วันเสาร์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2560

HUB Part 2

            ไทยกับการเป็นศุนย์กลางธุรกิจการบินอาเซียน
             มีการศึกษาภาพรวมธุรกิจการบินไทยในปี 2556-2558 ว่ามีการเติบโตอย่างต่อเนื่องจากปัจจัยที่กำลังจะก้าวเข้าสู่การป็นประชาคมเศษฐกิจอาเซียน และจากการขยายตัวของธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำ ทั้งในประเทศและในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดย ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่าในปี 2556 จะมีจำนวนเที่ยวบินมมาทำการบินผ่านท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานดอนเมือง ซึ่งเป็นท่าอากาศยานหลักและรองของประเทศ รวมทั้งสิ้น 440,170 เที่ยวบิน เพ่ิมขึ้นร้อยละ 16 เมื่อเที่ยบกัยปีที่ผ่านมา
            นอกจากนี้ยังมีตัวเลขจากการพยากรณ์ทางการ ตลาดโลก หรือโกลบอล มาร์เก็ต ผอร์คาสต์ ของบริษัทผลิตอากาศยานค่ายยุโรประบุว่า ในอีก 20 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2556-2575 ) อัตราการเินทางทางอากาศจะเติบโตขึ้นถึงร้อยละ 4.7 ต่อปี โดยอากาศยานที่มีในปัจจุบันประมาณ 17,740 ลำ ทั่วโลกจะเพ่ิมขึ้นเป็นเกือบ 36,560 ลำ ภายในปี 2575 ซึ่งภายนปีดังกล่าวภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกจะมีอัตราการเดินทางทางอากาศเพ่ิม สูงขึ้น แซงหน้าภุมิภาคยุโรปและอเมริกาเหนือ โดยปัจจุบันการเินทางทางอากาศเฉลี่ยทั่วโลกที่เพ่ิมสูงขึ้น ร้อยละ 5.5 ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกมีความต้องการอากาศยานโดยสารใหม่สุงถึงร้อยละ 36 ตามมาด้วยยุโรป ร้อยละ 20 และอเมริกาเหนือ ร้อยละ 19
              สำหรับ ภูมิภาคอาเซียนน้นกระแสการตื่นตัวรับการก้าวเข้าสู่การเป้นประชาคมเศราฐกิจ อาเซียน ก่อให้เกิดกิจกรรมต่างๆ มากมาย ทั้งากร้า การลงทุน และการท่องเที่ยว ส่งผลให้เกิดความเติบโตทางเศราฐฏิจ รวมทั้งอำนาจซื้อที่เพ่ิมสูงขึ้นของระชากรในภูมิภาค ก่อให้เกิดความเป็นเมืองตามมา ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ก่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างภูมิภาค สงผลให้เกิดการเดินทางระหว่างประเทศอาเซียนมากยิ่งขึ้น และเกิดการขยายตัวของตลาดการท่องเที่ยวในประเทศอาเซียนอีกด้วย
             
นอกจากนี้การเปิด AEC ยังก่อให้เกิดปัจจัยสนับสนุนธุรกิจการบินอีกปัจจัยหลัก คือ เปิดเสรีการบินอาเซียน ในปี 2556 โดยเป็นกรอบความตกลงพหุภคีเพื่อให้ประเทสสมาชิกอาเซียนสามารรถขนส่งทางอากาศระหว่างกันโดยไม่จำกัดจำนวน ความจุความถี่ แต่ทั้งนี้ยังคงเผชิญอุปสรรคจากกฎหมายและกฎระเบียบข้อบังคัยภายในประเทศของ แต่ละประเทศสมาชิกอยู่ อย่างไรก็ตามกระแสการรวมเป็น AEC ก็ส่งผลให้เกิดความคึกคักต่อธุรกิจการบินในภูมิภาคเป็นอย่างมาก ดยทำให้เกิดการเพ่ิมเที่ยวบินและขยายเส้นทางการบินมายังประเทศอาเซียน และเส้นทางการบินระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะ อย่างยิ่งการเติบโตของธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำ ซึ่งมีแรงดึงดูดทางด้านราคา ทั้งนี้ในระหว่างปี 2554-2556 มีการเปิดตัวสายการบินต้นทุนต่ำในภูมิภาคอาเวียนกว่า 7 สายการบิน ใน 6 ประเทศ ได้แก่ เวียดนาม สปป.ลาว เมียนมาร์ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์
              นอกเหนือจากนี้ยัวมีการขยายเส้นทางการบินไปยังจุุดหมายปลายทางระหว่างเมืองต่างๆ ในอาเวียนมายิ่งขึ้น เช่น การขยายเส้นทางการบินของสายการบินต่างๆ ที่มีฐานการบินในไทย ไปยังเมืองต่างๆ ของเมยนมาร์ อาทิ ย่างกุ้ง-มัณฑะเลย์-เนปิดอว์ และการขยยายเส้นทางการบินไปยัง สปป.ลาว การเพ่ิมขึ้นของจำนวนสายการบินซึ่งทำการบินเส้นทางกรุงเทพฯ-เสียมเรียบ ปรเทศกัมพูชาเนื่องจากได้มีการยกเลิการสงวนเส้นทางไว้ให้เฉพาะบางสายการบิน การขยายเส้นทางบินของสายการบินแห่งชขาติกัมพูชามายังไทยและไปยังเวียดนาม เป็นต้น
              สำหรับประเทศไทยแล้วนับว่ามีความได้เปรียบด้านทำเลที่ตั้ง ที่มีพรมแดนติดกับประเทศอาเซียนถึง 4 ประเทศ และมีจุดแข็งจากการเติบโตของธุรกิจการบินอย่างโดดเด่นในภูมิภาค พิจารณาจากจำนวนผุ้โดยสารที่เดินทางมาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิในปี 2555 เป็นอัดนดับ 2 ของภูมิภาค องจากท่าอากาศยานซูการ์โน่ฮัตตา ของอินโดนีเซีย อีกทั้งไทยยังมีอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนเครื่องบินที่แข็งแกร่ง โดยที่ผ่ามารมีบริษัทต่าชาติให้ความสำคัญในการเข้ามาลงทุนตั้งฐานการผลิต ชิ้นส่วนเครื่องบินเพื่อการส่งออก โดยในปี 2555 ประเทศไทยมีมูลค่า การนำเข้า-ส่งออกเครื่องบินและชิ้นสวนเครื่องบิน มูลค่ากว่า 142,241 ล้านบาท และในปี 2556 ระหว่างเดือน ม.ค.-ส.ค. มีมูลค่าการนำเข้า-ส่งออกเครื่องบินและชิ้นส่วนเครื่องบินกว่า 137,224 ล้านบาท เติบโตกว่าร้อยละ 93 เมื่อเที่ยบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
             ดังนั้นเพื่อเป็นการรองรับธุรกิจการบินที่จะขยายตัวเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้นอกจาก
ประเทศไทยมีความมุ่งหวังที่จะเป็นศูนย์กลางทางการบินของภูมิภาคแล้วยังมีเป้าหมายที่จะเป็น "ศูนบ์กลางซ่อมบำรุงอากาศยานของภุมิภาค" เพื่อรอบรับปริมาณเครื่องบินที่จะเพิ่มขึ้นในภูมิภาคอาเซียนอีกด้วย
             สิงที่ไทยต้องลงมือทำอย่างจริงจัง ก็คือควรเร่งพัฒนาศักยภาพเพือดึงดูดปริมาณเครื่องบินต่างๆ โดยเฉพาะเครื่องบินจากกลุ่มประเทศ CLMV ที่มีการเติบโตทางด้านธุรกิจการบิน แต่ยังขาดความพร้อมทางด้านวิศวกรรมการบิน ควรวางแผนดานการพัฒนาทรัพยกรบุคคลที่มีคุณภาพ ซึ่งปัญหาังลก่าวต้องไดรับการพิจารณาและเร่งดำเนินการแก้ไข เนื่องจากการเติบโตอย่างมากของธุรกิจการบินอาเซียนได้ทำให้รัฐบาลของประเทศ ต่างๆ เล็งเห็นถึงโอากาสเช่นกัน เช่น สิงคโปร์ และมาเลเซีย ซึงเป็นสมาชิกอาเซียนก็มีเป้าหมายที่จะเป็นศูนย์กลางซ่อมบำรุงอากาศยานของ ภูมิภาคด้วยเช่นกัน เหนือสิงอืนใดคือควรสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับสายการบินต่างสัญชาติที่มีฐาน การบินในไทยให้มาใช้บริากรศูนย์ซ่อมอากาศยานของไทย ทั้งนี้มีการคาดการณ์ว่ามูลค่าการซ่อมบำรุงอากาศยานทั่วโลก ในปี 2562 จะมีมูลค่าถึง 63,000 ล้านเหรียญสหรัฐwww.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1384493044
            ว่ากันว่า ในปี 2558 ที่ผ่านมา สายการบินในประทศไทยมีจำนวนฝูงบินรวมกันทังสิ้น 208 ลำ เพ่ิมขึ้นจากปี 2556 จำนวน 31 ลำ การขยายตัวดังกล่าวสอดรับกับการเติบโตของธุรกิจการบินในภุมิภาคเอเชยตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีความคึกคักอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา และพบว่าในช่วงปี 2555-2448 ผุ้โดยสารที่มีจุดหมายปลายทางมายังเอเชียตะวันออกเแียงใต้ขยายตัวในอัตโดยสารที่มีจุดหมายปลายทงมายังเอเชียตะวันออเแียงใต้ขยายตัวในอัตรา 9.2 % ต่อปี สูงกว่าอัตราการเติบโตของจำนวนผุ้โดยสารทั่วดลกที่เติบโตเฉลี่ย 6.2% ต่อปี ในช่วงเวลาเดียวกัน
            ศุนย์วิจัยกสิกรไทยรายงานว่า ที่ผ่านมาบริษัทผุ้ผลิตเครื่องบินรายใหญ่ได้มีการพยากรณ์ว่า ในอีก 20 ปีข้างหน้า หรือปี 2578 จะมีผุ้โดยสารที่มีจุดหมายปลายทางมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กว่า 2,360 ล้านคน หรือขยายตัวเฉลี่ย 6% ต่อปี ขณะที่การเดินทงไปยังจุหมายปลายทางทั่วโลกเติบโตเฉลี่ยที่ 4.8 % ต่อปี
         
  จากแนวโน้มดังกล่วนี้จะส่งผลให้ขนาดของตลาดธุรกิจกาบินในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เติบโตขึ้นจากเดิม ทำใ้หลายฝ่ายต่างจับตามองว่าประเทศไทยีความพร้อมเพียงพอที่จะรองรับโอากสจาการเติบโตของธุรกิจการบิในภุมิภาคมากน้อยเพียงใด โดยศุนย์วิจัยกสิกรไทยระบุว่า ธุรกิจสายกาบินในไทยเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทั้งมิติของจำนวนผุ้โดยสารในประเทศและต่างประเทศ และจำสนวเส้นทางการบินและผูงบิน เนืองจากประเทศไทยเป็จุดหมายปลายทางระดับโลก บวดกับที่มีกลุ่มสายการบินโลว์คอสต์เข้ามามีบทบาทสำคัญขึ้นเรื่อยๆ โดยคาดว่าในปี 2559 ภาพรวมของธุรกิจกาบินของไทก็น่าจะยังเติบโตได้คอ่นข้างดี ซึ่งความเชื่อมั่นดังกล่าวสะท้อนจากจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามายังประเทศไทยในช่วง 7 เดือนแรก มากถึงจำนวน 19.54 ล้านคน เพิ่มขึ้นกว่า 11.9% และยังวิเคราะห์ด้วยว่า ในระยะยาวแนวโน้มธุรกิจการบินในไทยจะยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง จากการขยายเส้นทงการบินที่ครอบคลุมและเชื่อมโยงไปยังภูมิภาคต่างๆ ของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
            นอกจากนี้ยังมีสายการบินท้องถ่ินในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยังได้เล็งเห็นศักยภาพของไทยในการใช้ไทยเป้นฐานการบินและมีแผนใช้ประเทศไทยเป็นฮับการบิน เพื่อขยายเส้นทางไปยังจุดหมายปลายทางต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียนและเอเชีย ทั้งนี้การขยายตัวทงเศรษฐกิจของกบุ่มประเทศอาเซียน โดยเฉพาะ CLMV ที่กำลังเติบโตจากการหลังไหลของเงินทุนจากต่างชาติคู่ขนานไปกับปัจจัยสนับสนุนด้านการท่อเที่ยวของไทยและภูมิภาค CLMV ที่จะดึงดูดนักท่องเที่ยวจาก๓ุมิภาคอื่นให้เดินทงมายังอาเซียน จะสนับสนุนให้เกิดความคึกคักของการเินทางภายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นอย่างมาก
             จึงนับเป็นโอกาศที่ไทยจะก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางทางการบินของภูมิภาคอาเซียน ด้วยศักยภาพธุรกิจสายการบินในไทยที่มีแนวโน้มเติบโตอย่างชัดเจน รวมถึงปัจจัยด้านภูมิศาศตร์และสภานการณ์ธุรกิจสายกาบินของไทยที่เอื้ออำนวย
            ดังนั้น หากไทยสามารถเตรียมความพร้อมเพื่อพัฒนาให้สามารถเป็นศูนย์กลางทางการบินเพื่อเชื่อมต่อระหว่างประเทศในภูมิภาคอาเวียนกับประเทศต่งๆ ทั่่วโลกได้ ก็จะนำมาซึ่งโอากสทางเสรษฐกจิและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องจำนวนมากwww.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1475721114
            กอบกาญจน์ หารือพันธมิตร ผลักดันไทยเป็นฮับการบินอาเซียน
            รมว.กอบกาณจน์ ประชุมร่วมกับหน่วยงานรัฐ และเอกชน พิจารณาเพิ่มเส้นทางสายการบินในแถบ CLMV เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ อาเซียน คอนเนกต์ หาเมืองที่มีศักยภาพในการเดินทางท่องเที่ยและเชื่อมโยง C2L และ L2L ผลักดันไทยเป็นฮับด้านกาบินในอาเซียน "คิดถึงอาเซียน..คิดถึงประเทศไทย"
            นางกอบกาญจฯ์ วัฒนาวรางกุร รัฐมนตรีว่าการกระทรงการท่องเที่ยวและกีฬา เปิดเผยการประชุมร่วมหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ถึงการทำ อาเซียน คอนเนกท์ ที่แบ่งเป็น 2 ระดับ จากระดับเดิมที่มีอยู่แล้ว เป็นระดับที่มีอยุ่แล้ว ต้องมีการโปรโมทต่อ ระดับนี้เหมือนเป็นระดับที่มีการ link long hall ที่าแถบประเทศไทย 2 country 1 dastination ทำอย่างไรให้มีมาขึ้น และ อาเซียน ทู อาเซียน คือ ทำอย่างไรให้คนในอาเซียนไปมาหาสู่กันมากขึ้น เป็นการท่องเที่ยวระหว่างกัน ซึ่งเป็นเมืองระดับรองต่อกับระดับรอง
         
 ส่วนการพิจารณาเพิ่มเส้นทางสายการบินในแถบ CLMV เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ อาเซียน คอนเนกต์ โดยหาเมืองที่มีศักยภาพในการเดินทางท่องเที่ย และเชื่อมโยง ดังที่กล่าวมแล้ว เพื่อผลักดันให้ไทยเป็น HUB ด้านการบินในอาเซียน "คิดถึงอาเซียน..คิดถึงประเทศไทย" ได้มีการจัด ลิสต์ ชื่อเมืองขึ้นมาเพื่อพิารณา โดย ททท. จะรับผิดชอบเรื่อง ลิสต์ ชื่อเมืองต่างๆ ทอท. จะมีการลิสต์เส้ทางการบินที่เหลืออยู่ในแง่ สลอตการบิน โดยกรมการบินพลเรือน และทอท.จะสรุป สล็อตการบินที่มีเลหือยุ่ ณ ขณะี้ เพื่อทำให้เกิดสายการบินได้อย่างแท้จริง ทั้งนี้ สนามบินหลัก สล็อตการบินเหลือน้อยมาก นอกจากนี้ ยังมีสนามบินจุดอื่นๆ เช่น อู่ตะเภา หรือสนามบินทางภาคอีสาน ที่ยังมีโอากสเติบโตได้อีก สิ่งที่สำคัญคือ ทำอย่างไรให้เมืองที่เราทำขึ้นมาตอบโจทก์ได้มากที่สุดทั้งไทยและเพื่อบ้าน
         
 ส่วนด้านการตลาด ต้องเป้นการแลกเปล่ยนกันทั้งไทย ทั้ง อิน บอนด์ และ เอาท์ บอนด์ ผลลัพธ์ต้องตอบโจทย์ความต้องการของทั้งสองฝั่ง ถ้าไทยจะเชื่อมต่อกับใคร ความต้องการตรงกันหรือไม่ เช่น ไทย-เวียดนาม ไทย-พม่า ไทย-มาเลเซีย สิ่งนีจะเป็นการตอบโจทย์ของนายกรัฐญมนตรี ทีท่านเพ่ิงไปประชุมมาด้วย ว่าสิ่งสำคัญไทยจะต้องดูแลประเทศอาเซียน ด้วยการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ซึ่งดันและกัน
           "เมื่อเราวาแผนการดำเนินงาน และตกลงกันได้แล้ว เราจะต้องมีการร่วมหารือกับประเทศเพื่อบ้านอีกครั้ง โดยประเทสไทยจะมีการเปิดตัวอย่าง อาเซียน คอนเนกต์ เป้ทางการในงาน ทีที่เอ็ม พลัส ตซึ่งทาง ททท. ได้เชิน โอเปอร์เรเตอร์ จากทั่วโลการ่วมงาน ที่จัดขึ้นที่เชียงใหม่ โดยจะมีการตั้งชื่องานอย่างเป็นทางการอีกครั้ง"
             ก่อนหน้านี้ ทีที่เอ็ม พลัส มีการแตะเรื่องอาเซียนมาโดยตลอดแต่ครั้งนี้จะเป็นการยกระดับการเป็น ฮับ ในประเทศอาเซียนอย่างแท้จริง โดยเป็นการผนึกกำลังกันในส่วนภาคของการท่องเทียวทั้งหมด คือ ททท. สายการบินฐ, ทอท., กระทรวงคมนาคม ซึ่งได้ของความร่วมมือกระทรวงคมนาคมพิจารณาเรื่องต่อรันเวย์ให้เครื่องใหญ่ลงที่สนามบิน แม่สอด แพร่ น่าน พะเยา แม่ฮ่องสอน โดยได้รับการแจ้ง่า แมสอดได้งบประมาณรอเรื่องการซ้อที่เพิ่ม คาดว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จเร็วๆ นี้ เพราะเป็นเขตเศราฐกิจพิเศษ...www.thansettakij.com/content/32404
           
           

วันศุกร์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2560

HUB

          อาเซียนทุ่มลงทุนสนามบิน เดิมพันฮับการบิน
          อาเซียน เป็นจุดหมายปลายทางของนักเดินทางทั่วโลก โดยท่าอากาศยานในอาเซียนที่มีผุ้คนโดยสารเดินทางมาเยือนติดอันดับมากที่สุด 20 อันดับแรกของโลกคือ ท่าอากาศยานสุวรรณภุมิของไทย ท่าอากาศยานชางงีของสิงคโปร์ และท่าอากาศยานซุการ์โน-ฮัตตาของอินโดนีเซีย โดย 1-2 ปีที่ผ่ารม ทุกสนาบินในอาเซียนมีผุ้โดยสารหนาแน่นเกินศักยภาพในการรองรับกว่าเท่าตัว ทำให้แต่ละสนามบินต่างก็เร่งลงทุน เพื่อเดิมพันตำแหน่งศนุย์กลางทางการบินของภุมิภาค
สนามบิน สุวรรณภูมิ
          ประเทศไทยมีแผนพัฒนาสนามบิน 6 แห่ง ในช่วง 5 ปี ข้างหน้า เช่นท่าอากาศยานสุวรรณ๓ูมิ ดอนเมือง เชียงใหม่ เชียงราย หาดใหญ่ และภูเก็ต ด้วยงบลงทุนกว่า แสนสีหมืนล้านบาท โดยจะสามารถรองรับปริมาณผุ้โดยสารได้ถึง 165 ล้านคนต่อปี จากปัจจุบัน 83.5 ล้านคนต่อปี ซึ่งปี 2558 มีผุ้ใช้บริการแล้วกว่า 106 ล้านคน
          สิงคโปร์อาคารผุ้ดดยสารหลังใหม่แห่งที่ 4 ในชื่อ "Jewel" เป็นอาคารสูงเหนือผิวดิน 5 ขัน และใต้ดินอีก 5 ชั้น คาดว่าจะแล้วเสร็จ ในปี 2561 รองรับผู้โดยสารเพ่ิมขึ้นจาก 17.7 ล้านคน เป็นปีละ 24 ล้านคน ด้วยเม็ดเงินลงทุนประมาณ 8 หมื่นล้านบาท
       
Jewel
 เวียดนาม อยู่ระหว่างใช้งบประมาณ 4 หมื่นล้านบาท เร่งยกระดับพัฒนาสนามบินทั่วประเทศ 22 แห่ง รวมถึงสนามบินนานาชาติ 10 แห่ง โดยตั้งเป้าแล้วเสร็จสมบูรณ์ภายในปี 2561 ขณะที่การท่าอากาศยานเวียดนาม ประการเลื่อน ก่อสร้างสนามบิน "ลองแถ่ง" ว่าที่สนามบินใหย่ที่สุดของปรเทศ ในจังหวัดโด่งนาย ตั้งอยู่ทางทิสตะวันออกของนครโอจิมินห์มูลค่า 5 แสนล้านบาท รองรับผุ้ดดยสาร 100 ล้านคน ต้องเลือนการก่อสร้างไปในปี 2564 เนื่องจากความซับซ้อนในการเตรียมงานก่อสร้าง
         มาเลเซีย เพ่ิงเปิดบริการ กัวลา ลัมเปอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต 2"  สนามบินแห่งที่ 2 เมื่อพฤษภาคมปีที่แล้ว องรับผุ้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี ใกล้เคียงกับสนามบินสุวรรณภูมิ
          สำหรับเมียนมา กำลังจะมีว่าที่สนามบินนานาชาติแห่งใหม่ "หันตาวดี" อยู่ห่างกรุงย่างกุ้งออกไปราว 80 กิโลเมตร รอบรับการท่องเที่ยวและเดินทางเพื่อธุรกิจ คากเปิดใช้ได้ในเดือนธันวาคมปี 2562 รองรับผู้โดยสารได้ 12 ล้านคนต่อปี เสริมศักยภาพสรามบินย่างกุ้งซึ่งปัจจุบันรองรับได้ราว 3.7 ล้านคนต่อปีเท่านั้น
          ฟิลิปปินส์ กำลังดำเนินการก่อสร้างอาคารผุ้โดยสารหลังใหม่ของสนามบินคลาร์ก อินเตอร์เนชั่นแนล ภายใต้งบประมาณ 1 พันล้านบาท และกำลังทบทวนแผนสร้างอาคารผุ้โดยสารของสายการบินโลว์คอสต์หลัวใหม่เพิ่ม
สนามบิน "ล่องแถ่ง"
         นอกจากนี้ยัวเตรียมพิจารณาพัฒนาสนามบินแห่งใหม่ที่จุดซังเลย์ บริเวณอ่าวคาวิตและลากูนา เพื่อทดแทนสนามบินนานาชาตินินิย อาคิโน ที่แออัด..www.krobkruakao.com/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99/21465/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B8%99-%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AE%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B8%99.html
          ชิงความเป็น "ฮับ" ประตู่สู่ AEC
          เป็นที่คาดกันว่าหลังเปิดประชาคมอเซียน จะทำให้การเดินทางไปมทาหาสู่ระหว่างประเทศต่างๆ ในภุมิภาคคึกคักมากขึ้น รวมถึงการเดินทางเข้ามในอาเซียนจากผุ้คนในภุมิภาคอื่นๆก็จะมากขึ้นตามไปด้วย
           ประตูด่านแรกทีจะเป็นที่รองรับบรรดานักเดินทางเข้ามาก็คือ "สนามบิน" ประเทศในอาเซียนจึงเร่งพัฒนาสนามบินหลักของตนเพื่รองรับจำนวนนักท่องเที่ยวและนักธุรกิจที่จะเพ่ิมขึ้น และที่สำคัญคือได้เป็นฮับ หรือ ศูนย์กลางการบินในภูมิภาค
         
สนามบิน "หัตาวดี"
จากสถิติปี 2558 สนามบินซูการ์โน-ฮัตตา ของอินโดนีเซียน เป็นสนามบินที่มีผุ้โดยสารมากที่สุดคือ กว่า 57 ล้านคน ส่วนหนึ่งน่าจะมจากประชากรของอนโดนีเซียที่มีอยู่ถึง 250 ลานคน แต่ด้วยสภาพทางภูมิศาสตร์ที่ตั้งอยู่ทางใต้ของภุมิภาค ประกอบดับภัยธรรมชาิตที่เกดขึ้นบ่อยครั้ง ทำให้สนามบินแห่งนี้ยังห่างไกลจากการเป็นฮับอาเซียน
           ่ส่วนสนามบินชางงีของสิงโคดรปื ที่ตั้งเป้าเป็นฮับอาเซียนนับว่ามีความพร้อมเป็นศูนยืกลางการบินของอาเซียนอย่างแท้จริง จำนวนตัวเลขผุโดยสารของปี 2557 ที่ 54 ล้าคน มากเป็นอันดับ 2 ของภุมิภาค ด้วยสิงดโปร์เป็นศูนย์กลางธุรกิจ ทั้้งยังมีระบบโลจิสติกส์ที่ทันสมัยถึงตอนนี้สิงคโปร์ไม่ได้มองเพียงแค่ดารเป็นฮับของอาเซียนเท่านั้น แต่ยังมองไปถึงการเป็นฮับของทวีปเเอเชีย เพื่อเที่ยบชั้นสนามบินชั้นำของเอเียอย่งดูไบและฮ่องกงแล้ว ไม่เพียงแค่จำนวนผุ้โดยสารที่มากแต่สนาบนิชางงียังติดอันดับในการจัดอันดับสนามบินที่ดีที่สุดของโลกมาหลายครั้ง เพียบพร้อมทั้งความทันสมัยและการบริหารจัดการ
KLIA 2
            ล่าสุด นายลุย ดังยิว รมว.คมนาคมสิงคดปร์ ประกาศแผนระยะยาวทุ่มวบประมาณกว่า เจ็ดหือนห้าพันล้านบาท ขยายอาคารผู้โดยสารหลงที่ 5 เพื่อรองรับผู้โดยสาร 70 ล้าคนเมื่อดครงการเสร็จสมบุรณืในปี 2568
             ด้านสนามบินสุวรณภูมิถือว่ามีชัยภูมิที่เหมาะสมเพราะตั้งอยู่ตรงกลางของภูมิภาคพอดี ถือว่าได้เปรียบประเทศอื่นไม่น้อย นอกจากนั้นแล้วยังมีเรื่องของการท่องเที่ยวของไทยที่ได้รับความนิยมเป็นลำดับต้นๆ เป้นเหตุให้สุวรรณภุมิมีผุ้โดยสารมากถึง 46.6 ล้านคน ในปี 2557 มากเป็นอันดับ 3 ของภูมิภาค
              ในส่วนของเวียดนาม ก็เร่งพัฒนา สนามบนิลองแถ่ง ที่จังหวัด่งนาย ทางตอนใต้ เพื่อระบายความแออัดจากสนามบินเตินเซินเญิ้ต ที่นครโฮจิมินห์ และพม่าที่กำลังสร้าง สนามบิน หันตาวดี สนามบินแห่งใหม่ของประเทศไม่ไกลจากนครย่างกุ้ง
               สุดท้ายแล้ว การเป็นอับของภูมิภาคไม่ได้วัดที่จำวนว ผุ้โดยสารและคุณภาพของสนามบินเท่านั้นแต่ยังรวมถงการมีสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เช่นศูนย์ซ่อมบำรุงอากาศยาน และการควบคุมการจรจรทางอากาศที่มีประสิทธิภาพอีกด้วยdaily.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TURObWIzSXdOVEUxTURnMU9BPT0=&sectionid=TURNd05nPT0=&day=TWpBeE5TMHdPQzB4TlE9PQ==
             
           

วันพฤหัสบดีที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2560

Thai Smile Premium

            "ปัจจุบันการแข่งขันในธุรกิจการบินหลายเส้นทางเกิดโอเวอร์ซัพพลายขึ้นหลายที่ ผุ้ประกอบการสายการบินยังคงใช้กลยุทธ์การแข่งขันเดิมๆ เน้นราคาถูกดึงผุ้โดยสารใช้บริากร แต่ในปีนี้ผุ้เล่นหน้าใหม่จะเกดได้ยาก เมื่อเที่ยบกับการลงสู่สนมเมื่อ 3-5 ปีที่ผ่านมา เพราะกระบวนการตรวจสอบและมาตรฐานการบินจะมีความยุ่งยากเข้มข้นย่ิงขึ้น.."
             คำพูดสะท้อนภาพการแข่งขันธุรกิจการบินในประเทศไทย ของ กับตัันวรเนติ หล้าพระบาง รักษาการประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายการบิน ไทยสมายล์ สายการบินลูกที่มีสายการบินแห่งชาติบริษัทการบินไทย ถือหุ้น 100% โดยแรกเริ่มก่อตั้งเพื่อเปิดศึกชิงส่วนแบ่งทางการตลาดกับสายการบินต้นทุนต่ำ (โลว์คอสต์ แอร์ไลน์) อย่างไทย แอร์ เอเชีย
             วรเนติ เล่าว่า แผนยุทธศาสตร์การตลาดของไทยสมายล์ในปีนี้ เน้นการเชื่อมโยงเส้นทางระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเส้นทางประเทศจีน อินเดีย และอาเซียน เพื่อสอคล้องกับนโยบายบริษัทแม่เน้นให้บริการเส้นทางบินแบบอาเซียน คอนเนก สร้างเครือข่ายการเดินทางท่องเที่ยวจากยุโรป อเมริกา ต่อไปยังประเทศที่ 3 ช่วยสร้างมูลค่าเพ่ิมการจำหนายตั๋วโดยสาร
             ทั้งนี้ ไทยสมายล์ ได้ปรับภาพลักษณ์แบรนด์การให้บริการจากเดิมเน้นความสดใส สัสันการให้บริการ แต่ปัจจุบันได้สีสันสีเท่าเพ่ิมความนิ่งให้กับแบรนด์สินค้าบริากร มองถึงความเป็นพรีเมียมมากขึ้น เพื่อสร้างความแต่กต่งระกว่งสายการบินที่เป้ฯพรีเมียม ฟูลเซอร์วิส การให้บริการแบบเต็มรุปแบบ โดยที่ผุ้โดยสารไม่ต้องจ่ายค่าอาหาร เครื่องดืม โหลดกระเป๋าเพ่ิมเติมเหมือนโลซ์คอสต์แอร์ไลน์ แต่ราคาตั๋วโดยสรจะถูกกว่าสายกรบินแม่ การบินไทยเฉลี่ย 20%
             สำหรับกลยุทธ์การขยายเส้นทางการบินที่ได้ย้ายฐานปฏิบัติการบินไว้ที่ท่อากาศยานสุวรรณภูมิแห่งเดียวเมื่อวัยที่ 16 ม.ค. ที่ผ่านมา เพื่อเพิ่มขีดความสามารในการบินของบริษัท สาารถใช้ประโยชน์เครื่องบินได้เต็มศักยภาพเป็น 10.5 ชั่วโมง/วัน จากปัจจุบันใช้เครื่องละ 8 ชัวโมง/วันส่วนเส้นทางที่เตรียมเปิดให้บริการได้แก่ เจิ้งโจว เสียมราฐ ปีนัง มัณฑะเลย์ โกดาคินาบาลู เป้นจ้น พร้อมเพ่ิมความถี่ในการให้บริการเส้นทางในประเทศทั้งหมด 10 เส้นทาง ได้แก่ เชี่ยงใหม่ ภูเก็ต ขอนแก่น เชียงราย หาดใหญ่ อุบลราชธานี อุดรธานี สุราาฎร์ธานี นราธิวาน และกระบี่้
          โดยในปีนี้สัดส่วนการบินเส้นทางต่างประเทศจะเพิ่มเป้น 45% ในประเทศ 55% เที่ยบจากปีที่ผ่านมา ต่างประเทศ 20% และในประเทศ 80% เพื่อผลักดันให้สายการบินเป็นสยการบินที่ให้บริการเส้นทางระยะใกล้ครอบคลุมเส้นทงเอเชียและอาเวียน ทีเืองหลักและเมืองรอง พร้อมก้าวขึ้นเป้นสายการบินชั้นนำในอาเซียน
         
 นอกจากนี้ สายการบินเตรียมพัฒนาพื้นที่เลานจ์ให้บริากรผุ้ดดยสาร พร้อมจัดทำระบบความบยันเทิงบนเครื่องบินให้บริการกับผุ้โดยสาตลอดระยะเวลาการเินทาง ในปีนี้คาดว่าจะขนผุ้โดยสารประมาณ 4.5 ล้านคน แบ่งเป็นคนไทย 68% ต่างชาติ 32% เที่ยบจากปีที่ผ่ามาร 3.2 ล้านคน ซึ่งการปรับปรุงการให้บริการเต็มรูปแบบ เชื่อว่าจะช่วยทำให้ราคาขายต่อที่นังของสายการบินปรับเพ่ิมขึ้นได้และคาดหวังจะไม่ขาดทุนมากนักหลังแนวโน้มปีที่ผ่านมามีรายได้ประมาณ 7,000 ล้านบาท นโยบบายปีนี้จะไม่เน้นการแข่งขันราคาแต่จะเข้ามาแข่งขันบ้างในแต่ละเทศกาล เพื่อสร้างสีสันให้กับตลาด
           จากความพยายามในการปรับตัวของไทยสมายล์ครั้งนี้ ต้องจับตาดุว่าผลแประกอบกรในปีนี้จะพลิกฟื้นเป้นบวกได้หรือไม่ รวมถึงจับตาประเด็นการทุจริตจัดซื้อเครื่องยนต์ของบริษัทแม่ทีถูกเปิดโปงโดยบริษัท โรลส์ราอยซ์ ออกมากล่าวยอมรับว่าติดสินบนในการจัดซื้อเครื่องยนต์ให้กับหลายประเทศรวมถึงประเทศไทยด้วยเชื่อได้ว่าจะส่งผลต่อการจัดซื้อจัดหาเครื่องบินในล็อตต่อไปของการบินไทยให้ล่าช้าจากกำหนดการเดิมต้องแล้วเสร็จกลางปีนี้ ที่ต้องลากยาวออกไปไม่มาก็น้อย
           และความล่าช้าที่เกิดขึ้นย่อมส่งผลต่อการแข่งขันในสมรภูมิรบน่านฟ้าที่ดุเดือดอย่างแน่นอน....www.posttoday.com/biz/aec/news/476960

           ...การเปิดเสน่านฟ้าในปี 2015 ทำให้สยการบินของไทยต้องเผชิญกับสภาพวะการแข่งขันที่รุนแรงยิ่งขึ้นจากสายการบินในอาเซียนที่ต้องกรเข้ามาแข่งขันในประเทศไทย ในอดคตต ประเทศ ไทยอนุญาตให้สายการบินเพียง ไม่กี่สายเข้ามาให้บริากรภายในประเทศ และจำกัดเส้นทางในการให้บริการของสายการบินเพื่อไม่ให้บินทับเส้นทางหลักของสายการบินแห่งชาติ(การบินไทย) ในภายหลังปี 2002 ได้มีการผ่านคลายกฎเกณฑ์ในการให้บริการของายการบิน ทำให้ธุรกิจการบินของไยมีการแข่งขันมากขึ้นแต่เนื่องจากในปี 2015 ประเทศไทยต้องก้าวเข้าู่ประชาคมเสราฐกจอาเวียน ซึ่งได้มีการตกลงใน เรื่องนโยบายการเปิดเสรีน่านฟ้า เพ่ิมมากขึ้น
            ในปัจจุบัน ธุรกิจสายการบินของไทย เปนธุรกิจที่มีภาวะการแข่งขันรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำ ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำมีการเพ่ิมศักยภาพในการเข่งขันเป็น อย่างมากเห้ฯได้จากความสามารถในการช่วงชิงส่วนแบ่งการตลาดจาก สายการบินที่ให้บริการเต็มรูปแบบ และสายการบินต้นทุนต่ำยังสามารถสร้างผลการดำเนินงานที่ดีกว่าด้วยอัตราการเติบ โตเฉลี่ย ที่ร้อยละ 42 จากปี 2009-2013
             กานต์แอร์ได้ร่วมทุนกับเวยดเจ็ทแอร์ประกาศจัดตั้งสายการบินไทยเวียดเจ๊ทแอร์ซึ่งเป็นสายการบินต้นทุนต่ำเพื่อเปิดให้บริการในประเทศไทย จะเห็นได้ว่าการเปิดเสรีน่านฟ้าจะทำให้สายการบินในอาเวียนสามารถเข้ามาให้บริากรในประเทศไทยจะมีการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น
            นอกจากประเทศไทยมีความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์เพราะสามารถเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางอากาศ (ฮับ) ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้ผุ้โดยสารสามารถเดินทางไปยังพื้นที่ต่างๆ ในอาเซียนได้สะดวกมากขึ้น ซึ่งจะทำให้สายการบินของไทย มีจำนวนเที่ยวบตินและผู้ช้บริการเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยบริษัท ท่าอากาศยานไทยจำกัด(มหาชน) ได้คาดการณ์ว่าจะมีจำนวนผู้โดยสารที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เพ่ิมขึ้นเป็นกว่า 56 ล้านคน และมีเที่ยวบินเพิ่มกว่า 3 แสนแที่ยวบินในปี 2015
            จากปัจจัยเหล่านี้ ทำให้มีความต้องการเดินทางของผุ้โดยสารและนักท่องเทียวที่เพ่ิมขึ้น สงผลให้สายการบินในอาเซียนต้องการเข้ามาช่วงชิงและแข่งขันในประทเศไทยและเกิดการแข่งขัีนที่รุแรงขึ้นในธุรกิจการบินของไทย...prezi.com/qzsnbusthgwv/presentation/
         
 โลว์คอสต์แอร์ไลนืเดือด "เวียดเจ็ท-ไลอ้อนแอร์-แอร์เอเชียเอ็กซ์" รุมทึ้งไทย
              โลว์คอสต์ อาเซียนไล่ผนึกสายการบินในไทย หนุนภาพสมารภูมแอร์ไลน์ระอุ เวียดเจ็ทแอร์ร่วมทุนกานต์แอร์ เปิด "ไทยเวียดเจ็ทแอร์" ชิมลางตลาด ตามหลัง "ไลอ้อนแอร์" จากอินโดนีเซีย ด้าน "ไทย แอร์เอเชีย" ไม่หวั่นเสียฐานตลาด มุ่งเพ่ิมเส้นทาง-เที่ยวบิจต่อเนื่อง จากปผนรับมอบเครื่องบินปี 60 มีผูงบินทั้งหมด 61 ลำ "ทัศพล" เผย "แอร์เอเชียเอ็กซ์ไทยแลนด์" แจ้งเกิดในไทยได้แน่ หลังเห็นเทรนด์ตลาดโลว์คอสต์เที่ยวบินระยะไกลดีมานด์พุ่ง คนไทยรอบินอยู่มาก
             
ผู้สื่อขา่าวรายงานว่า สภานการณ์ตลาดการบินต้นทุนต่ด ในไทยรุนแรแงมากขึ้นอีกระดับใ เนื่องจากมสายการบินในภูมิภาคอาเวียนทยอยผนึกกับสายการบินในไทยอย่างต่อเนื่อง ทำให้มีผุ้เล่นในตลาดนี้อีกอย่างน้อย 3 ราย ประกอบด้วย สายการบินไทยเวียดเจ็ทแอร์ เป้ฯการร่วมทุนกันระหว่างเวียดเจ็?แอร์กับกานต์แอร์ของไทย ในสัดส่วน 49:51 เร่ิมบินปลายปี หนือต้นปีหน้า, สายการบินไทยไลอ้อนแอร์  เป็นการร่วทุนระหว่างำลอ้อนแอร์ของอินโดนีเซียและบริษัทไทยสกายล์ เพร่ิมบินประมาณสิงหาคมนี้ และ สายการบินแอร์เอเชียเอ็กซ์ไทยแลนด์ ซึ่งจะเพ่ิมฐานการบินที่เมืองทไย เร่ิมบินปลายปีนี้ หรือต้นปีหน้า เพราะเห็นศักยภาพของตลาดการบินในไทย ซึ่งได้รับอานิสงส์จากยอดนักท่องเที่ยวต่างชาติแห่เข้ามามาก
             "นายทัศพล แบเลเว็ลด์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายการบินไทยแอร์เอเชีย กล่าวว่าทางกลุ่มแอร์เอเชียมีแผนนำสายการบินแอร์เอเชียเอ็กซืไทยแล้นด์ เปิดให้บริการภายในปลายปีนี้หรือไตรมาสแรกปีหน้า ขณะนี้อยู่ระหว่างการยืนของใบอนุญาตประกอบการเดินอากาศ กับกรมการบินพลเรือน ซึ่งภายในกันยายนนี้น่าจะแล้วเสร็จ โดยเชื่อว่าตลาดโลว์คอสต์เส้นทางระยะไกลมีดีมานด์มากพอที่จะทำให้บริษัทตั้งสายกาบินใหม่ในไทยได้
             " ทั้งนี้ ไม่วิตกกับการแข่งขันรุนแรงในตลาดโลว์คอสต์ หลังไทยไลอ้อนแอร์และไทยเวียดเจ็ทแอร์เตรียมบินภายในประเทศมากขึ้น เพราะตลาดบ้านเราเป็นเค้กก้อนใหญ่ แต่แาจจะได้ตารางบิน(สลอตบิน) ที่ไม่ดีพอ เพราะสลอตดีๆ เจ้าเดิมในตลาดได้ไปหมดแล้ว โดยไทย แอร์เอเชียเองก็เตรยมแผนรับมือเรื่องโรปรโมชั่นราคา เชื่อว่าจะรักษาฐานตลาดไว้ได้ และเราก็มีแผนขยายเส้นทางบินและเที่ยวบินต่อเนื่อง เช่น กรุงเทพฯ - เนย์ปิดอว์ (พม่า) ในเดือนตุลคมนี้ และกรุงเทพฯไจปจีนเพ่ิมอีก 2 เส้นทาง" นายทัศพลกล่าวและว่า ขณะที่ภาพรวมของธุรกิจคาดว่ารายได้ในปีนี้จะเติบโต 20-25% มีผุ้โดยสารเพ่ิมจาก 8 ล้านคนเป็ฯ 10 ล้านคน เคบินแฟกเตอร์เฉลี่ยที่ 82%
              นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รมว. คมนาคม กล่าวว่ ตลาดสายการบินโลว์คอสต์ในอาเซียนขยายตัวสุงมาก ปัจจุบัตมีส่วนแบ่งมากถึง 52% แล้เว ทั้งไทยเองก็เป็นจุดที่มีศักยภาพในการเชื่อมต่อการเดินทางอากาศ ทำให้สายกาบินโลว์คอสต์ต่งๆ เตรียมแจ้งเกิดในไทยมากขึ้นดังนั้น ธุรกิกจการบินในไทย  เช่น การบินไทย การบินไทยสมายล์ รวมถึง บมจ.ท่าอากาศยานไทย(ทอท.) จำเป็นจ้องเร่งปรับตัวรับกับขนาดตลาดที่ใหญ่ขึ้นและคู่แข่งที่มากขึ้น เพราะแค่ในปัจจุบันก็มีผุ้โดยสารมาใช้บริการที่สุวรรณภุมิและดอนเมืองกว่า 60 ล้านคนต่อปีแล้ว
             สอดคล้องกับนายวรเดช หาประเสริฐ อธิบดีกรมกาบินพลเรือน (บพ.) กล่าวเพิ่มเติมว่า นอกเนหือจากเทนด์สายการบินโลว์คอสต์ที่เพ่ิมจำนวนผุ้เล่นมากขึ้นแล้ว ตลาดขาร์เตอร์ไฟลต์เองก็ขยายตัวเช่นกัน โดยเมือปีที่แล้วมีผุ้ประกอบการมาขอใบอนุญาตกับ บพ.แล้วประมาณ 20 สายการบิน และเพิ่งมนุมัติเพ่ิมไปอีก 4 สายการบิน..www.thaizhong.org/index.php?option=com_content&view=article&id=3473:-q--q-&catid=127:asean-news&Itemid=137&lang=th
           
           
         

         
         

วันพุธที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2560

Mega Deal

            "คิง เพาเวอร์" ลงทุนใน "ไทยแอร์เอเชีย" ต่อจิ์กซอว์ท่องเที่ยวครองวงจร..
             ทันที่ที่ "กลุ่ม คิง พเพาเวอร์" ของตระกูลศรีวันาประภา ซื้อหุ้น "บมจ. เอเชีย เอวิเอชั่น" หรือ AAV (ซึ่งเป็นบริษทั่ที่ถือหุ้นร้อยละ 55 ของไทยแอร์เอเชีย) ในสัดส่วน 39% มูลค่ารวมประมาณ 7,945 ล้านบ้าท จากธรรศพลฐ์ แบเลเว็ลต์ และครอบครัว ส่งผลให้ "กลุ่มคิง เพาะเวอร์" กลายเป็นหนึ่งในพี่ใหญ่ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในไทย
              เหตุผลสำคัญที่ "กลุ่มคิง เพาเวอร์" ทุ่นงินเข้ามาซื้อหุ้นในครั้งนี้ เพราะเล็งเห็นโอา
กสของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทย หนึ่งในรายได้หลักของประเทศ โดยจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เข้าไทย คาดการณ์ว่าปี 2559 ไม่ต่ำกว่า 32 ล้านคน ตลาดหลักยังคงเป้นนักท่องเที่ยวจีน ซึ่งเป็นฐานลูกค้าใหญ่ของทั้งคิง เพาเวอร์ และกลยุทธ์การตลดของไทย แอร์เอเชีย มุ่งเจาะนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มากขึ้น
             กระแสความโด่งดังของ "เลสเตอร์ ซิตี้" หรือ จิ้งจองสยาม" ของเจ้าสสั่ววิชัย ศรีวัฒนาประภาพ ประธานกรรมการกลุ่มบริษทัคิ เพาเวอร์ ที่สามารถก้าวขึ้นมาคว้าแชมป์พรีเมีอยร์ ลีก ฟุตบอลลีกสูงสุดของอังกฤษ มาครองในรอบ 132 ปี ของการก่อตั้งสโมสรยังไม่ทันจางหาย ชื่อของเเจ้าสัววิชัย และครองครัว ก็กลับมาเป็นข่าวใหญ่ในแวดวงธุรกิจอีกครั้งหนึ่งเมื่อตัดสินใจ เจียดเงินราว 7,945 ล้านบาท ซื้อหุ้น "เอเชีย เอวิเอชั่น" AAV จาก "ธรรศพลฐ์ แบเลเว็ลด์" และครอบครัว เป็นสัดส่วนถึง 39% หลังจากก่อหน้านี้มีแระแสข่าวออกมาเป็นระยะๆ พร้อมกันนี้เขาได้ส่งลูกชายและ(ุ้บิรหารคิง เพาะเวอร์เขาไปนั่งเป็นกรรมการ รวมทั้งไว้วางใจให้ "ธรรศพลญฐ์" บริหารไทยแอร์เอเชียต่อไป
           วิชัย ศรีวัฒนประภา ประธานกรรมการกลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์ จำกัด ผู้บริหารร้านค้าปลอดภาษี หรือ ดิวตี้ฟรี "คิง เพาเวอร์" ระบุว่า การเข้าไปลงทุนในสายการบินไทยแอร์เอเชยเ็นผนึกกำลังของ 2 ธุรกิจที่อยู่ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้มีศักยภาพในการทำการตลาดได้มากยิ่งขึ้น โดยที่ท้้ง 2 ธุรกิจสามารถจะต่อยอดและสงเสริมซึ่งกันและกันได้อเป็นอย่างดี
           
การมาร่วมกันต่อยอดจะเป็นจังหวะที่ดีที่จะทำให้เกิดจุดเปลี่ยนในุตสาหกรรมท่องเที่ยวและเกิดโอกาสใหม่ๆ ของธุรกิจทั้งกับของฝั่งคิง เพาเวอร์และไทยแอร์เอเชีย
            " การต่อยอดธุรกิจซึ่งกันและกันจะทำให้สามารถทำการตลาดได้ดียิ่งขึ้นนอกจากเป็นประโยชน์กับนักเดินทางท่องเที่ยวแล้ว การซินเนอร์ยีดังกล่าวยังจะข่วยให้ทั้ง 2 ธุรกิจสามารถในการขยายฐานลูกค้าได้อีกทางหนึ่ง โดยเฉพาะกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวจีนที่คาดว่าจะเดินเข้ามาประเทศไทยอีกมหาศาลทั้งในปัจจุบันและอนาคต"
             เขาย้ำว่า "ผมมองลงทุนในธุรกิจสายการบินมานานแล้ว โดยช่วงที่นกแอร์ก่อตั้งผมเข้าไปถือหุ้น 5 %  แต่ด้วยสัดส่วนการถือหุ้นที่น้อยและไม่มีอำนาจบริหารเลยตัดสินใจขายออก การลวทุนในธุรกิจสายการบินนั้นหากธุรกิจเดิมไม่เอื้อจะทำได้ยากมาก ท้้งคิง เพาเวอร์ และไทยแอร์เอเชีย มีอกลุ่มลูกค้าหลักเป็นกลุ่มเดียวกันคือ นักท่องเที่ยวจีน จึงไม่ยากสำหรับการต่อยอดธุรกิจในอนาคต"  วิน วิน ทั้งคิง เพาะเวอร และแอร์ เอเชีย และย่ิงจะทำให้ทั้ง 2 ธุรกิจเติบโตได้ดีขึ้นกว่าเดิม
            ควบคู่กับการขยายธุรกิจมาสู่ธุรกิจสายการบิน ประธาน คิง เพาเวอร์ ยังทุ่มเม็ดเงินลงทุนแอีกไม่ยั้ง เริ่มจากงบประมาณ กว่า ห้าพันล้านบาท สำหรับการปรับโแมครั้งใหญ่ คิง เพาเวอร์ คอมเพล็กซ์ ถนนรางน้ำ เพื่อรองรับการขยายตัวของนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะกลุ่มชาวจีน และสร้างให้เป็นศูนย์กลางรับนักชอป คนไทยและนักท่องเที่ยวนานาชาติกลุ่มเดินทางอิสระ โดยจะเร่ิมปิดปรับปรุงตั้งแต่เดือนเมษายน 2560 เป็นต้นไป คาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 6-7 เดือน
           เช่นเดียวกับ โรงเเรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ ในบริเวณเดียวกัน เน้นลงทุนติดต้งเทคโนโลยีล้ำสมัย สิ่งอำนวยความสะดวกและคอนเซ็บปต์ใหม่ๆ เช้ามาให้บริการห้องพัก ห้องประชุม ห้องจัดเลี้ยงห้องอาหาร เพ่ิมขีดความสามารถทางการแช่งขัน เพื่อให้ลูกค้าได้สัมพัสบริการโฉมใหม่ เปิดเต็มตามรูปแบบเดือนตุลาคม 2559...
          ย้อนกลับไปเมื่อช่วงปลายปี 2558 ที่ผ่านมา แม่ทัพใหญ่ คิง เพาเวอร์ เปรยๆ ว่ามีแผนจะเดินหน้าลงทุนนธุรกิจที่ถนัด ด้วยการผนวกเอา 3 ธุรกิจเข้ด้วยกัน ได้แก่ การท่องเที่ยว ดิวตี้ฟรี และกีฆาฟุตบอล เพื่อประกาศความยิ่งใหญ่ในเอเชียและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งในอีก้านหนึ่งจะเป็นการช่วยรัฐบาลสร้างมูลค่าทำใ้ประเทศไทยและวิถีชุมชนฐานรากเจ้าของแหล่งท่องเที่ยว แลห่งผลิตสินค้า ขยายช่องทางการจำหน่าย โฆษณาประชาสัมพันธ์การตลาด ผ่านเครื่อข่ายดิวตั้ฟรี และการแข่งขันฟุตบอลระดับโลกทุกแมตซ์ระหว่างการถ่ายทอดสู่สายตาผู้ชมทั้งโลกหลายร้อยล้านคนจะได้เห็นแปรนด์ประเทศไทย
         www.matichon.co.th/news/181841
การขยายอาณาจักรทางธุรกิจจากธุรกิจดิวตั้ฟรี และธุรกิจฟุตบอล มาสู่ธุรกิจสายการบินครั้งนี้ อาจจะเป็นจิ๊กซอว์สำคัญอีกตัวหนึ่งที่เจ้าสัววิชัย จะใช้เป็นบันไดในการก้าวข้ามไปสู่ธุรกิจอื่นๆ ทีเ่กี่ยวเนื่องในอนาคต...
          นอกจากการควบรวมระหว่างคิง เพาเวอร์ และไทยแอร์ เอเชียแล้วยังมี ยังใหญ่ที่จับมือกันให้สะเทือนวงการธุรกิจไทย อีก ทั้งในรูปแบบการเข้าซื้อกิจการ การเข้าถือหุ้น รวมไปถึงการซื้อหุ้นจากการเพ่ิมทุน เพื่อจับมือเป็นพันธมิตรกัน ซึ่งได้รวบรวมการผนึกกำลังกันระหว่างองค์การครั้งใหญ่ ทั้งบริษัทไทยด้วยกันเอง บริษัทไทยกับบริษัทต่างชาติ หรือแม้แต่บริษัทต่างชาติสร้างความรวมมือกัน แล้วมีผลมายังตลาดประเทศไทย ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า ความเคลื่อนไหวต่างๆ เหล่านนี้้ เป็นเหตุการณ์ที่น่าบันทึกไว้ในหน้าประวัติศาสตร์วงการธุรกิจไทย..
           "กลุ่มเซ็นทรับ" ซื้อ "ZAlora" ประเทศไทย เสริมแกร่งธุรกิจออนไลน์
            กลุ่มเซ็นทรัล" เข้าซื้อกิจการ "ซาโลร่า ประเทศไทย" เพื่อเสริมศักยภาพธุรกิจออนไลน์ เนื่องจากเล็งเห็นความแข็งแกร่งของซาโลร่า ซึ่งเป็ฯออนไลน์แฟชั่นยอดนิยมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีกลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ หนุ่มสาวออฟฟิต หรือผุ้ที่ช่นชอบแฟชั่น อีกทั้งมีจุดแข็งการเป็นศูนย์รวมของความหลากหลายสินค้าและไอเทมแฟชั่นต่างๆ ทั้งแบรนด์ไทยและแบรนด์ระดับโลก หว่า 80,000 รายการ รวมทัี้งมีระบบออกไลน์ที่สะดวกรวดเร็ว จึงสามารถตอบโจทย์ผู้บริโภคได้ครอบลคลุมทังภูมิภาคนี้
            เมื่อรวมกับความน่าเชื่อถือของ "กลุ่มเซ็นทรัล" จึงคาดว่าจะก่อให้เกิดการจับจ่ายใช้สอยแบบไร้รอบต่อระหว่างออนไลน์และออฟไลน์ และทำให้กลุ่มเซ็นทรับเข้ถึงฐานข้อมุลลูกค้าออนไลน์และฐานข้อมูลของซัพพลายเออร์ได้มากขึ้น ขณะเดี่ยวกัยมุ่งหวังว่าจะทำให้ยอดขายของเซ็นทรัลออนไลน์เพ่ิมขึ้นเป็น 2 เท่า
            "Alibaba" ควบรวมกิจการ "Lazada" รุกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
             นับเป็น เมกะ ดีล ที่สร้างแรงสั่นสะเทือนให้กับธุรกิจ อี-คอมเมิร์ซ ทั้งในไทย และทั่วโลกเลยที่เดียว ซึ่ง อาบีบาบา ยังใหญ่ อี-คอมเมิร์ซ ของจีน ทุ่มเงินกว่ พันล้านเหรียญสหรัฐ ซื้อกิจการ "ลาซาด้า" เพราะหลังจาก "อาลีบาบา" มีัฐานธุรกจแข็งแกร่งในจีนแล้ว สเตบต่อไป คือพุ่งทะยานสู่ตลาดต่างประเทศ และ "ตลาดเอเชียตะวันออกเฉึยงใต้" คือ หนึ่งในเป้าหมายสำคัญที่มักรรายนี้ต้การปักธง
            การซื้อกิจกรธุรกิจออนไลน์ "ลาซาด้า" ที่แจ้งเกิดในภูมิภาคนี้ได้สำเร็จแล้ว ทำให้ "อาลีบาบา" ไม่ต้องเสียเวลาเร่ิมต้นจากศูนย์ และเป็น "ทางลัด" ที่จะรุกตลาดได้เร็วและแรงที่สุด...
           
"อาลีบาบา" ควง "กลุ่มซีพี" รุกการเงนิดิจทัลเอเชีย
             เป็นปรากฎการณืความร่วมมือครั้งใหญ่แห่งปีก็ว่าได้ เมื่อ "บริษัท แอนท์ ไฟแนนเชียล เซอร์วิสเซส กรุ๊ป" ผุ้ให้บริการทางการเงินดิจิทัล "Alipay" ในเครือ "อลีบาบา กรุ๊ป" ประกาศความร่วมมือกับ "บริษัท แอสเซนด์ มันนี้" ในเครื่อเจริญโภคภัฒฑ์ ให้บริการธุรกิจเทคโนโบยีทางการเิงน ทั้งในไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภายใต้ชื่อ "ทรู มันนี้" บริการทางการเงินดิจิทัล แะล "แอสเซนด์ มันนี่" ธุรกิจเงินกู้รายย่อย
              การจับมือกันครั้งนี้ "แอนท์ ไฟแนนเชียล" จะเข้ามถือหุ้นในสัดส่วน 20% "แอสเซนด์ มันนี" และมีโอกาสเพิ่เป็น 30% ในปี 2561 โดยทั้งสองฝ่ายต่างมองว่าจะช่วยเสริมความแข็งแกร่งซึ่งกันและกัน เพ่อสานฝันของตนเองให้เป็นจริง....
             ตำนานบทใหม่ "บิ๊กซี" ภายใต้ชายคา "กลุ่มเจ้าสัวเจริญ"
             หลังจาก "คาสิโน กรุ๊ป" ผุถือหุ้นรายใหญ่ของ "บิ๊กซี" ในประเทศไทย ประกาศขายหุ้น ก้มีข่าวมาเป็นระยะๆ ยนับเนื่องตั้งแต่ปี 2558 ว่ากลุ่มทุนใดจะเป็นผุ้คว้า "บิ๊กซี" ในไทยไปครอง กระทั่งเมื่อต้นปี 2559 ในที่สุดผุ้ที่ได้ไป คือ "บริษัท แบอร์ลียุคเกอ์ จำกัด (มหาชน)" หรือ "BJC" เป็นผุ้ถือห้นใหญ่ (บริษัทในเครือง "ทีซีซี กรุ๊ป" ของเจ้าสัวเจริญ สิริวัฒนภักดี) โดยถืหุ้นในามสองบริษัทย่อยของ BJC คือ "บริษัท บิเจซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ จำกัด" และบริษัท สัมพันธ์เสมอ จำกัด"
             ขณะที่ต่อมากลุ่มเซ็นทรัล ซึ่งถือหุ้นในบิ๊กซีในไทย สัดส่วน 25% ได้ขายหุ้นที่มีอยู่ให้กับกลุ่มเจ้าสั่วเจริญ จากนั้นกลุ่มเซ็นทรัล ได้ร่วมกับกลุ่มเหงียนคิม พันธมิตรธุรกิจในเวียดนา เข้าื้อกิจการบิ๊กซี ประเทศเวียดนาม
              การได้บิ๊กซีในไทย ค้าปลีกในเซ็กเมนต์ดิสเคาน์สโตร์มาครอบครองได้สำเร็จ เป็นการต่อจิ๊กซอรว์ใหย๋ของ "ธุรกิจปลายน้ำ" ในเครือทีซีซี กรุ๊ปที่ต้องการสร้างอาณาจักรให้มีความครบวงจรและครอบคลุมตั้งแต่ "ต้นน้ำ" คือ การผลติ - "กลางน้ำ" คือการจัดจำหน่าย และ "ปลายน้ำ" คือ ธุรกิจค้าปลีก ที่ผลักดันให้สินค้าและบริากต่างๆ ในเครือเข้าถึงผุ้บริโภคมากที่สุด...
               "เครือโรงพยาบาบกรุงเทพ" ฮุบ "ปาร์คนายเลิส" สร้างศุนย์สุขภาพครอบวงจร
               อีกหนึงดีลใหญ่ที่ช็อกวงการธุรกิจ และคนทั่วไปไม่น้อย เมื่อ "บริษัทกรุงเพทดุสิตเวชการจำกัด (มหาชน)"หรือคุ้นเคยกันในนาม "เครือโรงพยาบายกรุงเทพ" ของน.พ. ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ ได้ให้บริษัทย่อย เช่าญื้อที่ดินบริเวณโครงการปาร์คนายเลิศกว่า 15 ไร่ จากที่ดินทั้งหมดเกือบ 40 ไร่ พร้อมสิ่งปลูกสร้าง(ไม่นับรวมบ้านปาร์คนายเลิศ และสวน ที่ปัจจุบันเป็นพิพิธภัฒฑ์ปาร์คนายเลิส ยังคงเป็นมรดกของตระกูลสมบัติศิริ) ด้วยมูลค่า 10,800 ล้านบาท เพื่อพัฒนาเป็น BDMS Wwllness Clinic" โครงการศูนย์สุขภาพครบวงจร รวมทั้งให้บริการด้านเวชศาสตร์ชะลอวัย และฟื้นฟุสุขภาพแบบครอบวงจรรายแรกในภูมิภาคเอเชีย...
               "กลุ่มเจ้าสัวเจริญ" ต่อลมหายใจ "กลุ่มอมรินทร์"
             
ภาวะประกอบการขาดทุนจาการดำเนินงานในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาของ "บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งงแอนด์ พบลิชชิง จำกัด (มหาชน)" เจ้าของสื่อสิ่งพิมพ์ ธุรกิจจ New Media-Event และธุรกิจทีวีดิจิทัล อัมรินทร์ ทีวี ส่งผลกระทบต่อสภาพคล่องทางการเงินที่ใช้เป็เวินทุนหมุนเวียนในกาดำเนินธุรกิจ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องใช้เงินทุน โดยเฉพาะการเอาไปลงทุนเพ่ิมเติมในธุรกิจทีวีดิจิทัลที่อยู่ในช่วงของการเริ่มต้นธุรกิจซึ่งมีต้นทุนการดำเนินการที่สูง
               ด้วยเหตุนี้ "กลุ่มอมรินทร์" ตัดสินใจเพิ่มทุนและขายหุ้นใหักับ "บริษัท วัฒนภักดี จำกัด" จำนวน 200 ล้านหุ้น รวมมูลค่า 850 ล้านบาท ซึ่งบริษัทดังกล่วมี "ฐาปน สิริวัฒนภักดี" และปณต สิริรวัฒนภักดี" เป็นผุ้ถือหุ้นใหญ่ ทำให้ "บริษัท วัฒนภักดี จำกัด" กลายเป็นผุ้ถือหุ้นใหญ่ของ บมจ. อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง ในสัดส่วน 47.62% โดย "กลุ่มอมรินทร์" มีแผนการใช้เงินที่ได้จากการเพ่ิมทุนนี้ ภายในต้นปี 2561 เืพ่อให้ธุรกิจสามารถดำเนินต่อไปได้
               ขณะเดียวกันในภาวะอุตสาหกรรมธุรกิจทีวีดิจิทัลมีการแข่งขันสูง "กลุ่มอมรินทร์" มองว่าการมีพันธมิตรทางธุรกิจที่มีความพร้อมในด้านเงินทุนและมีความเชี่ยวชาญในการดำเนินธุรกิจ รวมถึงมีสถานะทางการเงินและสายสัมพันธ์ทีดีกับกลุ่มธุรกิจที่หลากหลาย จะทำให้บริษัทฯ ได้รับเงินตามจำนวนที่ต้องการ และช่วยเพ่ิมความเชื่อมั่นในการดำเนินธุรกิจ...www.brandbuffet.in.th/2017/01/mega-deal-2016/
         
           

วันอังคารที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560

Lion Air

        การเปิดเสรีการบินอย่างเต็มรูปแบบของสมาชิกอาเซียน 10 ชาติในปี 2015 เป็นแรงดึงดูดสำคัญให้
สายการบินต่างๆ ภายในภูมิภาคหวังแย่งชิงตลาดผู้โดยสารกว่า 600 ล้านคน และการขนส่งสินค้าอีกจำนวนมหาศาลได้อย่างเสรี เกมการแข่งขันที่ดุเดือดร้อนแรงเช่นนี้จะกลายเป็นโอกาศของใคร?
         ไลอ้อนแอร์ กรุ๊ป หนึ่งในกลุ่มสายการบินที่น่าจับตามองของอินโดนีเซีย ประกอบดวยสายการบิน ไลออน แอร์ และ วิงซ์ แอร์ ซึ่งเป็นเจ้าตลาดภายในประเทศกว่าครึ่ง ด้วยการให้บริการแบบสายการบินต้นทุนต้อ เชื่อต่อจุดหมายปลายทางทั้งภายในประเทศและทวีปเอเชีย เช่น สิงคโปร์ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และ ซาอุดิอารเบย ก่อนที่จะเร่มหันมาจับตลาดแบบสายการบินเต็มรูปแบบ ภายในประเทศด้วยการตั้งสายการบิน บาติค แอร์ ในปี 2013 และในปีเดียวกันนี้ ไลอ้อน แอร์ กรุ๊ป ยังได้สยายปีกเข้าสู่ตลาดอาเซียนอย่างเต็มตัวด้วยการตั้งสายการบิน มาลินโด แอร์ ในมาเลเซีย และ ไทย ไลอ้อนแอร์ ในประเทศไทย เพื่อมุ่งหวังสู่การเป็นกลุ่มสายการบินเบอร์หนึ่งของภูมิภาคอาเซียน
         
 เติบโตจากตลาดภายใน อย่างแข็งแกร่งด้วยกลุยุทธ์ โลว์ ครอส อินโดนีเซียเป็นตลาดการบินที่ใหญ่ทีุ่ดในภูมิภาคเพราะมีพื้นที่กว้าง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเกาะที่ต้องใช้เครื่องบินในการเดินทางเชื่อมต่อ อินโดนีเซียยังมประชากรมากถึง 250 ล้านคนแต่ประชาชนส่วนใหญ่มีรายได้ต่อคนไม่สูง จึุงเป็นโอากสของสายการบินราคาประหยัดอย่าง ไลอ้อน แอร๋ ที่เข้ามาที่หลังแต่สามารถครองส่วนแบ่งตลาดภายในได้สูงถึง 50% หรือคิดเป็น 32% ของตลาดโลว์ ครอส ในอาเซียน ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 รองจากลุ่ม อร์ เอเชีย ที่ครองส่วนแบ่ง 34%
           รักษาส่วนแบ่งตลาดภายในอินโดนีเซียนด้วยการเพ่ิมบริการแบบ ฟลู เซอร์วิต พร้อมวางยุทธศาสต์เป็น ฮับ ต่อไปยัง โอเซียนเนีย การเข้ามามาของคู่แข่ง อย่าง อินโดนีเซียน แอร์ เอเชีย และ ไทยเกอร์ แอร์  แมนดาลา ทำให้เจ้าตลาดเดิมอย่าง ไลอ้อน ต้องปรับตัวด้วยการตั้งสายการบิน บาติค แอร์ เื่อเพ่ิมสวนแบ่งตลาดใน เซกเม้นต์ แบบ ฟลู-เซอร์วิส โดย EIC มองว่าคำสั่งซื้อเครื่องบิน โบอิ้ง737 จำนวน 230 ลำ ในปี 2011 และ แอร์บัส A320 จำนวน 234 ลำของ ไลอ้อนแอร์ จะถูกใช้ในการเพิ่มเส้นทางบินเส้นทางบินใหม่และเพิ่มความถี่ในเส้นทงดิมเพื่อปกป้องตลาดภายใน ส่วนที่เหลือจะถูกใช้ในยุทธศาสตร์การเป็น รีเจียนอล แอร์ไลน์ โดยเฉพาะฐานการบินในอินโดนีเซียที่อาจใช้เป็น ฮับ เชื่อมต่อไปยังภูมิภาค โอเชียนเนีย เช่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และกาะทางตะวันออกเพ่ิมมากขึ้น
          เจาะตลาดเพื่อบ้านด้วยกลยุทธ์เหมือน-ต่าง ในปี 2013 ไลอ้อน แอร์ กรุ๊ป เริ่มเจาะตลาดเพื่อนบ้านด้วยการสร้างจุดเหมือนจุดต่างที่น่าสนใจ ทั้งกรขยายตาดเข้าสู่ประเทศมาเลเซียด้วยการตั้งใายการบิน มาลินโด แอร์ ใช้กลยุทธ์ ไฮบริด โมเดล ที่บริหารแบบ โลว์-ครอส แต่เน้นจับตลาดบริการแบบ ฟลู-เซอร์วิส  ใช้กลยุทธ์ราคาที่แข่งขันได้พร้อมให้บริการอยู่กึงกลางระหว่าง นก แอร์ และ ไทยแอร์ เอเชีย โดยเห้นโอากสจากจำนวนนักท่องเที่ยวที่เพ่ิมูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ส่วนแบ่งตลาด โลว์ -ครอส ของไทยยังมีน้อยเพียง 29% ซึ่งยึุงสามารถเติบโตได้ถึง 50% เหมือนตลาดอื่นๆ ในอาเซียน
         EIC มองว่า ไลอ้อน แอร์ ตั้งใจวางยุทธศาสตร์สามเหลี่ยมการบินเชื่อมต่อสามภูมิภาคโดยใช้มาเลเซียเป็นฐานเชื่อมกับภูมิภาคเอเชียใต้ เช่น อินเดีย และวางไทยเป็นฐานเชื่อมไปยังเอเชียตะวัีนออกโดยเฉพาะตลาดจีนกือบครึ่งโลก จะสายฝัน ไลอ้อน แอร์ สู่การเป็น รีเจียนอล แอร์ไลน์ อันดับหนึ่งของอาเซียนภายใต้สโลแกน "We make people fly" ซึ่งเป็นแนวทางที่น่าสนใจและรอวันพิสูจน์ พยัคฆ์ติดปีกรายนี้จะอยุ่รอดในศึกชิงเจ้าเวหาของตลาดอาเซียนได้สำเร็จหรือไม่...www.scbeic.com/th/detail/product/739

วันจันทร์ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2560

Air Asia

           แอร์ เอเชีย เปิดตัวและรเมทำากรบินในฐานะสายการบินราคาประหยัด เมื่อวัยที่ 18 พศจิการยน 1996 หรือ เมื่อ 18 ปี ที่ผ่านม ซึ่งต้องยอมรัีบว่า แม้จะเคลื่อผ่านมรสุมหลายครั้งแต่ Air asia ก้สามารถทะยายผ่านอุปสรรคและติบโตจจนหลยเป้นหนึ่งในแบรนด์ชั้นนำของทั้ง ASEAN  และ Asia wxc]h;
           ความสำเร็จของ แอร์ เอเชีย ในด้านหนึ่งอยู่ที่การวางผุทธศาสตร์และตำแหน่งทางะูรกิจที่ชัดเจน โดยเฉพาะการยึคดมั่นใน โลว์ ครอส ซึ่งทำให้การบริหารและพัฒนาองค์การดำเนินไปอย่างรัดกุม ทั้งใรมิติของการกำหนดกลุ่มเป้าหมาย และการใช้ครื่องบินรุ่นเดี่ยวประจำการในฝูงบิน เพื่อลดต้นทุนการซ้อมบำรุงและเกิดความสะดวกในการให้บริการ
          ข้อเท็จจริงที่น่าสนใจมากประการหนึ่งก็คื อแม้ว่าทุกประเทศในภูมิภาค ASEAN จะมีผุ้ประกอบการสายการบินหลากหลาย และมีาสายการบินแห่งชาติหรือ แฝกส์ แคร์รีเออร์ ที่นำพาความภคาภุมิใจของแต่ละประเทศลอยลอ่งเหนือน่านฟ้าแต่ชื่อง แอร์ เอเชีย กำลังโดดเด่นอยู่เหนือสายการบินแห่ชาติอย่าง มาเลเซียน แอร์ไลน์ไปแล้ว
          โทนี้ ฟอร์แนนเดส ประสบความสำเร็จเป็ยอย่างดีในการแปลงสภาพของ แอร์เอเชีย จากสายการบินที่ขาทุนย่อยยับในปี 2001 ในสามารถบันทึกผลประกอบการกำไรไ้ภายใน 1 ปี แต่นั่นอาจไม่สำคัญเท่ากับการที่เขาเป็นผุ้ผลักดันให้รัฐบาลมาเเลีดำเนินนโยบายเปิดเสรีการบินกับประเทศเพื่อบ้านซึ่งหยถึงโอากสในการเพ่ิมจุดหมายปลยทางและสิทธิการลงจอดของ แอร์ เอเชีย
          ขณะเดียวกันยังเป็นการสร้งแรงกระตุ้นให้เกิดสายการบิน โลว์ ครอส ของผุ้รปะกอบการรายอื่นๆ ทั่วภูมิภาคเอเชียตะวนออกเแียงใต้ ดดยเฉพาะอย่างยิ่งสายการบิน โลว์ ครอส ที่จัดตั้งโดยสายการบินที่มีฐานะเป็นแฟกซ์ แคร์รีเออร์ ของแต่ละชาติด้วย การประชาสัมพันะ์ของ แอร์เอเชีย ในช่วงที่ผ่านมาได้ข้ามผ่านบริบทของการมุ่งเน้นไปที่ต่าโดยสายราคาต่ำที่ดำเนินต่้เนื่องมาในช่วงก่อน ไปสู่การระบุถึงการเป็น ASEAN Airline ที่พร้อมจะนำพาผุ้โดยวานจากทุกมุมโลกเิรนทางเข้าสูภูมิภาคนี้
           สอดรับกับข้อความใน เว็บไซด์ ของแอร์ เอเชียที่นอกจากจะบอกเล่าความเป้นมาและเป็นไปของสาายกานบินแห่งนี้แล้ว ยังได้ระบุถึงการพัฒนาไปสู่การเป็น ASEAN Brand ซึ่งสะท้อนวิสัยทัศน์และป้หามหมายขององค์กรแห่งนี้ไว้อย่างชัดเจน บทบาทของ แอร์ เอเชีย ในห้วงเวลานับจากนี้ จึงไม่อาจประเมินว่าเป้นเพรียงสายการบินต้นทุนต่ำแต่เพียงลำพัง หากแต่บางที่ภายใต้กรอบโครงความร่วมมือระดับภูมิภาค แอร์ เอเชีย กำลังไต่ระดับขึ้นสู่การเป็น แฟกซ์ แคร์รีเออร์ ของ แอเซียนทั้งระบบ
         
กลไกสำคัญที่ทำให้ แอร์เอเชีย แตกต่างและไปได้ไกลหว่าสยการบินราคาประหยัดแห่งอื่นๆ ในด้านหนึ่งอยุ่ที่จุดเริ่มตนของความคิดที่จะดำเนินธุรกิจ เนื่องเพราะ แอร์เอเชีย ถือกำเนิดขึ้นมาภายใต้วัตถุประสงค์ของการเป็นสายการบิน โลว์ ครอส ตั้งแต่ขึ้นตอนเร่ิมต้น แตกต่งจากสายการบินราคาประหยัดแห่งอื่นที่ถูกจัดตั้งขึ้นในฐานที่เป็นเพียงอีกหน่วยธุรกิจของสายการบินที่มีการให้บริการเต็มรูปแบบอยู่แล้ว
           ซึ่งในกรณีนี้ดูเหมือนว่าในหลายกรณีจะได้สะท้อยภาพให้เป็นประจักษ์แล้วว่าไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ส่วนหนึ่งเพราะขาดทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในมิติของการหยัดยืนเพื่อนำพาองค์กร
           ยังไม่นับรวมประเด็นว่าด้วยสายกาบินราคาประหยัดแห่งอื่่นๆ มีสถานะเป้นบริษัทลูกของสายการบินแห่งชาติ ทีเมือเกิดปัญหาในเชิงธุรกิจกลับไม่สามารถแก้ไขด้วยมิติของการบิรหารจัดการอย่างเต็มที่ กลับประเมินว่าจะมีภาครัฐเข้ามาโอบอุ้มดูแล ซึ่งำให้กระบวนการพัฒนาในเชิงธุรกิจของสยการบินรคาประหยัด ปยู่ในภาวะชะงักงันและพ้อมจะถูกกลไกทางการเมืองแทรกแซงอยู่เสมออีกด้วย
          จริงอยู่ที่ว่า แอร์เอเชีย ในระยะเริ่มแนกก็มีสภาพไม่แตกต่างจากบริฒัทที่ได้รับการฟูมฟักจากรัฐบาลมาเลเซียแห่งอื่นที่ปรากฎตัวขึ้นจำนวนมาก จากผลของมาตการที่จะกระตุ้นให้เกิดการเคลื่อตัวทางเศรษฐกิจภายในประเทศ ตามแนวนโยบายของ ดร.มาฮาแดร์ บิน โมฮาเมต นายกรัฐมนตรีผุ้ทรงอิทธิพลของมาเลเซียในขณะนั้น
          แต่เส้นทางการเติบโตของ แอร์เอเชีย มีได้โรยด้วยกลีบกุกลาบ อีกทั้งในความเป็นจริง แอร์เอชีย ต้องประสบปัญหาการขาดทุนอย่งหนัก ก่อนที่ โทนี เฟอร์นานเดส ผุ้ก่อตั้งบริษทั่ ทรู แอร์ เอสดีเอ็น, บีเฮสดี, จะเข้ามารับโอนและครอบครองกิจการของ แอร์ เอเชีย และพลิกฟื้น แอร์ เอเชีย จนสามารถสยายปีกแผ่กว้างออกไปยอ่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
          จุดเเข็งอีกส่วนหนึ่งที่ทำให้ แอร์เอเชีย ที่ห่วงท่านที่ก้ายหสร้าและสามารถเป็นผุ้นำในตลาดสายการบินราคาประหยัดได้อย่งมั่นคงอยุ่ที่ความสามารถในการสร้างตลาดใหม๋ๆ ควบคู่กับทางเลือกที่หลากหลายซึ่งทำให้บริการของ แอร์ เอเชีย รอบสนองกับความต้องการของผุ้โดยสานได้คอรอบคลุม และมีภาพลักษณ์เป็นผุ้นำตลาดอย่างโดดเด่น
           จำนวนและรุ่นของเครื่องยินเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ แอร์ เอเชีย มีศักยภาพเหนือคู่แข่งขันในตลาดสายการบินราคาประหยัดอย่างเห็นได้ชัด โดย แอร์เอเลีย เลือกที่จะใช้ แอร์ บัส A320-200 เป็นเครื่องบินหลักในการให้บริการ และมีเครื่องบินประจำการในฝูงบินรวมมากถึง 170 ลำ และอยุ่ระหว่างกานรสั่งซื้อเพ่ิมอีก 58 ลำ
            นอกจากนี้ ยังเตรียมพร้อมที่จะรองรับการขยายตัวในอนาคตด้วยกสราั่งซื้อ แอร์บัส เอ 320 นีโอ เพ่ิมอีก 291 ลำ ซึ่งจะยิ่งทำให้ แอร์เอชีย หนี้ห่างจากผุ้ประกอบการรายอื่นๆ ไปไกลอีพอสมควรเลยที่เดียว หากกล่าวเฉพาะในกรณีของ ไทย แอร์ เอเชีย ซึ่งมีเครื่องบินประจำการในฝูงบินรวม 40 เครื่องในปัจจุบันเมื่อเที่ยบกับสายการบินราคาประหยัดรายอื่นๆ ที่ช่วงชิงน่านฟ้าอยู่ในเมืองไทย ก็จะยิ่งเห็นความแตกต่างในเชิงศักยภาพการแข่งขันที่ห่างกันมากขึ้นไปอีก
            แม้น่านฟ้าจะไร้ขึดจำกัด และยังมีที่ว่งใหเติมเต็มอย่างกว้างขวาง แต่ในการแข่งขันที่กำลัีงบับอัดและเขม็งเหลี่ยเพื่อความอยุ่รอดในธุรกิจการบินนี้ แอร์ เอเชีย อาจกำลงจะสร้างประากฎการณืที่เป็นจุดพลิกผันครั้งใหญ่สำหรับน่านฟ้า ASEAN ก็เป็นได้
       
           gotomanager.com/content/%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%AB%E0%B8%B2-airasia-%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B9%82%E0%B8%95/


วันอาทิตย์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2560

Potential Aviation : ASEAN

           ประเมินศักยภาพการบินอาเซียน ฤๅ สายการบินแห่งชาติพ่าย low cost ?
            ASTV ผุ้จัดการสุดสัปดาห์ ข่าวความเป็นไปของสายการบินแห่งชาติ การบินไทย ที่กำลังอยุ่ระหว่่างการปรับปรุงโครงสร้างและฟื้นฟูธุรกิจจากที่ประสบปัญหาขาดทุนต่อเนื่องและสะสมยาวนาน ไม่เพียงแต่สั่นคลอนองค์กรธุรกิจแห่งนี้โดยลำพังเท่านั้น หากแต่ยังก่อให้เกิดคำถามถึงศักยภาพการแข่งขันของประเทศในห้วงยามที่กำลังจะเดนหน้าเข้าสู่ประชาคมเศราฐกิจอาเวียนไปโดยปริยายด้วย
            ข้อเท็จจริงที่น่าสนใจประการหหนึ่งก็คือในบรรดาประเทศสมาชิกอาเวียนทุกประเทศต่งมีสายการบินแห่งชาติหรือ flag carrier ซึ่งเป็นประหนึ่งธงนำในการสื่อแสดงสัญลักษณ์และความจำเรญก้าวหน้าของแต่ละประเทศไปสูสาธารณชนในระดับนานาชาติ และต่างมีภุมิหลังที่มาในฐานวิสาหกิจของรัฐที่ได้รับการคุ้มครองและสนับสนุนมาอย่างยาวนาน
            แต่ภูมิทัศน์ของอุตสาหกรรมการบินได้ปรับเปลี่ยนไปอย่างมา ดดยเฉพาะในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา
         
อุตสาหกรรมการบินในระดับนานาชาติถูกบีบอัดด้วยข้อจำกัดและส่วนต่างของผลกำไรที่ลดลงอย่างมากในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา และเป็นผลให้สายการบินแต่ละแห่งต้องเร่งปรับปรุงการบิรหารจัดการทั้งในมิติของการลดต้นทุนการดำเนินการและการเร่งสร้างความเติบโตทางรายได้ควบคู่ไปด้วย
            ประเด็นที่น่าสนใจติดามก็คือ อุตสาหกรรมการบินถือเป้นอุตสาหกรรมที่มีการเติบโตต่าเนื่อง โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาจากมิติของรายได้ ซึ่ง อินเตอร์เนชั่แนล แอร์ ทรานสปอตส์ แอสโซซิชั่น ระบุว่าในรอบ 10 ปี ที่ผ่านมา อุตสาหกรรมการบินมีรายได้เพ่ิมจาก 3.69 แสนล้านเหรีียญสหรับฐในปี 2004 มาสู่ระดับ 7.46 แสนล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2014 หรือเพิ่มขึ้นเท่าตัว
            แม้แนวโน้มของอุตสาหกรรมการบิน จะยังปรากฎแสงเรืองรอง นั่นก็มิได้หมายความว่าผุ้ประกอบการสายการบินจะสามารถคาดหมายและบันทึกตัวเลขผลกำไรอย่างเป็นกอบเป็นกำและสม่ำเสมอลงในรายงานผลประกอบการเช่นในอดีต ซึ่งคงเป็นสิ่งที่หาได้ยากในสถานากาณืปัจจุบัน
            ปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลให้อุตสาหกรรมการบินในระดับนานาชาติยังเติบโตต่าเนื่องอยุ่ที่การเกิดขึ้นและขับเคลือนของสายการบินประเภท Low-Cost Carriers ซึ่งครอบครองส่วนแบ่งตลาดการบินอยู่ในสัดส่วนที่มากถึงร้อยลุะ 25 และยังมีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่องในตลาดเกิดใหม่และกำลังพัฒนา ขณะเดียวกันสายการบิน โลว์ ครอส เหล่านี้ก็สามารถเบียยแทรกเข้าไปทำตลาดและเติมเต็มช่องว่าในตลาดที่พัฒนาแล้วได้อีกด้วย
           กล่าวเฉพาะสำหรบตลาดการบินในอาเวียนซึ่งถือเป็นตลาดการบินที่มีการเติบโตและแข่งขันสูงที่สุดภูมิภาคหนึ่งของโลก พบว่าร้อยละ 60 ของกิจกรรมการบินในภูมิภาคนี้ ดำเนินไปภายใต้ปีกของสายการบิน โลว์ ครอส ซึ่งมีสวนอย่างสำคัญในการขยายจำนวนผุ้โดยสารเครื่องบินในภูมิภาคในช่วงที่ผ่านมาและยังม่แนวโน้มที่จะเติบโตได้อีกในอนาคต
          กระนั้นก็ดี การเติบโตที่ว่านี้ กลับไม่ได้ส่งผลในการสร้างผลกำไรอย่างมากมายเท่าใดนัก โดย IATA ประเมินว่า ส่วนต่างของผลกำไรของสายการบินจะอยู่เพียงระดับร้อยละ 3 เท่านั้น
          ขณะเดียวกันการแข่งขันที่หนักหน่วยในตลาดอาเวยน ส่งผลให้ในช่วงครึ่งแรกของปี 2014 ที่ผ่านมา มีสายการบินในอาเว๊ยน 17 แห่งที่บันทึกผลประกอบการกำไร แต่ในจำนวนนมีเพียง 4 แห่งเท่านนั้นที่มีผลกำไนจากการประกอบการการบิน ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องจากการมุ่งขยายตัวเพื่อการแข่งขันอย่างรวดเร็ซของสายการบินแตะละแห่ง
       
  แม้ในช่วงครึ่งหลังของปี 2014 สถานการณืในตลาดการบินอาเวียนจะกระเตื้องขึ้นบ้าง จากผลของการชะลอการขยายูงบินของผุ้ประกอบการแต่ละราย แต่ประเด็นว่าด้วยการแข่งขันด้านราคาอย่างไร้เหตุผลและการดำเนินงานที่ไม่ประสบผลกำไรยังเป็นประเด็นที่อุตสาหกรรมการบินในอาเวียนยังต้องเลชิญต่อไปในระยะยาว หากประเมินศักยภาพของสายกาบินที่มีสาถนเป้นสายการบินแห่งชาติในอาเวียน ต้องจัดกลุ่สายการบินอย่าง กัมพูชา อังกร์ แอร์ ลาว แอร์ไลน์ เมียนมาร์ แอร์เวย์ อินเตอร์เนชั่นแนล และ รอยัล บรูไน แอร์ไลน์ ไว้เฉพาะกลุ่มหนึ่ง เเพราะด้วยโครงสร้างของขนาดตลาดภาในประเทศ จำนวนเครื่องบินในฝูงบินรวมถึงเส้นทางการบินระวห่งประทศ สายการบินเหล่านี้นังอยู่ในระยะเริ่มต้น หากแต่ในโอกาศที่จะเติบโตในอนาคตได้อีกมก
          ขณะที่สายการบินของทั้งอินโดนีเซียน มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ซึ่งเคยได้ชื่อว่าเป็นประเทศกลุ่มนำในอาเวียน กำลังเผชิญกับการแข่งขันที่หนักหนวงโดยสายการบินแห่งชาติทั้งการบินไย และ มาเลเซีย แอร์ไลน์ อยู่ในภาวะที่ต้องเร่งหาทางออกาจากปัญหาหนี้นินและการขาดทุนสะสมจาก
การประกอบการ ท่ามกลางข้อเท็จจริงอีก้านหนึ่งที่ปรากฎภาพการเติบโตขึ้นของสายกาบินต้นทุนต่ำ ซึ่งกำลังเบียดแย่งเส้นทางการบินในภูมิภาคและเร่งเสริมสร้างฝูงบินที่แข้.แกร่งขึ้นเป็นลำดับ พร้อมกับการมาถึงของ เวียดนาม แอร์ไลน์ ทีทะยานขึ้นสุ่ห้วงนภาของอาเซียอย่างช้าๆ หลังจากที่เวยดนามปรับสัมพันธ์ทางการทูตกับสหรัฐอเมริกา ในช่วงปี 1994 และขยายตัวอย่างรดเร้ซในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา
          ตลาดการบินของเวียดนามอาจจะได้รับการประเมินว่ามีขนาดค่อนข้างเล็กเมื่อเปรียบเที่ยบกับ อินโดนีเซียน มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ และไทยแต่ถือเป็นตลาดที่มีศักยภาพในการเติบโตอย่างมากเมือ่เที่ยบกับตลาดหลักในกลุ่มอาเซียนด้วยกัน  ประเด็นที่น่าสนใจก็คือการรุกคืบของ เวียดนาม แอร์ไลน์ เข้าสู่ตลาดการบินในอาเซียนดำเนินไปอย่างมียุทธศาสตร์ และจับต้องเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนได้ ไม่ว่าจะเป็นการถือครองหุ้นส่วนร้อยละ 70 ใน เจ็ทสตาร์ แปซิฟิก สายการบิน โลว์ ครอส ที่กำลัวสยายปีกเป็นส่วนเสริมให้กับบริษัท หรือแม้กระทั่งการเข้าไปถือหุ้นร้อยละ 49 ใน กัมพูชา อังกร์ แอร์ ซึ่งเป็นสายการบินแห่งชาติของกัมพูชาด้วย
       
 นอกจากนี้ ก้าวย้างของ เวียดเจ็ท ของกลุ่ม โซวิโคว์ โฮนดิ้ง  ซึ่เพ่ิงเร่ิมดำเนินการบินในช่วงปลายปี 2011 ก็สามารถเติบโตขึ้นพร้อมกับประกาศเป้าหมายที่จะก้าวขึ้นเป็นสายการบิน โลว์ ครอส ที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของอาเซียนรองจาก แอร์ เอเชีย และไลอ้อน แอร์ ให้ได้ภายในปี 2015
         พัฒนาการของ เวียดเจ็ท เพื่อแซงหน้า เจ็ทสตาร์ เอเชีย ที่มี แคนทาส ถือหุ้น 49% และ ไทยเก้ออแร์ ที่มี SIA ถือหุ้น 40% เพื่อก้าวมาเป้นหนึ่งใน โลว์ ครอส แถวหน้าของอาเวียนอยูที่การสั่งซื้อเครื่องบิน แอร์บัส A 320s เข้าประจำฝูงบินเพิ่มอีก 63 ลำ พร้อมกับการขยายการลงทุนเข้ามายังประเทศไทยผ่าน ไทยเวียทเจ็ท ที่สะท้อนยุทธศาสร์การรุกเข้าไปยังตลาดอื่นๆ ของ โซวิโค โฮลดิ้ง ด้วย
         ข้อเท็จจริงที่น่าสนใจประการหนึ่งก็คือ แม้สายการบินต้นทุนต่ำอย่าง ซิตี้ลิ้ง ของ การรูด้า อินโดนีเซียน หรือ เซบู แปซิฟิก ของ เจจี ซัมมิท โฮลดิ้ง จะมีขนาดใหญ่กว่า เจ็ทสตร์ อเเชซีย และ ไทยเก้อแอร์ ในมิติของฝูงบินแต่กลับไม่ได้ดำเนินการในลักาณะสร้างโครงข่ายเพื่อรุกธุรกิจการบินไปยังตลาดประเทศอื่น ซึ่งแตกต่างจาก LCCs รายอื่นๆ ที่เดินเกมรุกขยายสิทธิและเส้นทางการบินเข้าสูทุกประเทศเป้าหมาย
          สายการบินต้นทุนต่ำ หรือ LCCs กลายเป็นกลไกหลักที่ทำให้นายฟ้าอาเซียนเป็นน่านฟ้ที่มีการจราจรทางอากาศหนาแน่นที่สุดภูมิภาคหนึ่ง โดย Center for Aviation หรือ CAPA ระบุว่า สายการบินต้นทุนต่ำในอาเซียนมีเครืองบินรวมกันมากว่า 500 ลำในปัจจุบัน และกำลังเป็นที่จับตามองจากผู้คนในแวดวงอุตสาหกรรมการบิน เพราะกลุ่ม แอร์เอเชีย มีคำสั่งซื้อเครื่องยินใหม่มากว่า 400 ลำ ขณะที่ ไลอ้อน กรุ๊ป สั่งซื้อเครื่องบินรุ่นใหม่มากว่า 500 ลำ ซึงนอกจากจะเป็นไปเพื่อขยายการบินในภูมิภาคอาเวียนแล้ว เครื่องบินเหล่านี้ยังพร้อมที่จะถูกปลอ่ยให้ผู้ประกอบการการบินในภต่างภูมิภาคได้เช่าช่วงด้วย
         
 การเติบโตของสายการบิน โลว์ ครอส ในอาเซียนอย่างรวดเร็วในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา แม้จะดูชะลอตัวโดยเฉพาะอย่างยิ่งในตลาดทีเติบโตเต็มที่อย่างสิงคโปร์ ซึ่ง โลว์ ครอส มีส่วนแบ่งจำนวนที่นั่งลดลง จาก 31% เลือ 28% ใช่วงปีที่่ผ่านมา แต่ในภาพรวมโอากสทางธุรกิจของสายการบิน Low cost ยังจัดอยู่ในเกณฑ์ที่ดี แม้ว่าจะพ้นยุคของการเติบโตแบบก้าวกระโดดที่ได้เคยปรากฎในช่วงก่อนหน้าแล้วก็ตาม
             เส้นทางการบินระยะสั้นทั้งแบบภายในประเทศและระหว่างประเทศในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งสายการบิน โลว์ ครอส เคยใช้เป็นฐานในการขยายตัวในช่วงที่ผ่านมา กำลังพูกสายการบินหลักของแต่ละประเทศช่วงชิงกลับมาโดย่านบริษัทลูกที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเป็น regional airline ที่มีบริการเหนือกว่าสายการบิน โลว์ ครอส มาเป้นส่วนเสริมการแข่งขันไม่ว่าจะเป็นกรณี ซิลแอร์ ของสิงคโปร์ แอร์ไลน์ หรือ ไทยสไมล์ ของการบินไทย
               ขณะที่ บางกอกแอร์เวย์ส ซึ่งพยายามกำหนดนิยาภาพลักษณ์ไว้ในฐานะที่เป็น Boutique ariline ก็สามารถรักษาตำแหน่งและการเติบโตในตลาดการบินนี้ ได้ค่อนข้างเหนียวแน่น และแตกต่างพอสมควร
                กระนั้นก็ดี การปรับเปลียนกลยุทธ์ของ LCCs ด้วยการเพ่ิมเส้นทางการบินระยะกลาง โดย
เฉพาะในเส้นทางตะวันออกไกลที่มีจุดหมายทั้ง จีน เกาหลี และญี่ปุ่น กำลังเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ท้าทายสายการบินหลักของประเทศอาเซียนอย่างไม่อาจเลี่ยง เพราะเส้นทางเหล่านี้เคยเป็นเส้นทางกาบินที่สามารถสร้างรายได้และผลกำไรให้กับสายการบินหลักแบบ ฟูล เซอร์วิต อย่างยาวนาน ผลกระทบที่เกิดขึ้นจาการให้บริการในเส้นทงกาบินระยะกลางของ LCCS จากอาเซียน ที่เห็นได้ชัดปรากฎขึ้นแล้วว ในกรณีของการบินเข้สู่ออสเตรเลีย ซึ่งปัจจุบัน LCCs สามารถช่วงชิงส่วนแบ่งจำนวนผุ้โดยสารได้มากึถง 32% ในเส้นทางการบินดังกล่าว ซึ่งถือเป็นการรุกคืบเข้าท้าทายสายการบินหลักและส่งผลให้เกิดการแข่งขันในหมู่ LCCS อย่างกนักน่วงอีกตลาดหนึ่งด้วย
                ความเป็นไปของ LCCs แม้จะดำเนินไปท่ามกลาวขาวสารเชิงบวกและภายใต้การเติบโตที่น่าตื่นตามต่านใจ แต่บรรดาผู้ประกอบการ LCCs ในอาเซียนมิได้ตั้งอยู่ในหลักการของการสร้างผลกำไร หากดำเนินกลยุทธ์ทีเนนหนักไปในมิตของการสร้างการเติบโตทางยุทธศาสตร์เพื่อให้ได้มาซึ่งสวนแบ่งทางการตลาดและปิดก้รนโอกาสการแข่งขันของผุ้ประกอบการรายอื่น เป็นสำคัญ ยุทธศาสตร์ที่ว่านี้ ในด้านหนึ่งอานเป็นประโยชน์ต่อผุ้บริโภคในช่วงขณะหนึ่งหากแต่เมื่อประเมินในระยะยาวแล้ว ย่อมไม่ก่อให้เกิดผลดีที่ยั่งยืนต่ออุตสาหกรรมการบินโดอยองค์รวม
               
 กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแข่งขันอย่างสมเหตุสมผล ซึ่งเป็นประโยชน์ทั้งกับผุ้ประกอบการและผุ้ใช้บริการ ที่น่าสนใจกรณีหนึ่งเกิดขึ้นในฟิลิปปินส์ เมื่อทั้ง เซบู แปซิฟิก และสายการบินแห่งชาติ ฟิลิปปินส์ แอร์ไลน์ ซึ่งต่างดำเนินกลยุทธ์ช่วงชิงพื้นที่ในตลาดต่างประเทศ หันกลับมาประเมินข้อเม็จจริงทางธุรกิจมากขึ้น และส่งผลให้ทั้งสองสายการบินที่ห้ำหั่นกันอย่างหนักหน่วงเร่ิมกลับมาีผลประอบการเป็นกำไรในช่วงครึ่งหลังของปี 2014
                 ตลาดการบินอาเซียน ยังคงเป็นตลาดที่อดมด้วยศักยภาพการเติบโต แต่ภยใต้การแข่งขันที่หนกห่วงรุนแรงสายการบินแต่ละแห่งจำเป็นต้องมยุทธศาสตร์และกระบวนการบิรหารต้นทุนการบินที่ชัดเจน โดยเแฑาะอย่างยิ่งในกรณีของสายการบินหลักหรือสายการบินแห่งชาติทีส่วนใหญ่ยังมดครงสร้างและวัฒนธรรมองค์กรแบบวิสาหกิจที่ได้รับการอุหนุนจากรัฐมายาวนาน ซึ่งอสจถึงเวลาที่ต้องปรับตัวขนานใหญ่
                 การปรับเปลี่ยนแครื่องบินเพื่อให้สามารถลดต้นทุนการใช้เชื้อเพลิง และมีความปลอดภัยมากขึ้นทามกลางสิ่งอำนวยความสะดวกและสันทนาการบันเทิงสำหรับผุ้โดยสารระหว่างการเินทาง อาจเป็นการลงทุนที่สามารถสร้างความแตกต่างให้กับสายการบินแต่ละแห่ง แต่นั้นก็หมายถึงการลงทุนครั้งใหญ่ ซึ่งกว่าจะเห็น ข้อแนะนำว่าด้วยการบริหารสายการบินที่ดังกังวานอยู่เสมอก็คือการปรับปรุงมาตรฐานการให้บริการตั้งแต่ต้นทงที่เร่ิมจากการจองบัตรดดยสารไปจนเครื่องรอ่นลงถึงที่หมาย น่าจะเป็นหนทงที่ประหยัดกว่า หากแต่ในความเป็นจริงสิ่งนี้หลับเป็นมิติที่ปรับเลี่ยนและนำไปปฏิบัติได้ยากเหลือเกิน
                เหตุที่เป็นดังนี้ก็เนื่องเพราะการปรับทัศนคติการให้ริการเช่นว่านี้ เกี่ยวเนื่องกับวัฒนธรรมองค์กรทั้งระบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับเจ้าหน้าที่ที่ต้องให้บริการกับลูกค้าโดขตรง
                การบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทะิภาพของแต่ละสายกาบรบินและการแสดงหาพันธมิตรในระดับที่กว้างขวางออกไปจึงเป็นสวนหนึ่งปัจจัยทีจะช่วยให้สายการบินอยุ่รอดท่ามกลางการแข่งขันที่เข้มข้นนี เช่นในกรณีการสร้างพันธมิตรสายการบินในกรณีของ แควนทาส และอีมิเลส ซึ่งช่วยเสริมฐานลูกค้าและกระตุ้นเส้นทางการบินระหว่างออสเตรเลีย-ยุโรปผ่าน ฮับที่ดูไบ เป็นกรณีที่น่านสใจติดตาม
                ขณะที่การควบรวมกิจการของ แอร์ฟรานส์- เคแอลเอ็ม สายการบินแห่งชาติฝรั่งเศสกับสาย
การบินแห่งชาติของเนเธอร์แลนด์ซึ่งมีรีประวัติาการณืยาวนาเมื่อปี 2004 หรือในกรีของ อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์ไลน์ กรุ๊ป ที่เกิดข้นจากความร่วมมือระว่า บิติช แอร์เวย์ สายการบินแห่งขาติของอังกฤษกับ ไอบีเรีย สายการบินแห่งชาติของสเปน เมื่อต้นปี 2011 เป็นตัวอย่างหนึ่งในการผนึกผสานเพื่อความอยู่รอดในการแข่งขันระดับนานาชาติของายการบินหลักในยุโรป
               หรือในกรณีของ ลูฟทรานส์ซา สายการบินแห่งชาติของเยอรมัน ซึ่งผ่านกระบวนการแปรรูปจากสถานะวิสาหกิจของรัฐในปี 1994 มาสู่การเป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป และสยายปีกเข้าครอบครองสายการบินแห่งชาติของประเทศเพื่อนบ้านทั้ง สวิตส์ อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์ไลน์ และ ออสเตรีย แอร์ไลน์ อาจเป็นภาพสะท้อนข้อเท็จจริงของนิยาม แฟกซ์ แคร์รี่ และอุตสาหกรรมการบินสมัยใหม่ได้เป็นอย่างดี
              บางทีปรากฎการณืแห่งการแข่งขันในอุตสาหกรรมการบินเหนือน่านฟ้าอาเวียน และความพยายามในการเร่งหาทางออกจากปัญหาหนี้สินและการขาดทุนสะสมจากผลประกอบการของการบินไทย สายกาบินแห่งชาติที่ีอายุครบ 55 ปี ในขณะนี้ อาจตต้องใช้ความกล้าหาญและถึงเวลาที่ต้องตื่นขึ้นเผชิญหน้ากับความจริงกันแล้ว....www.manager.co.th/AstvWeekend/ViewNews.aspx?NewsID=9580000092337

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...