินทรีย์ที่บริโภคเนื้อเยื่อของผุ้ผลิตปฐมภูมิ เรียก ผุ้บริโภคปฐมภุมิ ผุ้บริโภคลำดับที่หนึ่ง หรือผุ้ผลิตทุติยภูมิ คือ สัตว์กินพืช สัตว์ที่กินผุ้บริโภคปฐมภุมิ คือ  สัตว์กินเนือ เป็นผุ้บริโภคทุติยภูมิหรือผุ้บริโภคลำดับที่สอง ผุ้ผลิตและผุ้บริโภคเหล่านี้ประกอบเป็นระดับโภชนาการ ลำดับการบริโภค ตั้งแต่พืชถึงสัตว์กินพืช ถึงสัตว์กินเนื้อ ก่อเป้นโซ่อาหารระบบจริงซับซ้อนกว่านี้มาก โดยทัี่วไปอินทรีย์จะกินอาหารมากว่าหนึ่งรูปและอาจกินที่ระดับโภชนาการมากกว่าหนึ่งระดับ สัตว์กินเนื้ออาจจับเหยื่อบางส่วนซึ่เป็นส่วนหนึ่งของระบบโภชนาการที่มีพืชเป็นฐานและบางส่ยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบโภชนาการที่มีซากสลายเป็นฐาน เช่น นกกินทั้งตั้กแตนซึ่งเป็นสัตว์กินพืช และไส้เดือนเดินซึ่งบริโภคซากสลาย ระบบจริงที่มีบรรดาความซับซ้อนเหล่านี้ ก่อสายใยอาหารแทนโซ่อาหาร
             
การผุสลายตัว คาร์บอนและสารอาหารที่อยู่ในสารอินทรีย์ที่ตายแล้วจะโดนแบ่งกลุ่มด้วยกระบวนการที่เรียก่ารสลายตัว สารอาหารที่ได้จากการสลายตัวนั้นสามารถนำกลับมารใช้ได้สำหรับพืชและจุลินทรีย์และอีกส่วนหนึ่งจะกลายเป็นคาร์บอนไดออกไซด์กลับสู่ชั้นบรรยากาศเพื่อใช้ในการสังเคราะห์แสง หากไม่มีการสลายตัวจะมีสารอินทรีย์ที่ตายแล้วและสารอาเหารการสะสมอยู่ในระบบและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศก็จะหมดไป ประมาณ 90% ของอัตราการผลิตปฐมภูมิสุทธิ จะมาจากผู้ย้อยสลายโดยตรง
              กระบวนการย่อยสลายสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท
              - การกระจายตัวและการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของวัตถุที่ตายแล้วเมื่อมีน้ำไหลผ่านสารอินทรีย์ที่ตายแล้ว มันจะละลายและกลางเป็นองค์ประกอบของนำซึ่งเป้ฯส่ิงมีชีวิตที่อยู่ในดิน หรือสิ่งที่อยู่นอกเหนือจากส่ิงที่มีในระบบนิวเศ ใบไม้ที่เพิ่งผลัดใบและสัตง์ที่เพีิงตายเป็ฯส่วนที่ทำให้ความเข้มข้นของน้ำเพ่ิมมากขึ้นและรวมถึงน้ำตาล กรดอะมิโนและแร่ธาตุ การชะล้างที่สำคัญจะเกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมที่เปียกและความสำคัญจะลดลงเมือชะล้างแห้งแล้ง
              - กระบวนการการแยกชิ้นส่วนโดยการทำให้อินทรีย์วัตถุแตแล้วกลายเป้นชิ้นส่วนเล็กๆ ซึ่งทำให้เห็นบริเวณที่จุลินทรีย์กระจายตัว แต่สำหรับใบไใ้สดจุลินทรีย์ไม่สามารถเข้าถึงได้เนื่องจากผิฟหรือเปลือกไม้และองค์ประกอบเซลล์จะถูกปกป้องไว้ด้วยผนังเซลล์ สำหรับสัตว์ที่เพิ่งตายจะโดนครอบคลุมด้วยโครงกระดูกแข็ง โดยกระบวนการแยกนี้หากชิ้นสวนที่แตกสามารถผ่านชั้นที่มีการปกป้องนี้ได้ก็จะสามารถช่วยเร่งการย่อยสลายของจุลินทรีย์ได้ดีชขึ้น การล่าซกชิ้นสวนของสัตว์ก็เพื่อนำไปเป็นอาหาเืพ่อการดำรงชีพ ซึ่งเปรียบเสมอืนเป้นวงจรที่ใช้ทดสอบความคงตัวและวงจรของชิ้นส่วนวัตถุที่ตายแล้วในสภาพแวดล้อมที่เปียกและแห้ง
             - การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารอินทรีย์ที่ตายส่วนใหญ่จะได้จากแบคทีเรียและการกรทำของเชื้อราเป้ฯหลัก โดยเส้นใยราจะสร้างเอนไซม์เพื่อสามารถแทรกผ่านโครงสร้างภายนอกของวัตถุอินทรีย์ของพืชที่ตายแล้วได้ อีกทั้งผลิตเอเนไซม์เพื่อสลายลิกนินซึ่งช่วยให้มันสมารถผ่านไปยังทั้งสองเซลล์และไปยังไนโตรเจนที่อยู่ในลิกนิน เชื้อราสามารถแลกเปลี่ยนคาร์บอนและไนโตรเจนผ่านเส้นใยที่มีโครงสร้างเป้นร่างแหดังนั้นจึงแตกต่างจากแบที่เรียและไม่ขึ้นอยูกับทรัพยากรที่มีอยุ่ในบริเวณดังกล่าว
             การจัดการระบบนิเวศ 
             การจัดการระบบนิเวศ จะเกิดขึ้นเมื่อมีการจัดการทรัยากรธรรมชาิต ที่มีในรบบนิเวศมากว่า 1 ชนิด ได้นิยามไวว่า "การประยุกต์ใช้ศษสตร์ทงนิเวศวิทยาในการจัดการทรัพยากรเพื่อส่งเสริมความยั่งยืนของระบบนิเวศในระยะยาวและ การส่งมอบสินค้าและบริการของระบบนิเวศที่สำคัญ มีผุ้ให้นิยามระบบนิเวศไว้ว่า "การจัดการเป้าหมายอย่งชัดเจน ดำเนินการตามนโยบาย ระเบียบการ การปฏิบติแลสามารถปรับตัวได้จากการตรวจสอบและกระบวนการที่จำเป็นเพื่อรักษาโครงสร้างของระบบนิเวศและการวัจัยบนพื้นฐานความเข้าใจที่ดีที่สุดของเรามีปฏิสัมพันธ์ทางนิเวศวิทยา" และ "การจัดการพื้นที่ที่มีคามหลากหลายแบบนิเวศบริการและชีวภาพ มีเก็บทรัพยากรเพื่อที่มนุษย์ใช้อย่งเหมาะสมและการดำรงชีวิตที่ยั่งยืน
           
แม้ว่าคำจำกัดควมของการจัดการระบบนิเวศจะมีมากมาย ได้มีการกำหนดหลักการเพื่อรองรัลบคำนิยามเหล่านี้ ไว้ว่า หลักการพื้นฐาคือการพัฒนาอย่างยั้งยืนในระยะยาวของการผลิตสินค้าและนิวเศบริการ "การพัฒนาอย่งยังยืนเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการจัดการ ไม่ใช่ของแถม" นอกจากนี้ยังต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจนเกี่ยวกับบทบาทของมนุษย์เป็นส่วนประกอบของนระบบนิเวศและการจัดการที่เหมาะสม ในขณะที่การจัดการระบบนิเวศที่สามารถนำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของแผนเืพ่อการอนุรักษ์ป่าก้ยังสามารถน้ำมาใช้ในการจัดการระบบนิเวศ เช่นระบบนิเวศเกษตร
           ภัยคุกคามจากมนุษย์ที่มีต่อระบบนิเวศ
           ขณะที่ประชากรกรมในุษย์เติบโตขึ้นเพื่อทำต้องการทรัพยากรที่กาำหนดในระบบนิเวศและผฃกระทบของรายเท่าทางนิวเศของมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติสามารถทำลายได้และใช้ได้อย่งมากมายผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการกรทำของมนุษย์ล้วนเป้นกระบวนการหรือวัสดุที่ได้มาจากการกระทำของมนุษย์ จะส่งผลให้คุณภาพของอาเาศและน้ำถูกทำลายมากยิ่งขึ้น รวมถึงการทำการประมงที่มากเกินไปทำให้ศัตรูพืชและโรคระบาดจะขยายพื้นที่มากย้ิงขึ้นเกินการควบคุมและการตัดไม้ทำลายป่าจะก่อให้เกิดน้ำท่วมรุนรแง จากรายงานพบว่าประมาณ 40-50% ของโลกในส่วนที่เป็นชั้นน้ำแขช็งวได้เลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างมากซึ่งความเสื่อมโทรมนี้ล้วนเกิดจากการกระทำของมนุษย์ และอีก 66% เป้ฯการทำth.wikipedia.org/wiki/ระบบนิเวศ
ประมงมากเกินไปของมนุษย์ ในปัจจุบันปริมาณของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นกว่า 30% ตัี้งแต่มีการทำอุตสาหกรรมต่างๆ และในช่วง 2000 ปีที่ผ่านมามีสายพันธุ์ของนกกว่า 25% ที่สูญพันธ์ไป ทำให้สังคมมีการตระหนักถึงผลกระทบมากย่ิงขึั้นจึงก่อให้เกิดนเวิศบริการที่มีไม่จำกัด อย่างไรก็ตามภัยคุกคามส่วนใหญ่มักเกิดจากการกระทำของมนุษย์จึงจำเป้ฯจะต้องพิารณาถึงความยั่งยืนของระบบนิเวศในระยะยาวและเพ่ิมบทบาทในการเพิ่มที่อยู่อาเศยอขงมนุษย์เพื่อเป็นกฎในการกระทำการทางเสณาบกิจให้กับธรรมชาิตอย่งต่อเนื่อง เช่น ธนาคารความหลากหลาย างชีวภาพ เป็นต้น จะเป้นส่วนที่ช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้อีกสาขาวิชหนึค่งเพื่อช่วยในการจัดการสภาพแวดล้อม ความรับผิดชอบต่อสังคม โอกาศทางธุรกิจและรวมไปถึงอนาคตของเราเอง

วันอาทิตย์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2560

Marine and Coastal Resources

           วัฎจักรน้ำ หมายถึงมวลน้ำที่กระจายตามแหล่งต่างๆ มีการหมุนเวียนเปลี่ยนสถานะและตำแหน่งที่อยู่ระหว่งพื้นน้ำ บรรยากาศและพื้นดินตลอดเวลา หากอยู่ในสภาพเป็นน้ำทะเลจำนวนมากจะเกิดผลต่อการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเลมีผลต่อแผนดินและสิ่งมีชีวิตในพื้นที่ชายฝั่งทะเล ซึ่งปัจจบุันพบว่า การใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลจำนวนมากก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกเกิดภาวะโลกร้อน อุณหถูมิผิวโลกเพื่อสูงขึ้น น้ำแข็งบริเวณขั้นโลกฃะลาย ทำให้ระดับน้ำทะเลยกตัวสูงขึ้น ซึ่งมีคุณสมบัติทางกายภาพของน้ำเทะเลที่สำคัญ ได้แก่
           1. ความเค็มของน้ำทะเล เกิดจากเกลือแร่ธาตุต่างๆ ที่ละลายอยู่ในมวลน้ำ แร่ธาตุที่ม่ีอยู่น้น้ำทะลในปริมาณมาก ได้แก่ โซเดียมและคอลอรีน รองลงไป ได้แก แมกนีเซียน ซัลเผิร์ แคลเซียน โปแตสเซียน หน่วยวันความเค็มของน้ำทะเลคือ "ส่วนต่อพันส่วน" โดยปกติความเค็มของน้ำทะเลมีค่าเฉลี่ยประมาณ 35 ส่วนต่อพันส่วน และจะแปรเปลียไปตามฤดูกาล ปริมาณ น้ำฟ้า อัตราการระเหย ตำแหน่งที่ตั้ง และระยทางที่ทำจากปากแม่น้ำหรือชายฝั่ง
               2. อุณห๓มิ เป้นปัจจัยหลักที่กำหนดการกระจายชนิดและความอุดมสมบูรณ์ของสิ่งมีชีวิตในทะเล สัตว์ในทะเลส่วนใหย่เป็นสัตว์เลือดเย็น ไม่สามารถปรับอุณหภูมิในร่างกายตามสภาพแวดล้อมได้ อุณหภูมิในน้ำทะเลแม้จะเป้นช่วงที่แคบๆ ก็จะมีผลต่อส่ิงมีชีวิตในทะเล
                3. ควาเป็นกรดด่างน้ำทะเล ส่วนมากน้ำทะเลมีค่าความเป้นกรดด่งที่ pH8 หากน้ำทะเลิเวณใดมีการละลายคาร์บอนไดออกไซด์มากน้ำทะเลก็จะมีค่าเป้นกรดมาก และหากบริเวณใดที่มีอัตราการสังเคราะห์แสงในน้ำทะเลสูงหรือมีการใช้คาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำมาก ก็จะทำให้ค่าเป็นด่างมากขึ้น
               4. ความหาแน่นของมวลน้ำทะเล จะมีปฏิภาคตรงกับค่าคามเค็มของน้ำทะเล และมีปฏิภาคกลับกับอุณหภูมิของน้ำทะเลโดยมลน้ำที่มีความหนาแน่นน้อยจะลอยเหนือมวลน้ำที่มีความหนาแน่นมาก โดยช่วงน้ำทะเลที่มีการเปลี่ยนความหนาแน่นเรียกว่า พีคโนลีน...
               กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ได้ดำเนินการสำรวจและตรวจสอบสถานกาภาพสิ่งแวดล้อมในระบบนิวเศต่างๆ ในพื้นที่ชายฝั่งทะเล ประกอบด้วย คุณภาพน้ำทะเลทั่วไป ได้แก่ ความเค็ม อุณหภูมิ ความเป็นกรดด่าง ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ ตะกอนแขวนลอย และปรมาณสารอาหาร เป้ฯต้น และคุณภาพสิ่งแวดล้อมอื่นๆ เช่น ปริมาณแพลงก์ตอนพืช ประมาณแบคที่เรีย กลุ่มดคลิฟอร์ม และสารปนเปื้อนประเภทน้ำมัน(สารปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอน)
                ข้อมูล สานะการณ์คุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่ชายฝั่งทะเลในรอบ 5 ปี ดังกล่าวน้จะเป้ฯประโยชน์ในการติดตามการเปล่ยยแปลงและการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง โดยสรุปแยกต่ามพื้นที่ดังนี้ คุณภาพน้ำทะเลอ่าวไทยฝั่งตะวันออก, คุณภาพน้ำะเลอ่าวไทยตอนบน, คุณภาพน้ำทะเลอ่าวไทยตอนกลาง, คุณภาพน้ำทะเลอ่าวไทยตอนล่าง, คุณภาพน้ำทะเลทะเลอันดามัน
              อ่าวไทย มีลักษณะเป็นเอสทูรีแบบแม่น้ำในไุบเขาที่จมน้ำ ก้นทะเลเคยเป้นที่ราบที่เยโผล่พ้นน้ำมาก่อน บนก้นทะเลจะมีร่องน้ำโบราณที่ต่อกับแม่น้ำในปัจจุบัน เช่น แม่น้ำแม่กลอง แม่น้ำบางปะกง แม่น้ำจันทบุรี ร่องน้ำชุมพรร่องน้ำหลังสวน ร่องน้ำสงขลาที่ก้นอ่าวมีแม่น้ำสคัญ 4 สาย ไหล่ลงสู่อ่าว คือ แม่กลอง ท่าจีนเจ้าพระยา และบางปะกง ตามลำดับ นอกจากนี้ฝั่งซ้ายและขวาของอ่าวไทยยังมแม่น้ำสายสั้นๆ ที่ไหลลงสู่อ่าวอีกหลายสาย อ่าวไทยเป็นแอ่งรอบรับตะกอนจากแม่น้ำที่ไหลลงสุ่อ่าว จากากรสำรวจพื้นท้องทะเลของกรมอุทก-ศาสตร์พบว่าท้องทะเลกลางอ่าวเป้นโคลนปนทราย หรือโคลนส่วนท้องทะเลอายไทยฝั่งตะวันตกจะเป้นโคลนปน-ทราย โคลนปนทรายขี้เป็ด ทรายปนโคลนและทราย เป็นแห่งๆ ไป รายละเอียดข้อมูลสมุทรศาสตร์ชายฝั่งอ่าวไทย มีดังนี้
           
- ความลึกของพื้นผิวทะเล มีท้องทะเลคล้ายแอ่งกะทะ ส่วนที่ลึกที่สุดของอ่าวไทยมีความลึกประมาณ 80 เมตร บริเวณร่องน้ำลึกกล่วอ่าว มีความลึกมากกว่า 50 เมตร และยาวเข้าไปจนถึงแนวระหว่างเกาะช้าง จ. ตราด กับอ.บางสะพานใหญ่ จ.ประจวบคีรีขันธ์ ส่วนก้นอ่าว คือ อ่าวไทยตอนบนหรืออ่าวไทยรูปตัว "ก" มีรูปร่างสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดประมาณ 100x100 ตารางกิโลเมตร อ่ายไทยตอนบนมีความลลึกสูงเฉลี่ยในอ่ายไทยตอนบนประมษณ 15 เมตร โดยอ่ายไทยถูกกั้นออกจาทะเลจีนใต้ด้วยสันเขาใต้นำ้ 2 แนวทางฝั่งซ้ายและขวาของอ่ายสันเขาได้น้ำฝั่งซ้ายมีความลึกประมาณ 50 ม. เป็นแนวยาวจากโกตา-บารู(รองน้ำโกลก์) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 160 กิโลเมตร ทางฝังขวามีความลึกประมาณ 25 เมตร เป้นแนวยาวจาแหลมคาเมาไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 100 กิโลเมตร และในบริเวณร่องน้ำลึกมีชั้นแนวตั้งของเปลือกโลก ณ ที่ความลบึกประมาณ 67 ม. กั้นอยู่ซึ่งจะเป็นเสมือนตัวควบคุมการไหลของน้ำระดับล่างในอ่าวไทย
              2. กระแสน้ำ กระเสน้ำเนืองจากลมเหนือผิวน้ำ ลมหรือแรงเฉือย เนื่องจากลมทำให้เกิดชั้นมวลน้ำผิวหน้าที่เคล่อนที่เนื่องจากลม เรียกชั้นน้ำว่า wkman tranport ตามทฤษฎีแล้วลมจะทำให้น้ำผิวหน้าเคลื่อนที่เบี่ยงไป 45 องศาทางขวาของทิศทางลมในซีกโลกเหนือ ใต้ผิวน้ำลงมาทิศทางกระแสน้ำจะเบี่ยงมากกว่า 45 องศา ขึ้นเรื่อยๆ จนถึงเบื้องล่าวของชั้นน้ำ ทิศทางของกระแสน้ำจะตรงกันข้ามกับกระแสน้ำผิวหน้า การเคลื่อนที่ของมวลน้ำสุทธิอยู่ในทิศ 90 องศา ทางขวามือของทิศทางลม ส่วนกระแสน้ำเนื่องจากน้ำท่า ทำให้เกิดการไหลเวียนของน้ำแบบ Gravitational circulation กล่าวคือ น้ำท่าจะไหลออกสู่ทะเลทางชั้นบนขณะที่เหนี่ยวนำให้น้ำทะเลไหลเข้าแม่น้ำทางด้านล่าง น้ำท่าจะมีความหนาแน่นต่ำหว่าน้ำทะเลจึงลอยตัวอยู่เหนือน้ำทะเลจนกว่าจะมีกระแสน้ำ คลื่อน ช่วยเร่งการผสมผสานน้ำท่ากับน้ำทะเลด้านล่างเกิดเป็นน้ำชายฝั่งซึ่งมีความเค็มต่ำกว่าน้ำทะเล น้ำท่าจะมผลต่อความเค็มของน้ำในอ่ายค่อนข้างมาก และมีผลต่อการไหลเวียนของน้ำในอ่าวค่อนข้างน้อย เนื่องจากปริมาณน้ำท่าที่ไหลลงอ่าวไทยต่อปีน้อยกว่าปริมาณน้ำในอ่าวค่อนข้างมาก
                 กระแสน้ำเนื่องจากความแตกต่างของความหนาแน่นน้ำ ความหนาแน่นน้ำที่แตกต่างกันทำให้เกิดการไหลเวียนของน้ำทั้งในแนวราบและแนวดิ่ง ผลการศึกษา พบว่า ในกระแสดน้ำในมหาสมุทรในซีกโลกเหนือจะไหลตั้งฉากกับเส้นความเอียง ของความหนาแน่นของมาลน้ำผิวหน้าในลักษรที่มวลน้ำที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าจะอยู่ทางขวามือของผุ้สังเกต เมื่อผู้สังเกตหันหน้าไปทางแนวทางการเคลื่อนที่ของกระแสน้ำ
                - การขั้นลงของน้ำทะเล การขึ้นลงของน้ำทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลอ่าวไทย เป็นแบบน้ำเดี่ยว คือเกิดน้ำขึ้น 1 ครั้งและ น้ำลง 1 ครั้งต่อวัน เนื่องจากอ่าวไทยเป็นอ่าวตื้น มีก้นอ่าวขรุขระไม่ราบเรียบการเดินทางของคลื่นน้ำขึ้น-ลง จึงไม่สม่ำเสมอกัน เมื่อคลื่นน้ำขึ้นเดินทางเข้ามาในอ่าวแล้ว ก็จะสะท้อนกลับทำให้เกิดแรงหักลางกันและเป้นผลให้มีน้ำขึ้นน้ำลงเหลือเพียงวันละหนึ่งครั้ง และการขึ้นลงของน้ำทะเลบรเิวณชายฝ่งทะเลอ่ายไทยยังมีลักาณะป็นแบบน้ำผสม คือมีการขึ้น-ลงของน้ำทะเลสองครั้งต่อวัน แต่ระดับน้ำทะเลที่มีขึ้นลงสองครั้งมีขนาดไม่เท่ากันอีกด้วย ระดับการขึ้นลงของน้ำ ณ สถานีตรวจวัดของกรมอุทกศาสตร์กองทัพเรือทีเ่กาะปราบ จ.สุรษษฎร์ธานี มีระดับน้ำขึ้นสูงสุดและน้ำลงต่ำสุด เท่ากับ 2.93 และ 0.32 เมตร ตามลำดับ ช่วงความแตกต่างของน้ำทะเล เท่ากับ 2.61ม.
                 - คลื่นและลมมรสุม มีคลื่อนเกิดตามช่วงมรสุม โดยมรสุมตะวันอกเฉียงเหนือจะทำให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่กว่าปกติในบริเวณด่าวไทยด้านตะวันตก สวนลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะทำให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่กวาปกติในบริเวณอ่ายไทยด้านตะวันออก สำหรับอ่าวไทยปกติคลื่นในอ่ายไทยจะมีขนาดเล็กความสุงประมาณ 1-2 ม. ส่วนคลื่นที่มีผลกระทบต่อชายฝั่งจะต้องพิจารณาถึงคาบของคลืน ด้วย เช่น คลื่นขนาดเล็กที่มีคาบของคลื่นยาวจะก่อให้เกดผลกระทบมากว่าคลื่นขนาดใหญ่แต่คาบคลื่นสั้น...
               ลักษณะชายฝั่งทะเลของพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน มัีลักาณะเป้ฯชายฝั่งทะเลยุบตัวลงหรือจมตัว ซึ่งเกิดการเปลี่ยนแปลงของลักษณะสัณฐานชายฝั่งครั้งใหญ่ เมื่อประมาณ 65 ล้านปีมาแล้ว ในยุคเทอร์เชียร์รี่ การจมตัวของชายฝั่งทำหใ้ชายใั่งทะเลของพื้นที่มีความลาดชันและเกิดเป็นแวไม่ราบเรียบ เว้าเเหว่ง มีอ่าวและเกาะแก่งมากมาย ที่เห้นได้ชัดเจน คือ บริเวณปากมแ่น้ำกระบุรี จ.ระนอง เกาะสำคัญ ได้แก่ เกาะภูมเก็ต เกาะตะรุเตา เกาะลันตา เกาะลิบง เกาะพระทองแ ละเกาะยาวใหญ่ บริเวณชายฝังทะลบางแ่ห่ง น้ำทะเลท่วมถึง มีป่าชายเลนขึ้นอยุ ตั้งแต่อ่าวพังงาลงไผภึงจังฟวักตรัง ปลพำบร่แงรแยหารหักดซาพปนวชายฝั่งตามแ่นวชายฝั่งตามอ่าวต่างๆ บ้างเช่นบริเวณอ่ายฉลอง อ่ายภูเก็ต อ่าวราไวย์ และอ่าวมะพร้าว เป็นต้น รอยละเอียด ข้อมุลสมุทรศาสตร์ชายฝั่งทะเลอันดามัน มีดังนี้
               
 - ความลึกของพื้นผิวทะเล บริเวณชายฝั่งทะเลของพื้นีกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน แบ่งได้ 2 พื้นที่ตาเส้นชั้นความลึกของน้ำทะเล ซึงก่อให้เกิดความหลากหลายของแนวปะการังทั้งชนิดและปริมาร คือ ผิวพื้นทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลจังหวัดระนอง พังงาฝั่งตะวันตกและภูเก็ตฝั่งตะวันตก ทรวดทรงของพื้นทะเลมีความลาดชันสุง มีความลคกน้ำเฉลี่ยแระมาณ 1,000 เมตรโดยเฉพาะบริเวณแอ่งอันดามันซึ่งเป็นบริเวณที่ทะเลไทยมีความลึกมากที่สุด ประมาร 3,000 ม. ลักษระพื้นทะเลเป็นทรายและทรายปนโคลน ในขณะที่พื้นผิวทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลบริเวณจังหวัดพังงาฝั่งใต้ ภูเก็ตฝั่งตะวันออก กระบี่ และตัง มีความลาดเทน้อย ส่วนของไหล่ทวีมีความลึกไม่เกิด 300 ม.
                 - กระแสน้ำ ในทะเลอันดามันบริเวณพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม ก่อให้เกิดการไหลเวียนของน้ำในทิศทางต่างๆ ซึงอาจแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ กระแสน้ำที่มีทิศทางไม่แน่นอน บริเวณชายฝั่งทะเลด้านใต้จังหวัดระนอง แลภูเก็ตฝังตะวันตก และกระแสน้ำที่มีทิศทางแน่นอน พบบริเวณชายฝั่งทะเลด้านเนหือของจังหวัดระนอง ด้านใต้และด้านตะวันอกของจังหวัดภูเก็ต สรุปได้ดังนี้
                กระเสน้ำบริเวณชายฝั่งทะเลด้านใต้จังหวัดระนอง และภูก็ตฝั่งตะวันตก มัลักาณะทิศทางไหลไม่นแน่นอน รูปแบบจะเปลี่ยนแปลงอยุ่ตลอดเวลา อาจเนื่องมาากลักาณะชายฝั่ง สภาพภูมิประเทศ หือเกิดจากการผสมผสานของลักษณะการเกิดของกระแสน้ำแต่ละประเภท ที่ไม่มีปรเภทหนึ่งประเภทใดแสดงลักษณะเด่นมาเป็นอิทธิพลต่อกัน โดยปกติและ้วถ้าเป็นทะเลปิดกระแสน้ำมักจะมีรูปแบบเป็น turbulence มากกว่าทะเลปิด
              กระแสดน้ำบรเิวณชายฝั่งทะเลด้านเหนือของจังหวัดระนอง ด้านใต้และด้านตะวันออกของจังหวัดภูเก็ต มีลักษณะแบบtidal current เป็นไปตามรูปแบบอิทธิพลน้ำขึ้นน้ำลงโดยช่วงน้ำขึ้นกระแสน้ำจะไหลจากด้านใต้ของเกาะแมทธิวไปยังด้านตะวันออกสุ่ปากน้ำระนอง และไหลจากด้านใต้ของเกาะภูเก็ตไปยังด้านตะวันออกของเกาะบริเวณอ่าวพังงาและไหลในทิศทางตรงกันข้ามในช่วงน้ำลง โดยกระแสน้ำลักษณะต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อสภาพสิ่งแวดล้อมหลายประการ เช่น ความขุ่นของน้ำ ที่อยู่อาศยของสัตว์น้ำ เป็นต้น และยังเกิดอิทธิพลต่างๆ ใแต่ละฝั่งของพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามนไม่เหมือนกัน นอกจากนั้น รูปแบบของกระแสน้ำบริเวณจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดระนองดังกว่าง สงผลให้บริเวณใต้และด้านตะวันออกของเกาะภูเก็ตและบริเวณปากแม่น้ำระนอง ซึ่งกระแสน้ำมีทิศทางแน่นอนเป้นบางช่วง ทำให้การตกตะกอนและากรพัดพาตะกอนค่อนข้างดีกว่า เอื้ออำนวยต่ำการเกิดขึ้นและดำรงอยุ่ของป่าชายเลนในด้านนี้ดีกว่าด้านตะวันตก ซึ่งมีกระแสน้ำที่ไม่แน่นอน จะทำให้การตกตะกอนล่าชาและช่วยในการพัดพาตะกอนน้อย
             
  การขึ้นลงของน้ำทะเล บริเวณชายฝั่งทะเลของพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน มัลักาณะเป็นแบบน้ำคู่หรือน้ำขึ้นลงวันละ 2 ครั้ง โดยมีระดับการขึ้นลงของน้ำ ณ สถานีตรวจวัดของกรมอุทกศาสตร์กองทัพเรือที่เกาะตะเภาน้อย จ.ภูเก็ต มีระดับน้ำขึ้นสุงสุดและน้ำลงต่ำสุด เท่ากับ 3.60 และ 0.38 ม. ตามลำดับ ช่วงความแตกต่างของน้ำทะลเท่ากับ 3.22 ม.
               คลื่นและลมมรสุม บรเิวณชายฝั่งทะเลของพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามันด้านทิศตาะวันตก จะพบคลื่นผิวน้ำ ในระยะเวลานาน คือ ในรอบ 1 ปี จะมีระยะเวลาถึง 6 เดือน ที่มีลมและคลื่นเคลื่นเข้าสูชายฝั่งทะเลด้านทิศตะวันตกของพื้นที่ ดดยมีความเร็วปานกลางเฉลี่ยประมาณ 7.20 กิโลเมตรต่อชั่วโมงและความเร็วสูงสุดเฉพลี่ยประมาณ 69 กิโลเมตรต่อชั่วโม และก่อให้เกิดคลื่นสุง 0.43 และ 4.15 ม. ตามลำดับ ซึ่งมักจะเป็นคลื่นที่มีอทิธิลต่อการกัเซาะพังทลายของชายฝั่งได้ ส่วนบระิวณชายฝั่งด้านตะวันออกของ จ.ภูเก็ต จะพบว่า คลื่นมีอทิธพลต่อบริเวณนี้น้อยมาก ซึงทำให้บรเิวณส่วนใหญ่ โดยเฉพาะบริเวณอ่าวภูเก็ตจะมีอัตรการตกตะกอนค่อนข้างสุง อันจะเห้นได้จากตะกอนเลนบริเวณสะพานหินที่ขยายออกไปจากชายฝั่งจัทำให้พื้นท้องทะเลบรเวณนี้มีลักษณธตื้นเขินmarinegiscenter.dmcr.go.th/km/oceanography_doc5/#.Wb5xpbJJbIU
              อาเซียนกับความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรม ด้านส่ิงแวดล้อม ได้เล็งเห็นความสำคัญของทรัพยากรชายฝั่งและทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน และมีเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ คือ สร้างหลักประกันเรื่องสิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่งว่าจะได้รับการพัฒนาอย่างยั่งยืน ระบบนเวศตัวอย่าง พืชและพื้นที่ดั้งเดิมได้รับการคุ้มครอง การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้รับการจัดการอย่างยั่งยืน และการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่งได้รับการปลูกฝัง โดยระบุไว้ในหมวด D ว่าด้วยการ "ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม" ในข้อ D7 "ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรชายฝั่งและทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน" โดยมีมาตการ ดังนี้
              i. สร้างหลักรปะกันเรื่องการประสานงานระหว่างหนวยงานระหว่างประเทศและรายสาขาทั้งในระดับภูมิภาคและระดับประเทศเพื่อบรรลุการพัฒนาอาเซียนอย่างยั่งยืนในด้านสิ่งแวดล้อมทางชายฝั่งและทางทะเล
            ii. เสริมสร้างศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานที่มีคุณภาพของน้ำทะเลแห่งชาติภายในปี 2558 โดยมฃยึดถือเกภฑ์น้ำทะเลที่มีคุณภาพของอาเซียน
            iii. จัดตั้งเครือข่ายตัวแทนของพื้นที่คุ้มครองเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมที่วิกฤต ภายในปี 2558 โดยการดำเนินการตามข้อกำหนดของอาเวียนว่าด้วยพื้นที่ที่เป็นมรดกทางทะเลและข้อกำหนดของอาเวียนว่าด้วยพื้นที่ที่ได้รับการคุ้มครองแ่ห่งชาติ
             iv. ส่งเสริมการอนุรักษณ์และการจัดการอย่างยั่งยืนสำหรับระบบนิเวศที่สำคัญในเขตชายฝั่งและสภานที่อาศัยของสัตว์ และพืชทะเล เช่น ความพยายามร่วมกันที่จะรักาและปกป้องอุทยานแห่งชาติทางทะเลในเขตพื้นที่รอยต่อ เช่น ข้อริเร่ิมสามเหลี่ยมปะการังว่าด้วยแนวปะการัง การประมงและความมั่นคงด้านอาหาร
           v. เสริมสร้างขีดความสามารถและสักยภาพรวมทั้งผลประโยชน์ทางเศราฐกิจเพื่อชุมชนประมงและชุมชนชายฝั่งอื่นๆ ในการสนับสนุนการมีส่วร่วมอย่างแข็งขันในการส่งเสริมความยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อม
          vi. ส่งเสริมการใช้ส่ิงแวดล้อมชายฝั่งและทางทะเลอย่างยั่งยืดดยการรณรงค์ปลูกจิตสำนึกโดยเน้นความสำคัญระดับโลกของสิ่งแวดล้อมชายฝั่งและทางทะเลในการรับมือกับประเด็นความมั่นคงทางอาหาร การทำนุบำรุงการให้บริการของระบบนิเวศ รวมทั้งปกป้องสิ่งแวดล้อมทางทะเล
          vii. ส่งเสริมการประสรงสนระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนในการรับมือกับปัญหามลภาวะข้ามสืบเนื่องจากอุบัติเหตุน้ำมันรั่วในทะลและ
          viii. ส่งเสริมความร่วมมือในการรับมือกับมลภาวะของสิ่งแวดล้อมชายฝังและทะเลที่มีแหล่งที่มาจากพื้นดินmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d7/
               
                 

วันเสาร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2560

Environmental policy : ASCC

           ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มีเป้าหมายที่จะทำใ้หประชาชนเกิดความตรกหนักรู้ถึงความเป้นประชาคมอาเซียนให้มีความคุ้นเคยต่อกันและรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อบรรลุเป้าหมายที่ต้องการให้ประชาชนในรัฐภาคีอาเซียนมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน  โดยแสดวงหารอัตลักษณ์ร่วมมกัน เพื่อที่จะสร้างสังคแห่งการแบ่งปันและใส่ใจระหว่างกัน รวมทั้งทำให้ความเป้นอยู่ของประชาชนคลอดจนสวัสดการต่างๆ ดีขึ้นด้วย
            ความร่วมมืออาเซียนถูกดำเนินการโดยรัฐบาลในยุคสมัยต่างๆ และค่อนข้างขาดการมีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางจากภาคประชาช เนื่อจากอาเซียนยังมีกลไกที่ไม่ใคร่จะชัดเจนนัก ในการเปิดโอกาศให้ภาคประชาสังคมเข้าไปมีส่วนร่วม ดังนั้น นโยบายต่างๆ แม้แต่กฎบัตรอาเวียนที่กำหนดขึ้นมาก็มาจากการกำหนดจากรัฐบาลของกลุ่มประเทศอาเซียนทั้งสิ้น
            ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เน้นให้ความสำคัญในประเด็นของทรัพยากรมนุษย์ วัฒนธรรม และทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ตลอดจนทำให้เกิดความกลมเกลียวในหมู่ประชาชนอาเซียนwww.siamintelligence.com/asean-socio-cultural-community-ascc-blueprint/
              พิมพ์เขียน (Blue Print) ของประชาคมสังคมและวัฒนาธรรมอาเซียน มี ลักษณะสำคัญ 6 ประการ คือ
              - เพื่อให้เกิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
              - เพื่อให้มีการคุ้มครองและให้สวัสดิการทางสังคม
              - เพื่อให้เกิดการรักษาสิทธิและความยุติธรรมทางสังคม
              - เพื่อให้เกิดความยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อม
              - เพื่อให้สร้างอัตลักษณ์แห่งอาเซียน และ
              - เพื่อลดช่องว่างทางพัฒนา
             โดยในลักษณะสำคัญด้านส่ิงแวดล้อม หรือในหมวด D ข้อย่อย
              D6 การทำการประสานกันเรื่องนโยบายด้านส่ิงแวดล้อมและฐานข้อมูล มีป้าหมายเชิงกลยุทธ : ส่งเสริมความพยายามที่เหมาะสมที่จะประสานนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมและฐานข้อมูลที่ละขั้นโดยคำนึงถึงสภาวะแวดล้อมระดับชาติของรัฐสมาชิก เืพ่อสนับสนุนการบูรณาการด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและเป้าประสงค์ด้านเศรษฐกิจของภูมิภาค
         

  มาตรการ
              i. มุ่งไปสู่การดำเนินการตามเกณฑ์สิบสามข้อ อันดับแรก ด้านสิ่งแวดล้อม และดำเนินความพยายามที่จะสร้างหลักประกันเรื่องการประสานในระดับภูมิภาคในเรื่องของการวัด การควบคุมและการรายงาน ภายในปี 2558
              ii. มุ่งมั่นในเรื่องการประสานเรื่องมาตรฐานและ กระบวนการประเมินให้สอดคล้องสำหรับการดำเนินการและโครงการด้านสิ่งแวดล้อม ภายในปี 2558
              iii. สานต่อการจัดทำรายงานสภาวะด้านสิ่งแวดล้อมตรงตามกำหนดเวลาเพ่ื่อประกอบการจัดทำนโยบายและการจัดการเรื่องผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
              iv. ส่งเสริมแนวปฏิบัติทางด้านส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืน และการจัดการเรื่องสีเขียวในรัฐสมาชิกและพัฒนายุทธศาสตร์ระดับภูมมิภาคสำหรับอาเซียน ภายในปี 2558 และ
              v. ส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคในเรื่องการประเมินยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการขนาดใหญ่และกิจกรรมอื่นๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมในภูมิภาคmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d6/
              การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างเป็นทางการในเดือนธันวาคม 2558 สร้างความตื่นตัวให้กับภาครัฐและภาคเอกชนในการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นทางเศราบกิจ สังคม การเมืองและความมั่นคง นักวิชาการหลายท่านได้คาดการณ์ถึงการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในประเทศสมาชิกอาเซียน 2 ลักษณะ ได้แก่ 1. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างพื้นฐานด้านกายภาพ เช่น การพัฒนาระบบขนส่ง โลจิสติกส์และพลังงาน 2. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างด้านกฎระเบียบและกฎหมาย ซึ่งต้องมีการแก้ไขให้เป็นไปตามพันธกรณีของประเทศสมาชิกที่มีอยู่ภายใต้กรอบอาเวียนและต้องกำหนดข้อยอมรบรวมกันระหว่างประเทศสมาชิก เพื่อให้เป้าหมายของการเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกันของอาเซียนประสบความสำเร็จมากที่สุด
             การเปลี่ยนแปลงที่ 2 ด้าน ส่งผลดีต่อการขยายตัวของการต้า การบริการ และการลงทุนของอาเซียน แต่อาจนำไปสู่การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการผลิตและการบิโภคมากขึ้นซึ่งจะก่อใหเ้กิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติต่ออาเซียนในระยะยาว แม้ว่าประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน หนึ่งในเสาหลักของประชาคมอาเวียนได้กำหนดให้ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมเป็นหนึ่งในคุณลักษณะสำคัญของการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และรายงานการประเมินผลครึ่งแผนของแผนการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน หนึ่งในเสาหลักของประชาคมอาเซียนได้กำหนดให้ความยั่งยืนด้านส่ิงแวดล้อม เป็นหนึ่งในลักษณะสำคัญของการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และรายงานการประเมินผลครั้งแผนของแผนการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอวซียน ชี้ไให้เห็นว่าประเทศสมาชิกอาเซียนมีระดับความก้าวหน้าตามแผนของอาเซียนในการสร้างความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมเป็นที่น่าอใจ โดย ดัชนีความก้าวหน้าด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิกอาเว๊ยนมีการขยับขึ้อย่างต่อเนื่องทุกปี
              แต่หากพิจารณาตัวชัีวัดตามแผนดังกล่าวพบว่า ยุทธศาสตร์ในการบรรลุความยังยืนด้านสิ่งแวดล้อมเน้น "ส่งเสริม"การรักษาสิ่งแวดล้อม และ "ตอบสนอง" ต่อปัญหาส่ิงแวดล้อมมากว่าการกำหนดตัวชี้วัดความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมที่เป็นรูปธรรม อาทิ การกำหนดคุณภาพแหล่งน้ำสาธารณะ วิธีการจัดการขยะและของเสียอันตราย และสัดส่งนการปล่อยกา๊ซคาณืบอนฯ ซึ่งเป้นมาตการในการป้องกันปัญหาส่ิงแวลลอ้มและสร้าวความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง
             นอกจากนี้ เมื่อสำรวจสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมใน
ประเทศสมาชิกอาเซียนพบว่า พื้นที่ป่าไม้ของอาเวียนลดลงจากร้อยละ 55 ในปี 2543 เหลือเพียงร้อยละ 42.7 ในปี 2550 ด้านทรัพยากรดินเกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของดินจากการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างไม่เหมาะสมและการปนเปื้อนของสรพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพื่ชและปุ๋ยเคม และมีการบุกรุกพื้นที่ป่าซึ่งนำมาสู่ปัญหารการชะล้างพังทลายของหน้าดินและภัยพิบัติทางธรรมชาิตในที่สุ ทั้งนี อาเซียนเป้ฯภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสุงถึงร้อยละ 20 ของโลก แต่พันธุ์พืขชและสิ่งมีชีวิตในประทศสมาชิกอาเซียน ได้แก มาเลเซีย อินโดนีเซียน และฟิลิปปินส์ กลับถูกคุกคามเป็นจำนวนมากที่สุดตลาดจนปัญหาหมอกควันซึ่งเป้นปัญหาข้ามชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
           
แม้ว่าอาเซียนจะบรรลุ "ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลุพิษจากหมอกควัน"ตั้งแต่ปี 2545 แต่อินโดนีเซียซึีงเป็นแปล่งกำเนิดหมอกควันข้ามพรมแดนที่สำคัญกลัยให้สัตยาัน ความตกลงดังกล่าวเมือปี 255ึ  ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความลังเลของอินโดนีเซียนในการจัดการปัญหาหมอกควันอย่างจริงจัง เมื่อพิจารณากฎระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายภายในประเทศสมชิกที่เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพบว่า ประเทศสมาชิกอาเซียนมีระดับความครอบคลุมและความเข้มงดดของกฎหมายด้านทรัพยากรธรรมชาิตและส่ิงแวดล้อมที่แตกต่างกัน
              โดยบรูไนไม่ได้กำหนดกรอบกำหมายด้านส่ิงแวดล้อมไว้โดยตรง แต่ข้อกำหนดด้านแวดล้อมจะปรากฎในกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางเศราฐกิจ
               กัมพูชากำหนดกรอบแนวคิดการจัดการสิ่งแวดล้อมไว้ในรัฐธรรมนูญและกำหนดหน้าที่ของรัฐบาลในการปกป้องและรักษาสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งมีการประกาศใช้กฎหมายด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ อาทิ กฎหมายที่ดินและกฎหมายคุ้มครองพื้นที่ธรรมชาติ
             สปป.ลาว ประกาศใช้กฎหมายและข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อม และกำหนดการประเมินผลกระทืบด้านส่ิงแวดล้อมก่อนการดำเนินกิจกรรมทางเศราบกิจบางประเภท เมียนมามีกฎมหายควบคุมโรงงาน กฎหมายด้านสุขอนามัยของสาธารณชน กฎหมายป่าไม้ การอนุรักษ์สัตว์ป่า กฎหมายเหมืองแร่ และกอรบนโยบายด้านส่ิงแวดล้อม
            เมียนมามีกฎหมายควบคุมโรงงาน กฎหมายด้านสุขอนามัยของสาธารณชน กฎหมายป่าไม้ การอนุรักษ์สัตว์ป่า กฎหมายเหมืองแร่ และกอรบนโยบายด้านส่ิงแวดล้อม
            สิงคโปร์ มีรัฐบัญญัติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมสูงถึง 30 ฉบับ ซึ่งครอบคลุมการควบคุมมลภาวะทางน้ำ อากาศ การเคลื่อยย้ายขยะมีพิษ การจราจร การวางแผนและการจัดการการใช้พื้นที่ การควบคุทการก่อสร้าง การอนุรักษณ์ทรัพยากรธรรมชาติและครอบคลุมถึงการสาธารณสุข
             ในส่วนประเทศไทยมีการกำหนดนโยบายในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติหลายฉบับ รวมทั้งมีการกำหนดมาตรฐานคุณภาำแหล่งน้ำเืพ่อการอุปโภคบริโภคและน้ำทิ้งจากอาคารและโรงงานอุตสาหกรรม มาตรฐานคุณภาพอากาศ ระดับเสี่ยง และสารพิษพร้อมทั้งกำหนดการควบคุมมลภาวะด้านต่างๆ
              กลไกของกฎหมายภายในประเทศสมชิกอาเซียนที่กล่าวมาข้าต้นแสดงห้เห็นว่าประเทศสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศให้ความสำคัญกับการจัดการทรัพากรธรรมชาิตและสิ่งแวดล้อมที่เข้มงวดน้อยกว่า เช่น สปป.ลาว และเมียนมา ย่อมส่งผลให้เกิดความเสื่อมโทรฒของทรัพยากรธรรมชาติและปริมาณมลพิษ โดยรวมของภูมิภาคเพิ่มสูงขึ้น อาเซียนจึงควรเร่งพัฒนาความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่จริงจังและมผลเป็นรูปธรรมในเชิงปฏิบติมากกว่ายุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมเดิมที่เน้นการสร้างความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีผลผูกและการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ปลายเหตุwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=3645&filename=index
           
             

วันพฤหัสบดีที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2560

Twin cities

            เมืองพี่น้องและเมืองแผด เป็นคำที่ใช้เียกเมืองที่การเจริญสัมพันธไมตรีอันดีต่อกัน (ส่วนใหญ่จะเป็นเมืองที่อยู่กันคนละประเทศ) โดยมีความร่วมมือกันระหว่างเมืองหรือระหว่างประเทศ เพื่อช่วยเหลือการพัฒนาเมืองในด้านต่างๆ และสนับสนุนความเข้าใจระหว่างวัฒนธรรมมีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ถ่ายทอดซึ่งกันและกัน นำสิ่งดีๆ ที่อีกฝ่ายหนึ่งม มาพัฒนาต่อยอดเมืองของตนเอง หรือในบางครั้งเมืองพี่เมืองน้อง มักจะถุกตีความไปตามลัษณะเมืองที่มีความคล้ายคลึงกันทางด้านศิลปงันธรรมประเพณี
ชีวิตความเป้นอยู่ ตลอดจนสภาพสิ่งแวดล้อมของเมืองที่คล้ายคลึงกนเราก็เรียกว่าเมืองพี่เมืองน้อง ได้อ อยางเช่น เมืองปาย กับ วังเวียง ที่นี้บรรยากาศของเมืองพักกลางทางท่ามกลางขุนเขา ลำน้ำ และสายหมอกเหมือนกัน หรือ จังหวัดยโสธร กับเมืองโยชิดะ ประเทศญี่ปุ่น ที่ได้รับการเรียกว่าเป็นเมืองคู่แฝดเพราะมีประเพณีการเล่นบั้งไฟคล้ายคลึงกัน
           ในเมืองไทยมีหลายจังหวัดที่มีการเจริญสัมพันธ์อันดีเป็นเมืองพ่เมืองน้องกันเมืองต่างๆ ทั่วดลก หรือเป้นเมืองพี่เมืองน้องกันเองภายใประเทส อย่างกรุงเทพฯที่สถาปนาเมืองพี่เมืองน้องกับจังหวัดแพร่ ภายหลังจากที่กรุงเทพฯ ได้ทำการบูรณปฏิสังขรณ์เสาชิงช้า โดยได้รับความร่วมมือจากจังหวัดแพร่ในการอนุญาตให้พลีต้นสักทองจำนวน 6 ต้น มาเป็นเสาชิง่ช้าต้นใหม่
            หรือการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างจังหวัดสุพรรณบุรีกับเมือง Courtenay ประเทศแคนาดา ความเป้นเมืองพี่เมืองน้องระหว่าง ภูเก็ต กับเมืองนีซ ฝรั่งเศส เป็นต้นth.wikipedia.org/wiki/เมืองพี่น้องและเมืองแฝด
             เมืองคูแฝดเป็นหนึ่งในการส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเมืองต่างๆ ของอาเวีนและเขตเมือง ซึ่งเป็นการร่วมมือกันของอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม จัดอยู่ในประชาคมอาเซียนด้านสังคมและวัฒนธรรม หมวด D ในข้อ 5 ว่าด้วยการ "ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเมืองต่างๆ ของอาเซียนและเขตเมือง" โดยเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อรับประกันว่าเขตเมืองและชุมชนในอาเซียน มสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน รองรับความ้องการของประชาชนในด้านสังคมและเศรษบกิจได้ โดยมีมาตรการ ดังนี้
             i. ขยายงานที่มีอยู่ภายใต้ข้อริเริ่มอาเซียนว่าด้วยเมืองที่มีลักษณะที่มีสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
             ii. เพิ่มพูนความพยายามของแต่ละประเทศ และร่วมกันในการปรับปรุงคุณภาพของอากาศและน้ำภายในอาเซียนภายใต้ข้อริเริ่มระดับชาติหรือระดับภูมิภาคเพืีอลดมลภาวะทางอุตสาหกรรมและากรคมนาคม
           
 iii. แบ่งปันประสบการณ์ความเชี่ยวชาญและเทคโนโลยีด้านต่างๆ เช่น การวางผังเมือง รวมทั้ง การจัดการน้ำเขเมืองสีเขีย และการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของเขตเมือง การสาธราณสุข และการจัดการของเสีย 3Rs (ลด, นำมาใช่ใหม่และการทำให้นำมาใช้ประโยชน์ได้อีก) การควบคุมมลภาวะในอากาศ เสียง น้ำ และบนดิน อาทิ เช่น จัดให้มีโครงการเมืองคู่แฝด
             iv. ดำเนินกาเรพื่อมุ่งไปสู่ข้อริเริ่มต่างๆ เช่น "สังคมที่มีก๊าซคาร์บอนต่ำ", "เมืองกะทัดรัด", "เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม" และการคมนาคมที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืน
             v. จัดทำมาตรการที่เปรียบเทยบได้ในระดับสากล สำหรับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนสำหรับเมืองใหญ่ในอาเซียนภายในปี 2558
             vi. แนะนำและดำเนินการให้รางวัลเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ESC) ภายในปี 2551 เพื่อเป็นแรงจูงใจในการส่งเสริมแนวปฏิบัติในเรื่อง ESCmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d5/
           เมื่องคู่แฝดไทยกับกัมพูชา
           จากแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ACMECS ตามปฏิญญาพุกามที่ผุ้นำทั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนามและไทย ได้ลงนามร่วมกัน เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2546 ณ เมืองพุกาม เพื่อแสดงเจตนารมณ์ทางกาเมือง โดยเห็นชอบให้เกิดโครงการร่วมกันของทุกประเทศ และโครงการระดับทวิภาคี รวมทั้งโครงการเมืองคู่แฝด ก็เป็นหนึ่งในโครงกรที่กำหนดขึ้นเพื่อให้ยุทธศาสตร์ความรวมมือทางเสณาฐกิจบรรลุตามวัตถุประสงค์ ซึ่งเป้าหมายทางเศรษฐกิจที่มีร่วมกัน คือ
            - เชื่อมโยงธุรกิจบริการ การต้า ธุรกรรมการเงิน
            - ขนส่ง
            - เชื่อมดยงแหล่งท่องเที่ยว
            - เขตประกอบการอุตสาหกรรม เขตการผลิตร่วม เน้นอุตสาหกรรมใช้แรงงาน
            - พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานร่วมกัน
            โดยโครงการร่วมไทย-กัมพูชา กำหนดให้มีเมือคู้แฝด 9 โครงการ คือ ศรีสะเกษ-เสียมเรียบ, สุรินทร์-อุดรมีชัย, สระแก้ว-บันเตียเมียนเจย, จันทบุรี-ไพลิน, ตราด-เกาะกง, อุบลราชธานี-พระวิหาร, จันทบุรี-พระตะบอง, ตราด-ปราสาท, บุรีรัมย์-อุดรมีชัย
            โครงการเมืองคู่แฝด เป็นการดำเนินงานเพื่อพัฒนาพื้นที่ระหว่างไทยกบเพื่อบ้านให้เป้ฯเมืองเชื้อมโยงระหว่างกัน เป้นรากฐานการผลิตด้านอุตสาหกรรมการต้า การท่องเท่ยว สนับสนุนการย้ายฐานการผลิตด้านอุตสาหกรรมจากไทยไปสู่ประเทศเพื่อบ้าน โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2548 ให้กำหนดมาตรการผ่อนปรมสำหรับเมืองที่เป็น Sister City นำรองในการจัดทำ Contract Farming 3 แห่งได้แก่ 1. ไทย-พม่า : แม่สอด-เมียวดี, 2. ไทย-ลาว : เลย-ไชยบุรี และ 3. ไทย-กัมพูชา : จันทบุรี-พระตะบอง/ไพลิน
             
เมื่อคู่แฝด เสียมเรียบ- ศรีสะเกษ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยว การอำนวยความสะดวกด้านการเดินทางจึงเป้นปัจจัยที่สำคัญที่ช่วยส่งเสริมธุรกอจการท่องเที่ยวระหว่างไทยและกัมพุชา โดยเฉพาะอยางยิ่งการเข้าเยี่ยมชมปราสาทนครวัด นครธม และปราสาทอื่นๆ ในกัมพูชา จากความรวมมือทางเศณาฐกิจระหว่างไทยและกัมพุา ทำให้เกิดการพัฒนาถนนหมายเลข 67 (ช่อง สะงำ-อัลลอเวง-เสียมเรียบ) เพื่อให้การเกินทางโดยรถยนต์ระหว่าง 2 ปรเทศสะดวกขึ้น ด้วยงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลไทยกว่า 1,300 ล้านบาทซึ่งแล้วเสร็จในปี 2551 โดยที่ถนนสายนี้ได้ส่งผลให้การขนส่งสินค้าและธุรกิจการท่องเที่ยวเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เนื่องจากนักท่องเที่ยวท้งชาวไทยและต่างชาติสามารถใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ชั่วโม
 จากช่องสะงำจังหวัดศรีสะเกษ ถึง จังหวัดเสียมเรียบ เพื่อชมความงามของปราสามหินนครวัด นครธมไ้ ทั้งนี้ ยังสามารถสร้างรายได้และอาชีพใหก้ดับประชาชนบริเวณเส้นทางการสัญจรทั้งในไทยและกัมพุชา เพนื่อจากโครงการก่อสร้างถนนดังกล่าวได้เสร็จสิ้นแล้ว แต่ยังไม่ได้ดำเนินการเจรจาหรือติดต่อประสานงานในด้านการอำนวยความสะดวกบนเส้นทางดังกล่ว เช่น จุดพักรถ ศูนย์บริการการเินทาง เป้ฯต้น ดังนั้น เพื่อป้องกันปัญหา ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผุ้ประกอบการขนส่งและผุ้โดยสารที่จะเข้ามาดำเนินงานบนถนนหมายเลข 67 จึงควรเร่งการเจรจาร่วมกัน ระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเกชนทั้งของไทยและกัมพูชา
           เมื่อคู่แฝด เกาะกง-ตราด จากกรอบความร่วมมือ ACMCS ในโครงการเมืองคู่แฝด (เกาะกง-www.boi.go.th/thai/clmv/Back_up/2010_cambodia/2010_cam_5_2.html
ตราด) จังหวัดตราดจึงเร่งดำเนินการเพื่อให้เกิดการพัฒนาเศรษบกิจร่วมกัน จากกลยุทธ์เสริมสร้างความเป้นหุ้นสวนทางเศราบกิจ ในการเปิดประตูสู่อินโดจีนได้เกิดโครงการต่างๆ ขึ้น เช่น โครงการก่อสร้างถนน 4 เลน ตราด-บ้านหาดเล็ก ไปเชื่อมกับถนนสาย 48 ของกัมพุชา เพื่อเชื่อมโยงภนนระหว่างประเทศ โดยความรับผิดชอบของแขวงการทางตราด(กรมทางหลวง) งบประมาณตั้งแต่ปี 2548-2551 จำนวน 900 ล้านบาท ดครงการพัฒนาเมืองคู่แฝด (เกาะกง-ตราด)จัทบุรี-พระตะบอง/ไพลิน) โดยความรับผิดชอบของจังหวัดตราดและจันทบุรี งบประมาณปี 2548 จำนวน 10 ล้านบาท และโครงการจัดระบบบริหารจัดการศูนย์รวมสินค้าเพื่อการส่งออก(HUB) โดขความรับผิดชอบของพาณิชย์จังหวัด วบประมาณปี 2548-2551 จำนวน 315 ล้านบาท จากกลบุทธ์กำหนดกลไกด้านการบริหารจัดการสินค้าเกษตรเป้ฯ รายสินค้าเพื่อสร้างเสถียรภาพทางราคาสินค้าเกษตร และให้เกษตรกรได้รับราคาผลิตที่เป็นธรรม เป็นต้น ทั้งนี้ จากการเล็งเห็นความสำคัญทางการสาธารณสุข จากกลยุทธ์ส่งเสริมและการพัฒนาตามกรอบปฏิญญาพุกาม จึงได้จัดโครงการเกาะกง-ตราด ร่วมใจพัฒนาสาะารณสุข โดยความรับผิดชอบของสาธารณสุขจังหวัดด้วยงบประมาณปี 2548-2551 จำนวน 3.9 ล้านบาท ซึงถื่อเป็นส่วนหนึ่งด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานร่วมกันของทั้ง 2 เมื่อง(เกาะกง-ตราด)
           
จุดเด่นของระบบเมืองคุ่แฝด คือ การจับคู่กันระหว่างเมือชายแดนที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจกับเมพืองชายแดนประเทศเพื่อบ้านที่ตั้งประชิดซึงเป้าหมายโครงการ ได้แก่ การส่งเสริมความสัมพันธ์ระดับพื้นที่แบบข้ามพรมแดน ซึ่งนำไปสู่ความร่วมมือในสาขาอื่นๆ เช่น การขยายระบบโลจิสติกส์และการโยกย้ายฐานการผลิตอุตสาหกรรม
             โดยหากยึดตคามกรอบปฏิญญาพุกาม ไทยได้กระชับเมืองคู่แฝดกับกัมพูชา เมียนมาร์ และลาว ในหลากหลายเขตภูมิศาสตร์ ขณะเดียวกัน ระบบเมืองคู่แฝดยังครอบคลุมถึงกลุ่มเมืองที่ไม่มีพรมแดนติดกัน แต่มีความเชื่อมโยงกันในทางเราฐกิจการท่องเที่ยวและวัฒนธรรม เช่น เชียงใหม่-มัณฑะเลย์, กรุงเทพฯ-ย่างกุ้ง, พุกาม-เสียมเรียบ และสตึงเตรง-จำปาสัก
             สำหรับไทยและรัฐอินโดจีนอื่นๆ การสถาปนาเมืองคู่แผดถือเป็นหมุดหมายหลักในการพัฒนาระเบียบเศรษฐกิจใต้ยุคเออีซี แต่ด้วยพื้นภูมิและศักยภาพของแต่ละเมือง รวมถึงทรัพยยากรย่อมมีผลต่อการเติบโตของพลังทางเศรษฐกิจ ซึ่งพบว่าหัวเมือชายแดนตามวงตะเข็บไทย-เพื่อนบ้านล้ายมีทั้งจุดอ่อน จุดแข็ง และขีดความสามารถที่จะรองรับการพัฒนาในระดับที่แตกต่างกัน ดยจะของยกตัวอย่างเมืองคุ่แฝดที่จะรองรัีบการพัฒนาในระดับที่แตกต่างกัน
             ตัวอย่างเช่น
             เมื่องคู่แฝดสระแก้ว-บันเตียเมียนเจย(ศรีโสภณ) ถือว่ามีศักยภาพด้านโลจิสติกส์เนื่องจากตั้งอยุ่บนแนวระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ ซึ่งเชื่อมระหว่างนครโฮจิมินห์ของเวียดนามผ่านกรุงเพทฯ แล้วโยงเข้าสู่ทวายของเมียนาร์ รวมถึงเป้นชุมทางตลาดโรงเหลือ แหล่งกาสิโนและแหล่งกระจายสินค้าไปยังเขตอุตสาหกรรมพิเศษปอยเปตโอเนียง
             เมื่อเทียบสระแก้วกับบันเตียเมียนเจย พบว่าเขตอำเภออรัญประเทศมีความโดดเด่นในฐานะจุดพักสินค้า ตลาดค้าส่งและค้าปลีกสู่อินโดจีน พร้อมมีเส้นทางคมนาคมเชื่อมสูกรุงเทพฯ และหัวเมืองชายทะเลใกล้เคียง หากแต่ก็มีจุดอ่อน อาทิ การขาดแคลนแรงงานภาคเกษตรและสภาพแออัดตรงจุดผ่านอดนถาวรบ้านคลองลึก ส่วนบันเตียเมียนเจยของกัมพุชา นับเป้นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและแรงงานราคาถูก รวมถึงควบคุมระบบขนส่งทางถนนและระบบรางเพื่อกระจายสินค้าสู่เวียดนามใต้ แต่มีจุดอ่อนในเรื่องขาดแคลนแรงงานฝีมือระดับสุงและระบบสาธารณูปโภคที่ได้มาตรฐาน
           
สะพานเชื่อความสัมพันธ์ไทย-พม่า รองรับโครงการเมืองคู่แฝด เม่สอด-เมียวดี
 ส่วนศักยภาพเมืองคู่แฝดนครพนม-คำม่วน(ท่าแขก)หลังการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 3 พบว่าเริ่มมีการขยายตัวของเสราฐกิจและการพัฒนาเมืองอย่างต่อเนื่อง เช่น ยุทธศาสตร์การพัฒนาตำบลหนองญาติให้เป็นเขตอุตสาหกรรม-พาณิชย์กรรม และการตั้งเขตเศรษกิจจำเพาะภูเขียวให้เป็นเขตพัฒนาฝีมือแรงงานประจำแขวงคำม่วน
              สำหรับจุดแข็งของครพนม ได้แก่ การควบคุมผลผลิตทางการเกษตร เช่น ข้าว ข้าวโพด และปลาแม่น้ำ พร้อมได้รับสิทธิพิเศษกรส่งเสริมการลงทุนจาก BOI (เขต 3) ด้านการยกเว้นภาษี แต่มีปัญหาขาดแคลนความร่วมมือระหว่างภาคการผลิตต่างๆ ขณะที่แขวงคำม่วนที่แม้จะเต็มไปด้วยแร่ธาตุ เช่น โปแตช ทองคำ ยิปซัม และเป็นที่ตั้งของเขือนกระแสไฟฟ้าน้ำเทิน 2 แต่กลับมีจุดอ่อนเรื่องความพร้อมขอสส่ิงอำนวยความสะดวกตามเส้นทางหมายเลข 12 ระหว่างนครพนมกับกวางบิงห์ของเวียดนาม เช่น สถานีเติมน้ำมัน
             ด้านเมืองคู่แฝดกาญจนบุร-ทวาย ถือเป้นจุดเปลี่ยของระบบการต้าคมนาคมย่ายอาเวียนพื้ทวีป โดยเฉพาะการโยงทวายผ่านกาญจนบุรี กรุงเทพฯ เข้าแหลมฉบังและมาบตาพุด โดยจุดแข็.ของกาญจนบุรี ได้แก่ ทำเลที่ตั้งซึ่งอยู่ไม่ไกลจากรุงเทพฯ พร้อมด้วยศักยภาพในการพัฒนาสินค้าเกาตรกรรม ส่วนจุดอ่อนอยู่ที่การขาดแคลนศูนย์กระจายสินค้า
             
ส่วนเมืองทวายมีจุดเด่นอยุ่ตรงแหล่งวัตถุดิบทางประมงและทำเลการต้าผ่านโครงการท่าเรือน้ำลึกทวาย แต่มีจุดบกพร่องที่ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานและความไม่สงบในบางพื้นที่ อาทิ เขตอิทธิพลกองกำลังกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงที่อยู่ไม่ไกลจากแนวถนน-ท่อก๊าซ พร้อมยังคงมีปัญหารเื่องการเจรจาสันตุภาพกับรัฐบาลเมียนมาร์ในบางกรณี
              โครงการเมืองคู่แฝดถือเป็นนวัตกรรมเออีซีที่มีรากฐานมาจากปฏิญญาพุกามพร้อมทวีบทบาทสำคัญขึ้นเรื่อยๆ ผ่านการกระชับแน่นทางเศรษฐกิจ
              ทว่าความแตกต่างของขีดกำลังเมืองในแต่ละย่ายย่อมส่งผลให้นักลงทุนต้องหันมาพลิกกลยุทธ์เพื่อวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพเมืองอย่างมีชั้นเชิงในการนี้การวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็ง พร้อมชิงคว้าโอกาสและขจัดอุปสรรคอย่างชาญฉลาด อาจเป็นหลักพิชัยยุทธ์พื้นฐานที่ช่วยให้นักลงทุนไทยเจาะตลาดและคุมฐานเศรษฐกจิเมืองคู่แผดได้สมใจwww.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1430585293

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...