"คิง เพาเวอร์" ลงทุนใน "ไทยแอร์เอเชีย" ต่อจิ์กซอว์ท่องเที่ยวครองวงจร..
ทันที่ที่ "กลุ่ม คิง พเพาเวอร์" ของตระกูลศรีวันาประภา ซื้อหุ้น "บมจ. เอเชีย เอวิเอชั่น" หรือ AAV (ซึ่งเป็นบริษทั่ที่ถือหุ้นร้อยละ 55 ของไทยแอร์เอเชีย) ในสัดส่วน 39% มูลค่ารวมประมาณ 7,945 ล้านบ้าท จากธรรศพลฐ์ แบเลเว็ลต์ และครอบครัว ส่งผลให้ "กลุ่มคิง เพาะเวอร์" กลายเป็นหนึ่งในพี่ใหญ่ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในไทย
เหตุผลสำคัญที่ "กลุ่มคิง เพาเวอร์" ทุ่นงินเข้ามาซื้อหุ้นในครั้งนี้ เพราะเล็งเห็นโอา
กสของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทย หนึ่งในรายได้หลักของประเทศ โดยจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เข้าไทย คาดการณ์ว่าปี 2559 ไม่ต่ำกว่า 32 ล้านคน ตลาดหลักยังคงเป้นนักท่องเที่ยวจีน ซึ่งเป็นฐานลูกค้าใหญ่ของทั้งคิง เพาเวอร์ และกลยุทธ์การตลดของไทย แอร์เอเชีย มุ่งเจาะนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มากขึ้น
กระแสความโด่งดังของ "เลสเตอร์ ซิตี้" หรือ จิ้งจองสยาม" ของเจ้าสสั่ววิชัย ศรีวัฒนาประภาพ ประธานกรรมการกลุ่มบริษทัคิ เพาเวอร์ ที่สามารถก้าวขึ้นมาคว้าแชมป์พรีเมีอยร์ ลีก ฟุตบอลลีกสูงสุดของอังกฤษ มาครองในรอบ 132 ปี ของการก่อตั้งสโมสรยังไม่ทันจางหาย ชื่อของเเจ้าสัววิชัย และครองครัว ก็กลับมาเป็นข่าวใหญ่ในแวดวงธุรกิจอีกครั้งหนึ่งเมื่อตัดสินใจ เจียดเงินราว 7,945 ล้านบาท ซื้อหุ้น "เอเชีย เอวิเอชั่น" AAV จาก "ธรรศพลฐ์ แบเลเว็ลด์" และครอบครัว เป็นสัดส่วนถึง 39% หลังจากก่อหน้านี้มีแระแสข่าวออกมาเป็นระยะๆ พร้อมกันนี้เขาได้ส่งลูกชายและ(ุ้บิรหารคิง เพาะเวอร์เขาไปนั่งเป็นกรรมการ รวมทั้งไว้วางใจให้ "ธรรศพลญฐ์" บริหารไทยแอร์เอเชียต่อไป
วิชัย ศรีวัฒนประภา ประธานกรรมการกลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์ จำกัด ผู้บริหารร้านค้าปลอดภาษี หรือ ดิวตี้ฟรี "คิง เพาเวอร์" ระบุว่า การเข้าไปลงทุนในสายการบินไทยแอร์เอเชยเ็นผนึกกำลังของ 2 ธุรกิจที่อยู่ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้มีศักยภาพในการทำการตลาดได้มากยิ่งขึ้น โดยที่ท้้ง 2 ธุรกิจสามารถจะต่อยอดและสงเสริมซึ่งกันและกันได้อเป็นอย่างดี
การมาร่วมกันต่อยอดจะเป็นจังหวะที่ดีที่จะทำให้เกิดจุดเปลี่ยนในุตสาหกรรมท่องเที่ยวและเกิดโอกาสใหม่ๆ ของธุรกิจทั้งกับของฝั่งคิง เพาเวอร์และไทยแอร์เอเชีย
" การต่อยอดธุรกิจซึ่งกันและกันจะทำให้สามารถทำการตลาดได้ดียิ่งขึ้นนอกจากเป็นประโยชน์กับนักเดินทางท่องเที่ยวแล้ว การซินเนอร์ยีดังกล่าวยังจะข่วยให้ทั้ง 2 ธุรกิจสามารถในการขยายฐานลูกค้าได้อีกทางหนึ่ง โดยเฉพาะกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวจีนที่คาดว่าจะเดินเข้ามาประเทศไทยอีกมหาศาลทั้งในปัจจุบันและอนาคต"
เขาย้ำว่า "ผมมองลงทุนในธุรกิจสายการบินมานานแล้ว โดยช่วงที่นกแอร์ก่อตั้งผมเข้าไปถือหุ้น 5 % แต่ด้วยสัดส่วนการถือหุ้นที่น้อยและไม่มีอำนาจบริหารเลยตัดสินใจขายออก การลวทุนในธุรกิจสายการบินนั้นหากธุรกิจเดิมไม่เอื้อจะทำได้ยากมาก ท้้งคิง เพาเวอร์ และไทยแอร์เอเชีย มีอกลุ่มลูกค้าหลักเป็นกลุ่มเดียวกันคือ นักท่องเที่ยวจีน จึงไม่ยากสำหรับการต่อยอดธุรกิจในอนาคต" วิน วิน ทั้งคิง เพาะเวอร และแอร์ เอเชีย และย่ิงจะทำให้ทั้ง 2 ธุรกิจเติบโตได้ดีขึ้นกว่าเดิม
ควบคู่กับการขยายธุรกิจมาสู่ธุรกิจสายการบิน ประธาน คิง เพาเวอร์ ยังทุ่มเม็ดเงินลงทุนแอีกไม่ยั้ง เริ่มจากงบประมาณ กว่า ห้าพันล้านบาท สำหรับการปรับโแมครั้งใหญ่ คิง เพาเวอร์ คอมเพล็กซ์ ถนนรางน้ำ เพื่อรองรับการขยายตัวของนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะกลุ่มชาวจีน และสร้างให้เป็นศูนย์กลางรับนักชอป คนไทยและนักท่องเที่ยวนานาชาติกลุ่มเดินทางอิสระ โดยจะเร่ิมปิดปรับปรุงตั้งแต่เดือนเมษายน 2560 เป็นต้นไป คาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 6-7 เดือน
เช่นเดียวกับ โรงเเรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ ในบริเวณเดียวกัน เน้นลงทุนติดต้งเทคโนโลยีล้ำสมัย สิ่งอำนวยความสะดวกและคอนเซ็บปต์ใหม่ๆ เช้ามาให้บริการห้องพัก ห้องประชุม ห้องจัดเลี้ยงห้องอาหาร เพ่ิมขีดความสามารถทางการแช่งขัน เพื่อให้ลูกค้าได้สัมพัสบริการโฉมใหม่ เปิดเต็มตามรูปแบบเดือนตุลาคม 2559...
ย้อนกลับไปเมื่อช่วงปลายปี 2558 ที่ผ่านมา แม่ทัพใหญ่ คิง เพาเวอร์ เปรยๆ ว่ามีแผนจะเดินหน้าลงทุนนธุรกิจที่ถนัด ด้วยการผนวกเอา 3 ธุรกิจเข้ด้วยกัน ได้แก่ การท่องเที่ยว ดิวตี้ฟรี และกีฆาฟุตบอล เพื่อประกาศความยิ่งใหญ่ในเอเชียและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งในอีก้านหนึ่งจะเป็นการช่วยรัฐบาลสร้างมูลค่าทำใ้ประเทศไทยและวิถีชุมชนฐานรากเจ้าของแหล่งท่องเที่ยว แลห่งผลิตสินค้า ขยายช่องทางการจำหน่าย โฆษณาประชาสัมพันธ์การตลาด ผ่านเครื่อข่ายดิวตั้ฟรี และการแข่งขันฟุตบอลระดับโลกทุกแมตซ์ระหว่างการถ่ายทอดสู่สายตาผู้ชมทั้งโลกหลายร้อยล้านคนจะได้เห็นแปรนด์ประเทศไทย
www.matichon.co.th/news/181841
การขยายอาณาจักรทางธุรกิจจากธุรกิจดิวตั้ฟรี และธุรกิจฟุตบอล มาสู่ธุรกิจสายการบินครั้งนี้ อาจจะเป็นจิ๊กซอว์สำคัญอีกตัวหนึ่งที่เจ้าสัววิชัย จะใช้เป็นบันไดในการก้าวข้ามไปสู่ธุรกิจอื่นๆ ทีเ่กี่ยวเนื่องในอนาคต...
นอกจากการควบรวมระหว่างคิง เพาเวอร์ และไทยแอร์ เอเชียแล้วยังมี ยังใหญ่ที่จับมือกันให้สะเทือนวงการธุรกิจไทย อีก ทั้งในรูปแบบการเข้าซื้อกิจการ การเข้าถือหุ้น รวมไปถึงการซื้อหุ้นจากการเพ่ิมทุน เพื่อจับมือเป็นพันธมิตรกัน ซึ่งได้รวบรวมการผนึกกำลังกันระหว่างองค์การครั้งใหญ่ ทั้งบริษัทไทยด้วยกันเอง บริษัทไทยกับบริษัทต่างชาติ หรือแม้แต่บริษัทต่างชาติสร้างความรวมมือกัน แล้วมีผลมายังตลาดประเทศไทย ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า ความเคลื่อนไหวต่างๆ เหล่านนี้้ เป็นเหตุการณ์ที่น่าบันทึกไว้ในหน้าประวัติศาสตร์วงการธุรกิจไทย..
"กลุ่มเซ็นทรับ" ซื้อ "ZAlora" ประเทศไทย เสริมแกร่งธุรกิจออนไลน์
กลุ่มเซ็นทรัล" เข้าซื้อกิจการ "ซาโลร่า ประเทศไทย" เพื่อเสริมศักยภาพธุรกิจออนไลน์ เนื่องจากเล็งเห็นความแข็งแกร่งของซาโลร่า ซึ่งเป็ฯออนไลน์แฟชั่นยอดนิยมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีกลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ หนุ่มสาวออฟฟิต หรือผุ้ที่ช่นชอบแฟชั่น อีกทั้งมีจุดแข็งการเป็นศูนย์รวมของความหลากหลายสินค้าและไอเทมแฟชั่นต่างๆ ทั้งแบรนด์ไทยและแบรนด์ระดับโลก หว่า 80,000 รายการ รวมทัี้งมีระบบออกไลน์ที่สะดวกรวดเร็ว จึงสามารถตอบโจทย์ผู้บริโภคได้ครอบลคลุมทังภูมิภาคนี้
เมื่อรวมกับความน่าเชื่อถือของ "กลุ่มเซ็นทรัล" จึงคาดว่าจะก่อให้เกิดการจับจ่ายใช้สอยแบบไร้รอบต่อระหว่างออนไลน์และออฟไลน์ และทำให้กลุ่มเซ็นทรับเข้ถึงฐานข้อมุลลูกค้าออนไลน์และฐานข้อมูลของซัพพลายเออร์ได้มากขึ้น ขณะเดี่ยวกัยมุ่งหวังว่าจะทำให้ยอดขายของเซ็นทรัลออนไลน์เพ่ิมขึ้นเป็น 2 เท่า
"Alibaba" ควบรวมกิจการ "Lazada" รุกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นับเป็น เมกะ ดีล ที่สร้างแรงสั่นสะเทือนให้กับธุรกิจ อี-คอมเมิร์ซ ทั้งในไทย และทั่วโลกเลยที่เดียว ซึ่ง อาบีบาบา ยังใหญ่ อี-คอมเมิร์ซ ของจีน ทุ่มเงินกว่ พันล้านเหรียญสหรัฐ ซื้อกิจการ "ลาซาด้า" เพราะหลังจาก "อาลีบาบา" มีัฐานธุรกจแข็งแกร่งในจีนแล้ว สเตบต่อไป คือพุ่งทะยานสู่ตลาดต่างประเทศ และ "ตลาดเอเชียตะวันออกเฉึยงใต้" คือ หนึ่งในเป้าหมายสำคัญที่มักรรายนี้ต้การปักธง
การซื้อกิจกรธุรกิจออนไลน์ "ลาซาด้า" ที่แจ้งเกิดในภูมิภาคนี้ได้สำเร็จแล้ว ทำให้ "อาลีบาบา" ไม่ต้องเสียเวลาเร่ิมต้นจากศูนย์ และเป็น "ทางลัด" ที่จะรุกตลาดได้เร็วและแรงที่สุด...
"อาลีบาบา" ควง "กลุ่มซีพี" รุกการเงนิดิจทัลเอเชีย
เป็นปรากฎการณืความร่วมมือครั้งใหญ่แห่งปีก็ว่าได้ เมื่อ "บริษัท แอนท์ ไฟแนนเชียล เซอร์วิสเซส กรุ๊ป" ผุ้ให้บริการทางการเงินดิจิทัล "Alipay" ในเครือ "อลีบาบา กรุ๊ป" ประกาศความร่วมมือกับ "บริษัท แอสเซนด์ มันนี้" ในเครื่อเจริญโภคภัฒฑ์ ให้บริการธุรกิจเทคโนโบยีทางการเิงน ทั้งในไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภายใต้ชื่อ "ทรู มันนี้" บริการทางการเงินดิจิทัล แะล "แอสเซนด์ มันนี่" ธุรกิจเงินกู้รายย่อย
การจับมือกันครั้งนี้ "แอนท์ ไฟแนนเชียล" จะเข้ามถือหุ้นในสัดส่วน 20% "แอสเซนด์ มันนี" และมีโอกาสเพิ่เป็น 30% ในปี 2561 โดยทั้งสองฝ่ายต่างมองว่าจะช่วยเสริมความแข็งแกร่งซึ่งกันและกัน เพ่อสานฝันของตนเองให้เป็นจริง....
ตำนานบทใหม่ "บิ๊กซี" ภายใต้ชายคา "กลุ่มเจ้าสัวเจริญ"
หลังจาก "คาสิโน กรุ๊ป" ผุถือหุ้นรายใหญ่ของ "บิ๊กซี" ในประเทศไทย ประกาศขายหุ้น ก้มีข่าวมาเป็นระยะๆ ยนับเนื่องตั้งแต่ปี 2558 ว่ากลุ่มทุนใดจะเป็นผุ้คว้า "บิ๊กซี" ในไทยไปครอง กระทั่งเมื่อต้นปี 2559 ในที่สุดผุ้ที่ได้ไป คือ "บริษัท แบอร์ลียุคเกอ์ จำกัด (มหาชน)" หรือ "BJC" เป็นผุ้ถือห้นใหญ่ (บริษัทในเครือง "ทีซีซี กรุ๊ป" ของเจ้าสัวเจริญ สิริวัฒนภักดี) โดยถืหุ้นในามสองบริษัทย่อยของ BJC คือ "บริษัท บิเจซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ จำกัด" และบริษัท สัมพันธ์เสมอ จำกัด"
ขณะที่ต่อมากลุ่มเซ็นทรัล ซึ่งถือหุ้นในบิ๊กซีในไทย สัดส่วน 25% ได้ขายหุ้นที่มีอยู่ให้กับกลุ่มเจ้าสั่วเจริญ จากนั้นกลุ่มเซ็นทรัล ได้ร่วมกับกลุ่มเหงียนคิม พันธมิตรธุรกิจในเวียดนา เข้าื้อกิจการบิ๊กซี ประเทศเวียดนาม
การได้บิ๊กซีในไทย ค้าปลีกในเซ็กเมนต์ดิสเคาน์สโตร์มาครอบครองได้สำเร็จ เป็นการต่อจิ๊กซอรว์ใหย๋ของ "ธุรกิจปลายน้ำ" ในเครือทีซีซี กรุ๊ปที่ต้องการสร้างอาณาจักรให้มีความครบวงจรและครอบคลุมตั้งแต่ "ต้นน้ำ" คือ การผลติ - "กลางน้ำ" คือการจัดจำหน่าย และ "ปลายน้ำ" คือ ธุรกิจค้าปลีก ที่ผลักดันให้สินค้าและบริากต่างๆ ในเครือเข้าถึงผุ้บริโภคมากที่สุด...
"เครือโรงพยาบาบกรุงเทพ" ฮุบ "ปาร์คนายเลิส" สร้างศุนย์สุขภาพครอบวงจร
อีกหนึงดีลใหญ่ที่ช็อกวงการธุรกิจ และคนทั่วไปไม่น้อย เมื่อ "บริษัทกรุงเพทดุสิตเวชการจำกัด (มหาชน)"หรือคุ้นเคยกันในนาม "เครือโรงพยาบายกรุงเทพ" ของน.พ. ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ ได้ให้บริษัทย่อย เช่าญื้อที่ดินบริเวณโครงการปาร์คนายเลิศกว่า 15 ไร่ จากที่ดินทั้งหมดเกือบ 40 ไร่ พร้อมสิ่งปลูกสร้าง(ไม่นับรวมบ้านปาร์คนายเลิศ และสวน ที่ปัจจุบันเป็นพิพิธภัฒฑ์ปาร์คนายเลิส ยังคงเป็นมรดกของตระกูลสมบัติศิริ) ด้วยมูลค่า 10,800 ล้านบาท เพื่อพัฒนาเป็น BDMS Wwllness Clinic" โครงการศูนย์สุขภาพครบวงจร รวมทั้งให้บริการด้านเวชศาสตร์ชะลอวัย และฟื้นฟุสุขภาพแบบครอบวงจรรายแรกในภูมิภาคเอเชีย...
"กลุ่มเจ้าสัวเจริญ" ต่อลมหายใจ "กลุ่มอมรินทร์"
ภาวะประกอบการขาดทุนจาการดำเนินงานในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาของ "บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งงแอนด์ พบลิชชิง จำกัด (มหาชน)" เจ้าของสื่อสิ่งพิมพ์ ธุรกิจจ New Media-Event และธุรกิจทีวีดิจิทัล อัมรินทร์ ทีวี ส่งผลกระทบต่อสภาพคล่องทางการเงินที่ใช้เป็เวินทุนหมุนเวียนในกาดำเนินธุรกิจ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องใช้เงินทุน โดยเฉพาะการเอาไปลงทุนเพ่ิมเติมในธุรกิจทีวีดิจิทัลที่อยู่ในช่วงของการเริ่มต้นธุรกิจซึ่งมีต้นทุนการดำเนินการที่สูง
ด้วยเหตุนี้ "กลุ่มอมรินทร์" ตัดสินใจเพิ่มทุนและขายหุ้นใหักับ "บริษัท วัฒนภักดี จำกัด" จำนวน 200 ล้านหุ้น รวมมูลค่า 850 ล้านบาท ซึ่งบริษัทดังกล่วมี "ฐาปน สิริวัฒนภักดี" และปณต สิริรวัฒนภักดี" เป็นผุ้ถือหุ้นใหญ่ ทำให้ "บริษัท วัฒนภักดี จำกัด" กลายเป็นผุ้ถือหุ้นใหญ่ของ บมจ. อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง ในสัดส่วน 47.62% โดย "กลุ่มอมรินทร์" มีแผนการใช้เงินที่ได้จากการเพ่ิมทุนนี้ ภายในต้นปี 2561 เืพ่อให้ธุรกิจสามารถดำเนินต่อไปได้
ขณะเดียวกันในภาวะอุตสาหกรรมธุรกิจทีวีดิจิทัลมีการแข่งขันสูง "กลุ่มอมรินทร์" มองว่าการมีพันธมิตรทางธุรกิจที่มีความพร้อมในด้านเงินทุนและมีความเชี่ยวชาญในการดำเนินธุรกิจ รวมถึงมีสถานะทางการเงินและสายสัมพันธ์ทีดีกับกลุ่มธุรกิจที่หลากหลาย จะทำให้บริษัทฯ ได้รับเงินตามจำนวนที่ต้องการ และช่วยเพ่ิมความเชื่อมั่นในการดำเนินธุรกิจ...www.brandbuffet.in.th/2017/01/mega-deal-2016/
วันพุธที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2560
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น