วันเสาร์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2560

HUB Part 2

            ไทยกับการเป็นศุนย์กลางธุรกิจการบินอาเซียน
             มีการศึกษาภาพรวมธุรกิจการบินไทยในปี 2556-2558 ว่ามีการเติบโตอย่างต่อเนื่องจากปัจจัยที่กำลังจะก้าวเข้าสู่การป็นประชาคมเศษฐกิจอาเซียน และจากการขยายตัวของธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำ ทั้งในประเทศและในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดย ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่าในปี 2556 จะมีจำนวนเที่ยวบินมมาทำการบินผ่านท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานดอนเมือง ซึ่งเป็นท่าอากาศยานหลักและรองของประเทศ รวมทั้งสิ้น 440,170 เที่ยวบิน เพ่ิมขึ้นร้อยละ 16 เมื่อเที่ยบกัยปีที่ผ่านมา
            นอกจากนี้ยังมีตัวเลขจากการพยากรณ์ทางการ ตลาดโลก หรือโกลบอล มาร์เก็ต ผอร์คาสต์ ของบริษัทผลิตอากาศยานค่ายยุโรประบุว่า ในอีก 20 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2556-2575 ) อัตราการเินทางทางอากาศจะเติบโตขึ้นถึงร้อยละ 4.7 ต่อปี โดยอากาศยานที่มีในปัจจุบันประมาณ 17,740 ลำ ทั่วโลกจะเพ่ิมขึ้นเป็นเกือบ 36,560 ลำ ภายในปี 2575 ซึ่งภายนปีดังกล่าวภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกจะมีอัตราการเดินทางทางอากาศเพ่ิม สูงขึ้น แซงหน้าภุมิภาคยุโรปและอเมริกาเหนือ โดยปัจจุบันการเินทางทางอากาศเฉลี่ยทั่วโลกที่เพ่ิมสูงขึ้น ร้อยละ 5.5 ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกมีความต้องการอากาศยานโดยสารใหม่สุงถึงร้อยละ 36 ตามมาด้วยยุโรป ร้อยละ 20 และอเมริกาเหนือ ร้อยละ 19
              สำหรับ ภูมิภาคอาเซียนน้นกระแสการตื่นตัวรับการก้าวเข้าสู่การเป้นประชาคมเศราฐกิจ อาเซียน ก่อให้เกิดกิจกรรมต่างๆ มากมาย ทั้งากร้า การลงทุน และการท่องเที่ยว ส่งผลให้เกิดความเติบโตทางเศราฐฏิจ รวมทั้งอำนาจซื้อที่เพ่ิมสูงขึ้นของระชากรในภูมิภาค ก่อให้เกิดความเป็นเมืองตามมา ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ก่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างภูมิภาค สงผลให้เกิดการเดินทางระหว่างประเทศอาเซียนมากยิ่งขึ้น และเกิดการขยายตัวของตลาดการท่องเที่ยวในประเทศอาเซียนอีกด้วย
             
นอกจากนี้การเปิด AEC ยังก่อให้เกิดปัจจัยสนับสนุนธุรกิจการบินอีกปัจจัยหลัก คือ เปิดเสรีการบินอาเซียน ในปี 2556 โดยเป็นกรอบความตกลงพหุภคีเพื่อให้ประเทสสมาชิกอาเซียนสามารรถขนส่งทางอากาศระหว่างกันโดยไม่จำกัดจำนวน ความจุความถี่ แต่ทั้งนี้ยังคงเผชิญอุปสรรคจากกฎหมายและกฎระเบียบข้อบังคัยภายในประเทศของ แต่ละประเทศสมาชิกอยู่ อย่างไรก็ตามกระแสการรวมเป็น AEC ก็ส่งผลให้เกิดความคึกคักต่อธุรกิจการบินในภูมิภาคเป็นอย่างมาก ดยทำให้เกิดการเพ่ิมเที่ยวบินและขยายเส้นทางการบินมายังประเทศอาเซียน และเส้นทางการบินระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะ อย่างยิ่งการเติบโตของธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำ ซึ่งมีแรงดึงดูดทางด้านราคา ทั้งนี้ในระหว่างปี 2554-2556 มีการเปิดตัวสายการบินต้นทุนต่ำในภูมิภาคอาเวียนกว่า 7 สายการบิน ใน 6 ประเทศ ได้แก่ เวียดนาม สปป.ลาว เมียนมาร์ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์
              นอกเหนือจากนี้ยัวมีการขยายเส้นทางการบินไปยังจุุดหมายปลายทางระหว่างเมืองต่างๆ ในอาเวียนมายิ่งขึ้น เช่น การขยายเส้นทางการบินของสายการบินต่างๆ ที่มีฐานการบินในไทย ไปยังเมืองต่างๆ ของเมยนมาร์ อาทิ ย่างกุ้ง-มัณฑะเลย์-เนปิดอว์ และการขยยายเส้นทางการบินไปยัง สปป.ลาว การเพ่ิมขึ้นของจำนวนสายการบินซึ่งทำการบินเส้นทางกรุงเทพฯ-เสียมเรียบ ปรเทศกัมพูชาเนื่องจากได้มีการยกเลิการสงวนเส้นทางไว้ให้เฉพาะบางสายการบิน การขยายเส้นทางบินของสายการบินแห่งชขาติกัมพูชามายังไทยและไปยังเวียดนาม เป็นต้น
              สำหรับประเทศไทยแล้วนับว่ามีความได้เปรียบด้านทำเลที่ตั้ง ที่มีพรมแดนติดกับประเทศอาเซียนถึง 4 ประเทศ และมีจุดแข็งจากการเติบโตของธุรกิจการบินอย่างโดดเด่นในภูมิภาค พิจารณาจากจำนวนผุ้โดยสารที่เดินทางมาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิในปี 2555 เป็นอัดนดับ 2 ของภูมิภาค องจากท่าอากาศยานซูการ์โน่ฮัตตา ของอินโดนีเซีย อีกทั้งไทยยังมีอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนเครื่องบินที่แข็งแกร่ง โดยที่ผ่ามารมีบริษัทต่าชาติให้ความสำคัญในการเข้ามาลงทุนตั้งฐานการผลิต ชิ้นส่วนเครื่องบินเพื่อการส่งออก โดยในปี 2555 ประเทศไทยมีมูลค่า การนำเข้า-ส่งออกเครื่องบินและชิ้นสวนเครื่องบิน มูลค่ากว่า 142,241 ล้านบาท และในปี 2556 ระหว่างเดือน ม.ค.-ส.ค. มีมูลค่าการนำเข้า-ส่งออกเครื่องบินและชิ้นส่วนเครื่องบินกว่า 137,224 ล้านบาท เติบโตกว่าร้อยละ 93 เมื่อเที่ยบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
             ดังนั้นเพื่อเป็นการรองรับธุรกิจการบินที่จะขยายตัวเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้นอกจาก
ประเทศไทยมีความมุ่งหวังที่จะเป็นศูนย์กลางทางการบินของภูมิภาคแล้วยังมีเป้าหมายที่จะเป็น "ศูนบ์กลางซ่อมบำรุงอากาศยานของภุมิภาค" เพื่อรอบรับปริมาณเครื่องบินที่จะเพิ่มขึ้นในภูมิภาคอาเซียนอีกด้วย
             สิงที่ไทยต้องลงมือทำอย่างจริงจัง ก็คือควรเร่งพัฒนาศักยภาพเพือดึงดูดปริมาณเครื่องบินต่างๆ โดยเฉพาะเครื่องบินจากกลุ่มประเทศ CLMV ที่มีการเติบโตทางด้านธุรกิจการบิน แต่ยังขาดความพร้อมทางด้านวิศวกรรมการบิน ควรวางแผนดานการพัฒนาทรัพยกรบุคคลที่มีคุณภาพ ซึ่งปัญหาังลก่าวต้องไดรับการพิจารณาและเร่งดำเนินการแก้ไข เนื่องจากการเติบโตอย่างมากของธุรกิจการบินอาเซียนได้ทำให้รัฐบาลของประเทศ ต่างๆ เล็งเห็นถึงโอากาสเช่นกัน เช่น สิงคโปร์ และมาเลเซีย ซึงเป็นสมาชิกอาเซียนก็มีเป้าหมายที่จะเป็นศูนย์กลางซ่อมบำรุงอากาศยานของ ภูมิภาคด้วยเช่นกัน เหนือสิงอืนใดคือควรสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับสายการบินต่างสัญชาติที่มีฐาน การบินในไทยให้มาใช้บริากรศูนย์ซ่อมอากาศยานของไทย ทั้งนี้มีการคาดการณ์ว่ามูลค่าการซ่อมบำรุงอากาศยานทั่วโลก ในปี 2562 จะมีมูลค่าถึง 63,000 ล้านเหรียญสหรัฐwww.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1384493044
            ว่ากันว่า ในปี 2558 ที่ผ่านมา สายการบินในประทศไทยมีจำนวนฝูงบินรวมกันทังสิ้น 208 ลำ เพ่ิมขึ้นจากปี 2556 จำนวน 31 ลำ การขยายตัวดังกล่าวสอดรับกับการเติบโตของธุรกิจการบินในภุมิภาคเอเชยตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีความคึกคักอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา และพบว่าในช่วงปี 2555-2448 ผุ้โดยสารที่มีจุดหมายปลายทางมายังเอเชียตะวันออกเแียงใต้ขยายตัวในอัตโดยสารที่มีจุดหมายปลายทงมายังเอเชียตะวันออเแียงใต้ขยายตัวในอัตรา 9.2 % ต่อปี สูงกว่าอัตราการเติบโตของจำนวนผุ้โดยสารทั่วดลกที่เติบโตเฉลี่ย 6.2% ต่อปี ในช่วงเวลาเดียวกัน
            ศุนย์วิจัยกสิกรไทยรายงานว่า ที่ผ่านมาบริษัทผุ้ผลิตเครื่องบินรายใหญ่ได้มีการพยากรณ์ว่า ในอีก 20 ปีข้างหน้า หรือปี 2578 จะมีผุ้โดยสารที่มีจุดหมายปลายทางมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กว่า 2,360 ล้านคน หรือขยายตัวเฉลี่ย 6% ต่อปี ขณะที่การเดินทงไปยังจุหมายปลายทางทั่วโลกเติบโตเฉลี่ยที่ 4.8 % ต่อปี
         
  จากแนวโน้มดังกล่วนี้จะส่งผลให้ขนาดของตลาดธุรกิจกาบินในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เติบโตขึ้นจากเดิม ทำใ้หลายฝ่ายต่างจับตามองว่าประเทศไทยีความพร้อมเพียงพอที่จะรองรับโอากสจาการเติบโตของธุรกิจการบิในภุมิภาคมากน้อยเพียงใด โดยศุนย์วิจัยกสิกรไทยระบุว่า ธุรกิจสายกาบินในไทยเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทั้งมิติของจำนวนผุ้โดยสารในประเทศและต่างประเทศ และจำสนวเส้นทางการบินและผูงบิน เนืองจากประเทศไทยเป็จุดหมายปลายทางระดับโลก บวดกับที่มีกลุ่มสายการบินโลว์คอสต์เข้ามามีบทบาทสำคัญขึ้นเรื่อยๆ โดยคาดว่าในปี 2559 ภาพรวมของธุรกิจกาบินของไทก็น่าจะยังเติบโตได้คอ่นข้างดี ซึ่งความเชื่อมั่นดังกล่าวสะท้อนจากจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามายังประเทศไทยในช่วง 7 เดือนแรก มากถึงจำนวน 19.54 ล้านคน เพิ่มขึ้นกว่า 11.9% และยังวิเคราะห์ด้วยว่า ในระยะยาวแนวโน้มธุรกิจการบินในไทยจะยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง จากการขยายเส้นทงการบินที่ครอบคลุมและเชื่อมโยงไปยังภูมิภาคต่างๆ ของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
            นอกจากนี้ยังมีสายการบินท้องถ่ินในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยังได้เล็งเห็นศักยภาพของไทยในการใช้ไทยเป้นฐานการบินและมีแผนใช้ประเทศไทยเป็นฮับการบิน เพื่อขยายเส้นทางไปยังจุดหมายปลายทางต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียนและเอเชีย ทั้งนี้การขยายตัวทงเศรษฐกิจของกบุ่มประเทศอาเซียน โดยเฉพาะ CLMV ที่กำลังเติบโตจากการหลังไหลของเงินทุนจากต่างชาติคู่ขนานไปกับปัจจัยสนับสนุนด้านการท่อเที่ยวของไทยและภูมิภาค CLMV ที่จะดึงดูดนักท่องเที่ยวจาก๓ุมิภาคอื่นให้เดินทงมายังอาเซียน จะสนับสนุนให้เกิดความคึกคักของการเินทางภายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นอย่างมาก
             จึงนับเป็นโอกาศที่ไทยจะก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางทางการบินของภูมิภาคอาเซียน ด้วยศักยภาพธุรกิจสายการบินในไทยที่มีแนวโน้มเติบโตอย่างชัดเจน รวมถึงปัจจัยด้านภูมิศาศตร์และสภานการณ์ธุรกิจสายกาบินของไทยที่เอื้ออำนวย
            ดังนั้น หากไทยสามารถเตรียมความพร้อมเพื่อพัฒนาให้สามารถเป็นศูนย์กลางทางการบินเพื่อเชื่อมต่อระหว่างประเทศในภูมิภาคอาเวียนกับประเทศต่งๆ ทั่่วโลกได้ ก็จะนำมาซึ่งโอากสทางเสรษฐกจิและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องจำนวนมากwww.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1475721114
            กอบกาญจน์ หารือพันธมิตร ผลักดันไทยเป็นฮับการบินอาเซียน
            รมว.กอบกาณจน์ ประชุมร่วมกับหน่วยงานรัฐ และเอกชน พิจารณาเพิ่มเส้นทางสายการบินในแถบ CLMV เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ อาเซียน คอนเนกต์ หาเมืองที่มีศักยภาพในการเดินทางท่องเที่ยและเชื่อมโยง C2L และ L2L ผลักดันไทยเป็นฮับด้านกาบินในอาเซียน "คิดถึงอาเซียน..คิดถึงประเทศไทย"
            นางกอบกาญจฯ์ วัฒนาวรางกุร รัฐมนตรีว่าการกระทรงการท่องเที่ยวและกีฬา เปิดเผยการประชุมร่วมหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ถึงการทำ อาเซียน คอนเนกท์ ที่แบ่งเป็น 2 ระดับ จากระดับเดิมที่มีอยู่แล้ว เป็นระดับที่มีอยุ่แล้ว ต้องมีการโปรโมทต่อ ระดับนี้เหมือนเป็นระดับที่มีการ link long hall ที่าแถบประเทศไทย 2 country 1 dastination ทำอย่างไรให้มีมาขึ้น และ อาเซียน ทู อาเซียน คือ ทำอย่างไรให้คนในอาเซียนไปมาหาสู่กันมากขึ้น เป็นการท่องเที่ยวระหว่างกัน ซึ่งเป็นเมืองระดับรองต่อกับระดับรอง
         
 ส่วนการพิจารณาเพิ่มเส้นทางสายการบินในแถบ CLMV เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ อาเซียน คอนเนกต์ โดยหาเมืองที่มีศักยภาพในการเดินทางท่องเที่ย และเชื่อมโยง ดังที่กล่าวมแล้ว เพื่อผลักดันให้ไทยเป็น HUB ด้านการบินในอาเซียน "คิดถึงอาเซียน..คิดถึงประเทศไทย" ได้มีการจัด ลิสต์ ชื่อเมืองขึ้นมาเพื่อพิารณา โดย ททท. จะรับผิดชอบเรื่อง ลิสต์ ชื่อเมืองต่างๆ ทอท. จะมีการลิสต์เส้ทางการบินที่เหลืออยู่ในแง่ สลอตการบิน โดยกรมการบินพลเรือน และทอท.จะสรุป สล็อตการบินที่มีเลหือยุ่ ณ ขณะี้ เพื่อทำให้เกิดสายการบินได้อย่างแท้จริง ทั้งนี้ สนามบินหลัก สล็อตการบินเหลือน้อยมาก นอกจากนี้ ยังมีสนามบินจุดอื่นๆ เช่น อู่ตะเภา หรือสนามบินทางภาคอีสาน ที่ยังมีโอากสเติบโตได้อีก สิ่งที่สำคัญคือ ทำอย่างไรให้เมืองที่เราทำขึ้นมาตอบโจทก์ได้มากที่สุดทั้งไทยและเพื่อบ้าน
         
 ส่วนด้านการตลาด ต้องเป้นการแลกเปล่ยนกันทั้งไทย ทั้ง อิน บอนด์ และ เอาท์ บอนด์ ผลลัพธ์ต้องตอบโจทย์ความต้องการของทั้งสองฝั่ง ถ้าไทยจะเชื่อมต่อกับใคร ความต้องการตรงกันหรือไม่ เช่น ไทย-เวียดนาม ไทย-พม่า ไทย-มาเลเซีย สิ่งนีจะเป็นการตอบโจทย์ของนายกรัฐญมนตรี ทีท่านเพ่ิงไปประชุมมาด้วย ว่าสิ่งสำคัญไทยจะต้องดูแลประเทศอาเซียน ด้วยการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ซึ่งดันและกัน
           "เมื่อเราวาแผนการดำเนินงาน และตกลงกันได้แล้ว เราจะต้องมีการร่วมหารือกับประเทศเพื่อบ้านอีกครั้ง โดยประเทสไทยจะมีการเปิดตัวอย่าง อาเซียน คอนเนกต์ เป้ทางการในงาน ทีที่เอ็ม พลัส ตซึ่งทาง ททท. ได้เชิน โอเปอร์เรเตอร์ จากทั่วโลการ่วมงาน ที่จัดขึ้นที่เชียงใหม่ โดยจะมีการตั้งชื่องานอย่างเป็นทางการอีกครั้ง"
             ก่อนหน้านี้ ทีที่เอ็ม พลัส มีการแตะเรื่องอาเซียนมาโดยตลอดแต่ครั้งนี้จะเป็นการยกระดับการเป็น ฮับ ในประเทศอาเซียนอย่างแท้จริง โดยเป็นการผนึกกำลังกันในส่วนภาคของการท่องเทียวทั้งหมด คือ ททท. สายการบินฐ, ทอท., กระทรวงคมนาคม ซึ่งได้ของความร่วมมือกระทรวงคมนาคมพิจารณาเรื่องต่อรันเวย์ให้เครื่องใหญ่ลงที่สนามบิน แม่สอด แพร่ น่าน พะเยา แม่ฮ่องสอน โดยได้รับการแจ้ง่า แมสอดได้งบประมาณรอเรื่องการซ้อที่เพิ่ม คาดว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จเร็วๆ นี้ เพราะเป็นเขตเศราฐกิจพิเศษ...www.thansettakij.com/content/32404
           
           

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...