วันอังคารที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2560
ASEAM Tourism Strategic Plan
แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2554-2558 แผนฉบับนี้เกิดจากความร่วมมือและข้อตกลงระหว่างองค์กรอ้านการท่องเที่ยวของประเทศสามชิกอาเซียน กับโครงการ ASEAN Competitiveness Enhancement (The ACE Project) ซึ่ง ได้รับการสนับสนนุนด้านวลประมาณจากองค์การเพื่อการพัฒนาระหว่างปะเทศของสหรัฐอเมริกา โดยมอบหมายให้คณะผุ้วิจัยจากวิทยาลัยวัตถกรรม มหาวิทยาลัยธรรมาสตร์เป้นที่ปรึกษาในการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์นี้ ซึ่งดครงการดำเนินงานในช่วงระหว่างปี 2553 ร่วมกับ ASEAN Secretariat และองค์กรด้านการท่องเที่ยวของประเทศอาเว๊ยน
แผนดังกล่าวประกอบด้วย การวิเคราะห์สถานการณ์ทั่วไปด้านการท่องเที่ยวของอาเซียน วิสัยทัศน์และโครงกสร้งอคงค์กรด้านการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวของอาเซียน การดำเนินงานและรายละเอียดกิจกรรมตามแนวทางยุทธศาสตร์สำตัญ 3 ด้าน ได้แก่
- ด้านการพัฒนาสินค้าและบริการ การตลาดและการลงทุน
- ด้านการพัฒนาคุณภาบุคลากร การบิรการและสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว
- ด้านการส่งเสริมให้เกิดความเชื่อมโยงด้านการเดินทงท่องเที่ยวในภูมิภาค
แผนยุทธศาสตร์การตลาดด้านการท่งเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2555-2558 แผนฉบับนี้จัดทำโดยคณะผุ้วิจัยจากวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีเป้าหมายกลักคือการเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวให้เดินทางมาเยือนมากกว่าหนึ่งประเทศในภูมิภาค เพื่อส่งเสริมการสร้างอาเซียนให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับโลกแะลเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการ่องเที่ยว ดดยคำนึงถึงความสามารถด้านการตลาดและทรัพยากรด้านการทอ่งเที่ยวของแต่ละประเทศสมิกเป็นสำคัญองค์ประกอบหลักอขงแผนประกอบด้วย
- การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจุจบันและแนวโน้มด้านการตลาดของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในภูมิภาค
- การกำหนดกลุ่มตลาดลูกค้าเป้าหมายหลักของอาเซียน
- การพัฒนาด้านสินค้าและบริากรด้านการท่องเที่ยว โดยให้สอดคล้องกับ 4 กลุ่สินค้าหลักที่กำหนดไว้ในแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน ได้แก่ (1) culture/heritage (2) nature (3) community-based experiences และ (4) cruise/river-based tourism
- การสร้้าง ASEAN Brand
- การกำหนดช่องทางการกระจายกลุ่มลูกค้า
- การจัดตั้งคณะทำงานด้านการตลาดและการติดต่อสื่อสารระหว่งประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อรับผิดชอบการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้
- รายละเอียดการดำเนินงานและกิจกรรมต่างๆ
กรอบความตกลงอาเซียนด้านบริการ ในเดือนธันวาคม 2538 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน (ในขณะนั้นมีทั้งหมด 7 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซียน มเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บรูไนและเวียนดนาม) ได้ลงนามในกรอบความตกลงอาเซียนด้านการบิริการ
เป้าหมายหลักของ AFAS คือการเสริมสร้างความร่วมมือด้นการบริการระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขันของผุ้ให้บริการ เพ่ิมความสามารถในการผลิตและกระจายการบิรการไปยังผุ้บริโภคทั้งภายในและภายนอกอาเซียน รวมทั้งเพื่อขจัดข้อบังคับทางการต้าในภาคบริการระวห่างประเทศสมาชิก และเพื่อปิดเสรรีการค้าบริากรโดยขยายทั้งในเชิงลึกและเชิงกว้างของการเปิดเสรีของผุ้ให้บริการ ข้อตกลงดังกล่าวยังกำหนดแนวทางการดำเนินงานสำหีับประเทศสมาชิกในการปรับปรุงการเข้าสู่ตลาด และการเพิ่มความเท่าเที่ยมกันของผุ้ให้บิรการ โดยระเบียบข้อบังคับทั้งหมดของ AFAS จะมีความสดอคล้องกับระเบียบข้อบับคับของ GATS
ภายใต้กรอบของ AFAS อาเซียนได้มีการเจรจาต่อรองการต้าบริการระวห่างประเทศสมาชิกจำนวน 5 รอบ ส่งผลให้เกิดการลงนามในข้อผุกพันเปิดตลาดการต้าบริการทั้งหมด 7 ชุด ข้อผุกพันฯ เหล่านี้ครอบคลุมการเปิตลาดเสรีการบริการหลายประเภท ได้แก่ สาขาบริการะุรกิจ บริการด้านวิชาชีพ การก่อสร้าง การจัดจำหน่าย การศึกษา บริการด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ การขนส่งทางน้ำ การโทรคมนาคม และการท่องเที่ยว
ล่าสุดอาเซียนได้มีการจัดทำข้อผูกพันเปิดตลาดการต้าบิรการชุดที่ 8 โดยในส่วนของประเทศไทยมีกรมแจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักดำเนินการจัดทำตารางข้อผุกพันฯ ชุดที่ 8 ซึ่งมีกำหนดขำเข้าสู่การพิจารณาของคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาพในปี พ.ศ. 2555
สาระสำคัญของข้อผูกพันฯ ชุดที่ 8 ที่แตกต่างจากข้อผุกพันฯ ชุดก่อน ได้แก่ การมีระดับากรเปิดเสรีเพ่ิมขึ้น โดยประเทศสมาชิก จะต้องอนุญาตหใหนักลงทุนหรือนิติบุคคลสัญชาติอาเวียน สามารถเข้ามามีส่ัดส่วนการถือหุ้นในธุรกิจบริการในประเทศได้ร้อยละ 70 ในสาขาเร่งรัด ได้แก่เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สุขภาพ ท่องเที่ยว และการขนสงทางอากาศ รวมถึงสาขา
โลจิสติกส์ และไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 หรือไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งในสาขาบริากรอื่นๆ ที่นอกเหนือจาก 4 สาขาข้างต้น พร้อมกับจะต้องยกเลิกขอ้จำกัดการเข้าสู่ตลาดอื่นๆ ทั้งหมดอีกด้วย
ข้อตกลงอาเซียนด้านบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว ในการประชุมรัฐมนตรีท่องเที่ยวอาเซียน ครั้งที่ 12 เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2552 รัฐมนตรีท่องเที่ยวอาเซียนลงนามในข้อตกลงอาเซียนด้าบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว ซึ่งมีเป้าหมายเืพ่อส่งเสริมการเคลื่อนย้ายแรงงานด้านลบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวในอาเว๊ยน 9 ประเทศ โดยปัจจุบัน ประเทศไทยยังไม่ได้ลงนาในข้อตกลงนี้ เน่อจากติดเงื่อนไขต้องผ่านการพิจารณาของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญของประเทศ
เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2555 ประเทศไทย โดยนายชุมพล ศิลปอาชา รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยและวกีฬา ได้ลงนามในข้อตกลงดังกล่าว ทำให้ปัจจุบันการเคลื่อนย้ายบคุลากรวิชาชีพท่องเที่ยวครอบคลุมทุกประเทศสมาชิกอาเซียน และส่งผลให้แต่ละประเทศต้องดำเนินการจัดต้งคณะกรรมการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องภายใสใน 180 วัน
ตามแผยดำเนินงานที่วางไว้ อาเวียนจะจัดทำ "มาตรฐานสมรรถนะขึ้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน" ให้แล้วเสร็จาภยนปพี พงศ. 2558 และสามารถนำไปใช้ได้ในประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ปรเทศ โดย ACCSTP จะระบุถึงสมรรถนะพื้นฐานขั้นต่ำของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวในสายงานสาขาตางๆ โดยบุคลากรที่ได้รับประกาสนียบัตรสมรรถนะวิชาชีพบริการท่องเที่ยวใสในสาขาที่ระบุใน ACCSTP จากหน่วยงานที่รับผิดชอบของประเทศใดรประเทศหนึ่ง จะสามารถทำงานในประเทศสมาชิกาอาเซียนอื่นๆ ได้ โดยสิทธิการทำงานจะยังอยู่ภมยใต้กฎหมายมและข้อบงคับของประเทศที่บุคลลผุ้นั้นถูกจ้างงาน ดังนั้นประกาศนียลัติรดังกล่าวจึงถือเป็นเครือรับรองสคำคัญสำหรับผู้ที่ต้องการสมัครงานด้านกาท่องเที่ยวในประเทศสมาชิกอาเวียน
กาจัดทำมาตรฐานสมรรถนะ ฯ นี มุ่งเน้นสำหรับหลุ่มธุรกิจสำคัญ 2 กลุ่ม ได้แำก่ หลุ่มธุรกิจโรงแรม และกลุ่มธุรกิจบริการด้านการท่องเที่ยว โดยจจะครอบคลุมทั้งหมด 32 ตำแหน่งงาน ใน 6 สาขา
ข้อตกลง FTA ด้านการท่องเที่ยว อุตสาหกรรมท่องเที่ยวถือเป็นสาขาหนึ่งของการต้าบริการ ซึ่งถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อเศรษบกิจของหลายๆ ประเทศ เนื่องจากเป็นแหล่งที่มาของเงินตราต่างประเทศและการจ้างงาน จากรายงานขององ์การการท่องเที่ยวโลก ณ เดือนเมณายน 2554 สรุปว่าในปี 2553 จำนวนักท่องเที่ยวทั่วโลกมีถึง 940 ล้าคน ขณะที่ภูมิภาคอาเวียนมีจำนวยนใชนักท่องเที่ยวเดินทางมาเยือนในปี 2553 ถึง 73 ล้าคน
ด้วยเล็งเห็นถึงความสำคัญของอุตสหกรรมการบิรการโดยเฉพาะสาขาการท่องเที่ยว หลายประเทศทั้งโลกจึงได้มีการริเร่ิมความร่วมมือ และพยายามผลักดันให้มีการสร้างกฎเกณฑ์กติการสำหรัีบการต้าบริการระหว่างประเทศขึ้น โดยความร่วมมือที่สำัญประการหนึ่งคือการผลักดันให้มีการเปิเสรการต้าบริการทัี่วโลกซึ่งความพยายามดังกล่าวได้รัการสนับสนุนและผลักดันจาาหลายองค์กรระวห่งประเทศ ทั้งองค์กรในระดับพนุภาคี และองค์กรระดับภูมิภาค รวมทัังยังมีความตกลงที่ทำขึ้นระหว่งคู่ประเทศสัญญา หรือความตกลงระดับทวิภาคี เช่น ความตกลงเขตการค้าเสรีทวิภาคีระหว่างปรเทศไทยกับประเทศออสเตรเลีย และความตกลงหุ้นส่วนทางเศาฐกิจระวห่างประเทศญี่ปุ่นกับประเทศไทย เป็นต้น
คือการเจรจาเืพ่ยกเลิกข้อกีดขวาง หรืออุปสรรคที่มีต่อการค้าลริการในทุกรูปแบบของการต้าบริการ ระหว่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อช่ยวยสร้างเสถียรภาพและความโปร่งใสทางการ้าระว่างประเทศ รวมทั้งบรรยากาศความน่าลทุน ซึงจะเป็นประยชน์อย่างยิ่งต่อากรพัฒนาประเทศ การเปิดเสรียังขช่วยเพ่ิมโอกาศ ทางธุรกิจในการส่งออกสินค้าและบิรการไปยังประเทศอื่ๆน เพ่ิมโอากาสในการเรียนรู้ ช่วยสร้างงานให้กับคนในประเทศ กระตุ้นการแข่งขันในตลาด ทำให้สินค้าและบริการมีคุณภาพดีขึ้นแต่ราคาถุกลง ซึ่งส่งผลดีต่อผุ้บิรกโภค
อย่างไรก็ตา การเปิดเสรีการต้าบริากรอาจส่งผลกระทบต่อผุ้บิรโภค ผุ้ประกอบการและาภครัฐโดยเฉพาะถ้าขาดการวางแผนรองรับและการจัดการทีดี ผลกระทบสำคัญ ได้แก่ ผุ้ประกอบการวิสาหกิจ ขนาดกลางปละขนาดย่อม หรือ SMEs อาจเสียงต่อการปิดกิจการเนื่องจากไม่สามารถแข่งขันกับบริษัทต่างชาิตได้ ซึ่งขึ้นอยุ่กับปััจัยสำคัญอื่นๆ ด้วย เช่น คุณภาพและศักยภาพขององค์กรภาครัฐ ขึดความสามารถในการแข่งขันของผุ้ประกอบการ
ดังนั้น ในการเพ่ิมประโยชน์และลดผลเสียที่อสจตามมา การเปิดเสรีภาคบริการทุกประเภทความต้องดำเนินการตามขึ้นตอนอย่างรัดกุม รมทั้งแต่ละประเทศควรต้องมีคณะทำงานบริหารที่มีความรุ้และข้อบังคับทางกฎหมายที่เหมาสม เพื่อช่ยให้การเปิดเสรีนำมาซึ่งผลดีกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมากที่สุด
ในปี พ.ศ. 2538 ประเทศสมาชิกองคการการต้าโลก มีการลงนามใน "ความต้ตกลงด้านการต้าบริการ" โดยมัีวัตถุประสงค์ขยายการต้าบริากรภายใต้เงื่อนไขของความโปร่งใสของกฎเกณฑ์และระเียบข้อบังคับ การเปิดเสรีเพ่ิมขึ้นเป็นลำดับผ่านรอบการเจรจา และการมีส่วนร่วมของประเทศกำลังพัฒนา โดยกำหนดให้มีการเจรจาเปิดตลดาการต้าบริการในทุกๆ 5 ปี เพื่อ เพ่ิมการเปิดตลาดเสรีการต้าบริากรให้มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยการลดข้อจำกัดต่างๆ นการต้าบริากรในแตละรอบของการเจรจาการต้า
GATS ถือเป็นข้อตกลงแรกทางด้านกฎหมายในระดับพนุภาคีที่ครอบคลุมถึงการต้าบริากรและการท่องเที่ยว โดยวางกรอบด้านกฎหมายสำหรับการเจรจาต่อรองและการเปิดเสรีทางการต้า ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อขจัดข้อกีดขวางต่างๆ ที่เป็นข้อจำกัดสำหรับผุ้ให้บริากรที่เป็นชาวต่างชาติ ทำให้ไม่ใไ้สามารถเข้าถึงตลาดและได้รับการยอมรับใระดับชาติ นอกจากนี้ แกรตส์ ยังมุ่งเน้นให้มีการเคลื่อนย้ายคนเพื่อไปให้บริการในประเทศสมาชิกได้อย่างเสรีเป็นการชั่วคราว เพื่อเป็นการช่วยลดต้นทุนการขนส่ง โทรคมนาคมและสินค้าโดยต้องคำนึงถึงวัฒนธรรมและกฎหมายของประเทศสมาชิกที่ใช้บังคับอยู่เดิม อาทิเช่น การจำกัดอาชีพให้เป็นอาชีพสงวน การเก็บาษีซ้ำซ้อน และการกำหนดค่าธรรมเนียมวีซ่าที่สูง
กระบวนการของ แกทส์ เร่ิมต้นที่การวางกำหนดารางการเปิดตลาดเสรีการต้าบริากรภาคส่วนใดภาค่วนหนึ่ง การปกิบัตเยี่ยงคนชาติ รวมทั้งวางแผนขั้นตอนการดำเนินงานในระดับชาติและการกำหนดความรับผิดชอบในส่วนอื่นๆ นั่นหมายถึงประเทศนั้นๆ พร้อมเพื่อการเปิดตลาดสำหรับบิรษัทต่างชาิตที่จะได้รับการปฏิบัติที่เท่าเที่ยมกันจากภาครัฐ โดยการกำหนดข้อผุกพันสำหรับรูปแบบของการต้าบริากร ต่างๆ โดยแต่ละประเทศจะมีอิสระในการตัดสินใจวาจะร่วมเปิดเสรในประเภทของะุรกิจบริการใดบ้าง สามารถกำหนดระดับการเปิเสรี ลำดับขึ้ตอนและรายละเอียดของนโยบายระดับชาติ กฎหมายหรือระเบียบข้อบับคับที่จะถุกนำมาใช้ปฏิบัตเพื่อรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม และสามารถวางเงือนไขหรือข้อจำกัดพิเศษได้ ยกตัวอยางเช่น ประเทศหนึ่งอาจอนุญาตในห้ธนาคารค่างชาติเข้ามาเปิดบริการในประเทศได้ แต่กำหนดจำนวนใบอนุญาตที่จะให้ หรือจำนวนสาขาของธนาคารต่างชาติ เป้นต้น อย่างไรก็ตามทุกประเทจะต้องกำหนดเวลาที่แน่นอนในการเปิดเสรี รวมทั้งต้องจัดตารางเวลาสำหรับว่งผู้บริหารระดับสูง และตัวแทนการต้าระหว่างประเทศสมาชิก ภ้ารประเทศใดไม่สามารถทำตามกำหนดเวลาดังกล่าวก็จะถุกนำเข้าไปสู่กระบวนการบังคับของ WTO
เพื่อเป็นการกำหนดขอบเขตที่ชัดเจนของสาขาบริากรและเกิดความสะดวกในการเจรจา WTO ได้ ระบุกิจกรรมหลักของบริการด้านท่องเที่ยวว่าประกอบไปด้วย โรงแรมร้านอาหาร, ตัวแทนนำเทียวและผุ้ประกอบการท่องเที่ยว, บริการมัคคุเทศก์และอื่นๆ
- "ข้อมูลด้านการท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน", กลุ่มงานข้อมุลสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานจังหวัดภูเก็ต.
วันจันทร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2560
ASEAN Tourism
ประเทศในกลุ่มอาเซียน รวม 10 ประเทศ มีประชากรรวมกันท้งสิ้น 610.6 ล้านคนโดยประเทศอินโดนีเซียนมีมากที่สุดกว่าสองร้อยห้าสิบล้านคน และเป็นประเทศมุสลิมที่ใหย๋ที่สุดในโลก และฟิลิปปปินส์มีประกรกว่างร้อยล้านคน เป็นประเทศที่นับถือคริสต์มากเป็นอันดับ 4 ของโลก ตามด้วยเวียดนาม กว่าเก้าสิบล้านคน และไทย หกสิบหกล้าน คน และ พม่า มาเลเซีย กัมพูชา ลาว สิงคโปร์ตามลำดับ ส่วนประเทศที่มีประชากรน้อยที่สุดคือ บรูไน มีทั้งสิ้น 4 แสนคน
ผลิตภัณฑ์มาวรวม ภายในกลุ่มประเทศอาเซียน (GDP) เมื่อปี 2013 ทั้งสิ้น กว่า 2,395,000 ดอลล่าร์ยูเอสเอ โดยประเทศอินโดนีเซียกว่า แปดแสนหกหมื่อนยูเอสดอลล่าร์ ตามมาด้วยมาเลเซีย สามแสนหนึ่งหมื่นสองพัน ดอลล่าร์ ไทย สามแสนแปดหมื่นเจ็ดพันดอลล่าร์ สิงคโปร สองแสนเก้าหมืนเจ็ด ดอลล่าร์ ฟิลิปปินส์ สองแสนหกหมื่น..พม่า ห้าหมื่อนสี่ัพัน..บรูไน หนึ่งหมืนหกพัน..กัมพุชา หนึ่งหมื่นห้าพัน..ล่าว หนึ่งหมื่นเศษ ที่กล่าวมาเป็นตัวเลขคราวๆ ในปี 2013 โดยเมื่อเปรียบเที่ยบตัวเลข GDP ของประเทศต่างๆ จะค่อนข้างแปรผันไปตามจำนวนประชากรของประเทศนั้นๆ
โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว ของประเทสมาชิกอาเซียน ในปี 2013 เท่ากับ 3,831.8 ดอลล่าร์ยูเอส แต่เมื่อเปรีบเที่ยบตัวแลขผลิตภัณฑ์มวบลรวมต่หัวของแต่ละประเทศแล้วจะเห็นว่ามีความแตกต่งกันเป็นอย่างมากโดยไม่มีความสอดคล้องกับจำนวนประชากรแต่อข่างไร แต่ขึ้นอยู่กับความสามารถด้านเศรษฐกิจของประเทศนั้นๆ โดยจะแสดงให้เห็นตัวเลขผลิตภัฒฑ์มวลรวมต่อหัว เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ตามลำดับดังนี้ สิงคโปร์ 55,xxx ดอลล่าร์ยูเอส บรูไน 39.xxx ..., มาเลเซีย 10,xxx.., ไทย 5,6xx.., อินโดนีเซีย 3,4xx..., ฟิลิปปินส์ 2,7xx.., เวียดนาม 1,9xx.., ลาว 1,5xx.., กัมพุชา 1,xxx.., พม่า 8xx..,
จำนวนนักท่องเที่ยวในกลุ่มสมาชิกอาเซียน
เมื่อพิจารณาประเทศในกลุ่มสมาชิกอาเซียน มีความแตกต่างกันเป็นอย่างมากทั้งในแวของ เศรษฐฏิจ สังคม การเมือง ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี แต่ละประเทศมีประวัติศาสตร์ ที่แตกต่างกัน ทำให้กลุ่มประเทศเหล่านี้มีความหลากหลายไม่ซ้อแบบกันอย่างน่าสนใจ ทำให้แต่ละปะเทศมีจุดเด่นของตนเองเป็นเอกลักษ์และแบบเฉพาะของตน แต่ละประเทศมีจุดึงดูดให้นักท่องเที่ยวทั้งในกลุ่มสามาชิกอาเซียน และนอกประเทศสมาชิกอาเซียน นิยมเดินทางไปท่องเที่ยวในประเทศต่างๆ ในกลุ่มรปะเทศอาเซียนโดยไม่ซ้ำแบบกัน
ซึ่งตลาดทางท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน สามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ
ให้แ่ก่ประเทศได้เป็นจำนวนมหาศาล โดยในปี 2012 มีนักท่องเที่ยวเดินทางท่องเที่ยวภายในกลุ่มประทเศสมาชิกอาเวียน จำนวนทั้งสิ้น กว่าแปดสิบเก้าล้านคน เป็นนักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยภายในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเว๊ยน ด้วยกัน จำนวนทั้งสิ้น สี่สิบเก้าล้านคน คิดเป็น 55.3% โดยหากแบ่งตามจำนวนนักที่องเที่ยวที่เดินทางภายในประเทศสมาชิกอาเซียน เรียงตามลำับจากมากไปหาน้อย ได้แก่
- มาเลเซียน 25 ล้านคน 28%
- ไทย ยี่สิบสองบล้านคน 25%
- สิงคโปร์ 14 ล้านคน 16%
- อินโดนีเซีย แปดร้านคน 9%
- เวียดนาม หกล้านแปดแสนคน..7%
- ฟิลิปปินส์ สีล้านสองแสนคน 4%
- กัมพูชา สามล้านห้าแสนคน 4%
- ลาว สามล้านคน 3%
- พม่า หนึ่งล้านคน 1%
- และบรูไน สองแสนคน คิดเป็น 0.23%...
นักท้องเที่ยวที่เดินทางมาจากภายนอกประเทศกลุ่มประเทศอาเซียน จากมากไปน้อย ประกอบด้วย จีน สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา อินเดีย ไตหวัน รัสเซียน ตามลำดับ
- "ข้อมูลด้านการท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ASEAN Tourism Information" กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร, สำนักงานจังหวัดภูเก็ต..
ผลิตภัณฑ์มาวรวม ภายในกลุ่มประเทศอาเซียน (GDP) เมื่อปี 2013 ทั้งสิ้น กว่า 2,395,000 ดอลล่าร์ยูเอสเอ โดยประเทศอินโดนีเซียกว่า แปดแสนหกหมื่อนยูเอสดอลล่าร์ ตามมาด้วยมาเลเซีย สามแสนหนึ่งหมื่นสองพัน ดอลล่าร์ ไทย สามแสนแปดหมื่นเจ็ดพันดอลล่าร์ สิงคโปร สองแสนเก้าหมืนเจ็ด ดอลล่าร์ ฟิลิปปินส์ สองแสนหกหมื่น..พม่า ห้าหมื่อนสี่ัพัน..บรูไน หนึ่งหมืนหกพัน..กัมพุชา หนึ่งหมื่นห้าพัน..ล่าว หนึ่งหมื่นเศษ ที่กล่าวมาเป็นตัวเลขคราวๆ ในปี 2013 โดยเมื่อเปรียบเที่ยบตัวเลข GDP ของประเทศต่างๆ จะค่อนข้างแปรผันไปตามจำนวนประชากรของประเทศนั้นๆ
โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว ของประเทสมาชิกอาเซียน ในปี 2013 เท่ากับ 3,831.8 ดอลล่าร์ยูเอส แต่เมื่อเปรีบเที่ยบตัวแลขผลิตภัณฑ์มวบลรวมต่หัวของแต่ละประเทศแล้วจะเห็นว่ามีความแตกต่งกันเป็นอย่างมากโดยไม่มีความสอดคล้องกับจำนวนประชากรแต่อข่างไร แต่ขึ้นอยู่กับความสามารถด้านเศรษฐกิจของประเทศนั้นๆ โดยจะแสดงให้เห็นตัวเลขผลิตภัฒฑ์มวลรวมต่อหัว เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ตามลำดับดังนี้ สิงคโปร์ 55,xxx ดอลล่าร์ยูเอส บรูไน 39.xxx ..., มาเลเซีย 10,xxx.., ไทย 5,6xx.., อินโดนีเซีย 3,4xx..., ฟิลิปปินส์ 2,7xx.., เวียดนาม 1,9xx.., ลาว 1,5xx.., กัมพุชา 1,xxx.., พม่า 8xx..,
จำนวนนักท่องเที่ยวในกลุ่มสมาชิกอาเซียน
เมื่อพิจารณาประเทศในกลุ่มสมาชิกอาเซียน มีความแตกต่างกันเป็นอย่างมากทั้งในแวของ เศรษฐฏิจ สังคม การเมือง ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี แต่ละประเทศมีประวัติศาสตร์ ที่แตกต่างกัน ทำให้กลุ่มประเทศเหล่านี้มีความหลากหลายไม่ซ้อแบบกันอย่างน่าสนใจ ทำให้แต่ละปะเทศมีจุดเด่นของตนเองเป็นเอกลักษ์และแบบเฉพาะของตน แต่ละประเทศมีจุดึงดูดให้นักท่องเที่ยวทั้งในกลุ่มสามาชิกอาเซียน และนอกประเทศสมาชิกอาเซียน นิยมเดินทางไปท่องเที่ยวในประเทศต่างๆ ในกลุ่มรปะเทศอาเซียนโดยไม่ซ้ำแบบกัน
ซึ่งตลาดทางท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน สามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ
ให้แ่ก่ประเทศได้เป็นจำนวนมหาศาล โดยในปี 2012 มีนักท่องเที่ยวเดินทางท่องเที่ยวภายในกลุ่มประทเศสมาชิกอาเวียน จำนวนทั้งสิ้น กว่าแปดสิบเก้าล้านคน เป็นนักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยภายในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเว๊ยน ด้วยกัน จำนวนทั้งสิ้น สี่สิบเก้าล้านคน คิดเป็น 55.3% โดยหากแบ่งตามจำนวนนักที่องเที่ยวที่เดินทางภายในประเทศสมาชิกอาเซียน เรียงตามลำับจากมากไปหาน้อย ได้แก่
- มาเลเซียน 25 ล้านคน 28%
- ไทย ยี่สิบสองบล้านคน 25%
- สิงคโปร์ 14 ล้านคน 16%
- อินโดนีเซีย แปดร้านคน 9%
- เวียดนาม หกล้านแปดแสนคน..7%
- ฟิลิปปินส์ สีล้านสองแสนคน 4%
- กัมพูชา สามล้านห้าแสนคน 4%
- ลาว สามล้านคน 3%
- พม่า หนึ่งล้านคน 1%
- และบรูไน สองแสนคน คิดเป็น 0.23%...
นักท้องเที่ยวที่เดินทางมาจากภายนอกประเทศกลุ่มประเทศอาเซียน จากมากไปน้อย ประกอบด้วย จีน สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา อินเดีย ไตหวัน รัสเซียน ตามลำดับ
- "ข้อมูลด้านการท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ASEAN Tourism Information" กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร, สำนักงานจังหวัดภูเก็ต..
วันอาทิตย์ที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2560
The tourist
การท่องเที่ยวอาเซียน : ความหลากหลายที่ลงตัว ด้วยความหลากหลายทางศิลปะ ความร่ำรวย
ทางวัฒนธรรม และความบริสุทธิ์งดงามของธรรมชาติ ทำให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นจุดดึงดูดที่สำคัญของปรเทศในกลุ่มอาเซยนและเป็นที่มาของเม็ดเงินมหาศาลที่แต่ละประเทศได้นำใช้ในการพัฒนามาช้านาน อย่างไรก็ตาม เป้นในที่รับรู้กันในแวดวงการท่องเที่ยวอย่างแพร่หลายว่า ที่ผ่านมานั้นแต่ละประเทศในภุมิภาคอาเวียนมีการแข่งขันกันเองอย่างดุเดือดในการดึงนักท่องเที่ยวจากทั่วโลกให้เข้ามาท่องเที่ยวและจับจ่ายใช้สอยในประเทศของตน กล่าาวได้ว่าการทำการประชาสัมพันะือย่างเช้มข้นของแต่ละประเทศทำให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับโลกมากมาย เช่น หาดสวรรค์แห่ง ภูเก็ต บาหลี หรือบาราเค ไปจนถึงเมืองแห่งตึกระฟ้า เช่น สิงคโปร์ กัวลาลัมเปอร์ หรือนครแห่งวัดวาอาราม เช่น กรุงเทพ รวมไปถึงนครวัด
ในแง่การตลาดระดับภูมิภาคมีความพยายามมานานในการผลักดันให้กิดความร่วมมือกนเพื่อส่งเสริม "ASEAN Destination" แบบไม่แยกส่วน กล่าวคื อให้ประเทศในกลุ่มอาเวียนไ้จับมือกันเพื่อเพิ่มมุลค่าเพ่ิมให้กับการท่องเที่ยวของภุมิภาค เพื่อที่จะแข่งขันกับกลุ่มประเทศอื่นๆ แทนท่จะแข่งขันกันเอง นอกเนหือจากองค์ประกอบที่ชัดเจนของการท่องเที่ยวในอาเซียน เช่น ประวัติศาสตร์ ธรรมชาติ และวิถีชีวิตที่มีเอกลักษณ์แล้ว จุดขายที่โดดเด่นของอาเซียน คือ "ความแตกต่างหลากหลาย"
จะมีภูมิภาคใดบ้างใดลกที่นักท่องเทียวสามารถสัมผัสความทันสมัย สะดวกสบายของเมืองใหญ่ และสามารถมีประสบการณ์อันน่าทึ่งกับชาวบ้านที่ยังคงใช้ชีวิตเรียบง่าย ภายใต้ชีวิตและขนบประเพณีแบบดั้งเดิม
จะมีภูมิภาคใดบ้างที่่นักท่องเทียวจะได้เห็นร่องรอยประวัติศาสตร์และสภาปัตยกรรมของประเทศที่เคยถูกเป็นเมืองขึ้นของตะวันตกกับประเทศที่สามารถคงความเอกราชมาได้อย่างยาวนาน
จะมีภูมิภาคใดบ้างที่นักท่องเที่ยวได้เห้ฯความสมบูรณ์ของทรัพยากรทางธรรมชาติ ทั้งป่าเขา ท้องทะเล ซึ่งมีระบบนิเวศที่มีความพิเศษแตกต่าง
ทั้งหมดนี้ล้วนสัมผัสได้ในภูมิภาคอาเซียนซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถเดินทางจากประเทศหนึ่งไปสู่อีกประเทศหนึ่งภายในเวลาไม่เกิน 2 ชั่วโมง ดังนั้น การเกิดขึ้นของประชาคมเศราฐกจิอาเซียนจะเป้นการก้าวกระโดดครั้งสำคัญในมิติของการท่องเที่ยวที่จะทำให้เกิดการสร้างกฎเกณฑ์และมาตรฐาน ตลาดจนสร้างพลวัตของตลาดแรงานฝีมือเพื่อไปสู่เป้าหมายใหญ่คือการสร้างแบรนด์ "อาเซียน" ที่มีเสน่ห์และเอกลักษณ์เฉพาะเพื่อสื่สารไปสู่นักท่องเที่ยวในนานาประเทศทั่วโลก รวมทั้งนักท่องเที่ยวในกลุ่มอาเซียนด้วยกัน
ความร่วมมือดังกล่าวจะทำให้เกิดการสร้างนวัตกรรมด้านการท่องเที่ยวใหม่ๆ ผ่านการแบ่งปันองค์ความรู้ด้านการจัดการแหล่งท่องเที่ยว ตลอดจนสร้างกระแสการท่องเที่ยวสีเขียวให้เป็นกระแสหลลัก หากอาเซียนมียุทธศาสตร์ระดับภูมิภาคที่ชัดเจนและถูกทิศถูกทางทำให้การท่องเที่ยวเป็นหัวหอกด้านการพัฒนาทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมในการนำภูมิภาคนี้ไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นธรรม และไม่แบ่งแยกอย่างแท้จริงwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4473&filename=index
อาเซียนถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญสำหรับนักท่องเที่ยวทั้งจากภายในภูมิภาคและระหว่างประเทศ โดยจำนวนนักท่องเที่ยวมีแนวโน้มสูงขึ้นมาโดยตลอด ในปี 2013 นั้นมีนักท่องเที่ยวมาเยื่อนอาเซียนทั้งสิ้น 99.2 ล้านคน เพ่ิมขึ้น11.73% จากปีก่อนหน้า
มีความก้าวหน้าสำคัญในการอำนวยความสะดวกการเคลือนย้ายบริการและแรงงานมีทักษะอย่างเสรี โดยการดำเนินการตาม ASEAN Mutual Recognition Arrangement (MRA) on Tourism Professionals นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนามาตรฐานด้านการท่องเที่ยวสำหรับโรงแรมสีเขียว โฮมสเตย์ บริการสปา ห้องสุขาสาธารณะ เมืองท่องเที่ยวที่สะอาดและมีพื้นฐานจากชุมชนและรับรองมาตรฐาน ซึ่่งจะเป้นการช่วยเสริมสร้างคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์และบิรการด้านต่างๆ ในสาขาท่องเที่ยว มีการทำการตลาดและสงเสริมกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวอาเซียนร่วมกับภาคเอกขนผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ นอกจากนี้ ยังมีการปรับปรุงเว็บไซต์ด้านการท่องเทียวอาเซียน ให้มีคุณภาพดีขึ้น
ด้านการร่วมมือกับประเทศที่มิใช้สมาชิกอาเซียนนั้น ในปัจจุบันมีความร่วมมือกับ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลี เพื่อเป้ฯการส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศเหล่านั้นด้วย การท่องเที่ยวอาเซียน ได้ร่วมกันกำหนดแผนการรวมกลุ่มสาขาการท่องเที่ยของอาเซียนขึ้น โดยแผนการรวมกลุ่มสาขาท่องเที่ยวดังกล่าวจะมีส่วนำสำคัญต่อการเร่งรัดการเปิดเสรีการบริการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในภูมิภาครวมถึงมาตการต่างๆ ในการอำนวนความสะดวก การเดินทางของนักท่องเที่ย เช่น กระบวนการออกวีซ่าให้เป้นมาตรฐานเดียวกัน การยกเว้นวีซ่าให้คนชาติอาเซียน การเร่งรัดการจัดทำ อาเซียน ซิงเกิล วีซา และมาตรการการส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรม และมาตรการการสงสเริมการตลาดร่วมกันเพื่อประชาสัมพันะือาเว๊ยนในฐานะแหล่งท่องเที่ยวร่วมกัน ตลอดจนมีการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน โดยล่าสุดคือแผนระหว่างปี 2011-2015 เพื่อพัฒนาไปสู่การท่องเทียวที่ยั่งยืน
แผนยุทธศาสตร์ดังกล่าวเป้นผลจากการประชุมกลุ่มทำงานพิเศษด้านการบูรณาการการท่องเที่ยวอาเซียน ในปี 2009 ที่ต้องการพัฒนาพิมพ์เขียวในการกำหนดนโยบายและโครงการต่างๆ ขององค์กรท่องเที่ยวระดับชาติอาเซียน ทั้งในด้านการตลาด การัพฒนาผลิตภัฒฑ์ มาตรฐาน การพัฒนาบุคลากร การลงทุน และการสื่อสารระหว่างกันโดยมีการกำนดวัตถุประสงค์ ไว้ดังนี้
- ทบทวนปฏิญญา ความตกลงต่างๆ ในการัดตั้งประชาคมอาเว๊ยนและการบรูณาการภาคการท่องเทียว อาทิ กรอบข้อตกลงด้านการต้าบริการอาเซียน
- ปรึกษาหารือกับองค์กรพัฒนาเอกชนอาเซียน และประธานหน่วยทำงานต่างๆ ตลอดจนภาคเอกชน เพื่อหาข้อมูล แนวความคิด ข้อเสนอแนะในด้านวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ สำหรับการท่องเทียวอาเวียนภายในปี 2015
- ประเมินผลการทำงานของ NTOs คณะทำงานต่างๆ ที่ควรดำเนินการเื่อกำหนดวิสัยทัศน์และเป้าหมายของการท่องเที่ยวอาเซียนภาในปี 2015
- จัดเตรียมแผนการดำเนินงานสำหรับการท่องเที่ยวอาเซียน ดดยมีการระบุโครงการและกิจกรรม กรอบระยะเวลา และผุ้รับผิดชอบ
โดยการดำเนินงานตามแผนฯ นั้นจะยึดหลัการสำคัญ 6 ประการคือ
1.การพัฒนาการท่องเที่ยจะต้องเป็นการพัฒนาดดยมีการบูรณาการและมีรูปแบบ
2. มีความยั่งยืนและมีความรับผิดชอบ
3. ได้รับความร่่วมมือจากผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียในวงกว้าง
4. มีการพัฒนาผลิตภัฒฑืการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ
5. มีการบิรการเป็นเลิส และ
ุ6. ได้รับประสบการณ์ ที่โดดเด่นและการมีปฏิสัมพันธ์
การประชุมรัฐมนตรีด้านการท่องเที่ยวอาเซียนเป็นการประชุมเพื่อหารือและกำหนดนโยบายด้นการท่องเทียวของอาเวียน โดยมีการประชุมปีละครั้ง การประชุมคร้งล่าสุดเป็นการประชุมครั้งที่ 18 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2558 กรุงเนปิดอว์ ประเทศเมียนมา ดดยมี ฯพณฯ U Htay Aung รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการโรงแรมและท่องเที่ยว เป็นประธาน มีสาระสำคัญของการประชุมโดยสังเขป คือ
- มีความคืบหน้าในการดำเนินการตาม อาเซียน โอเพ่นส์ สกายส์ อะกรีเม้นต์ เพื่อเป็นการสงเสริมการท่องเทียวการท่องเที่ยภายในอาเซียนซึ่งถือป็นที่มาหลักของการเจริญเตบโตในด้านการท่องเที่ยว
- ความคืบหน้าในการดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน 201132015 และเห็นพ้องว่าสำหรับแผนฯ ฉบับต่อไป ระหว่าง 2016-2025 นั้น อาเซียนควรมุ่งเน้นในการเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ โดยการนำเสนอประเด็นการท่องเทียวที่จะได้รับประสบการณ์ที่มีเอกลักษณ์และมีความหลากหลายและยึดมั่นในหลักการแห่งความรับผิดชอบ และการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวที่ทั่วถึงและสมดุล
- ในด้านบุคลากรด้านการท่องเที่ยว ได้มีการับรองข้อเสนอที่จะจัดตั้งสำนักเลขาธิการท่องเที่ยว ได้มีการรับรองข้อเสนอที่จะจัดตั้งสำรักเลขาธิการระดับภูมิภาคขึ้นในกรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อเป็นการอำนวย ความสะดวกและดำเนินการตามข้อตกลงยอมรับร่วม ในด้านผุ้ประกอบวิชาชีพด้านการท่องเที่ยว โดยจะมีการรับรองผู้ประกอบวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวประมาณ 6,000 ราย..
- มีความคืบหน้าในการัพมฯาระบบการขึ้นทะเบียผุ้ประกอบวิชาชีพท่องเที่ยวอากวียน และะครงการอื่นๆ
- ด้านการปรับปรุงคุณภาพ จะถือเป้นการเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันของอาเซียน ในฐานะแหล่งท่องเทียวร่วม นอกจากจะมีความคืบหน้าในการจัดทำมาตรฐานด้านการท่องเที่ยวอาเซียนแล้ว ยังมีความคิดริเริ่ม ที่จะพัฒนามาตรฐานการจัดประชุมไมซ์ อีกด้วย
- มีการิเริ่มจัดทำแนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยการท่องเที่ยวอาเซียน และมีการจัดทำเว็บไซต์ เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกในการหาข้อมูลในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
- มีการส่งเสริมการท่องเที่ยวอาเวียนในขช่องทางต่างๆ ทั้งเว็บไซต์ สื่งสังคมออนไลน์ และความร่วมมือกับภาคเอกชน
- มีการพัฒนาผลิตภัฒฑ์ด้านการท่องเที่ยวอาเซียนที่เน้นด้านธรรมชาติ ดดยได้มีการพัฒนา แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์อาเซียน และด้านวัฒนธรรมด้วย
- มีการปรับปรุงการเชื่อมโยงทางอากาศในอาเซียนผ่าน อาเซียน โอเพ่น สกายส์ อะกรีเม้นต์ และมีการเจรจากับประทศคู่เจรจา ได้แก่ จีน สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และเกาหลี
- มีการจัดงาน อาเซียน ทัวลิส ฟอร์ลัม 2015 ณ กรุง เนปิดอว์ ประเทศเมียนมา ภายใต้ชื่อ งาน "อาเซียน-ทัวลิสต์ ทูวาส เพส พลอสเพอริตี้
- ในวาระเดียวกันยังมีการประชุมรัฐมนตรีด้านการท่องเที่ยวอาเซียนบวกสาม ครั้งที่ 14...www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=3963&filename=index
ทางวัฒนธรรม และความบริสุทธิ์งดงามของธรรมชาติ ทำให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นจุดดึงดูดที่สำคัญของปรเทศในกลุ่มอาเซยนและเป็นที่มาของเม็ดเงินมหาศาลที่แต่ละประเทศได้นำใช้ในการพัฒนามาช้านาน อย่างไรก็ตาม เป้นในที่รับรู้กันในแวดวงการท่องเที่ยวอย่างแพร่หลายว่า ที่ผ่านมานั้นแต่ละประเทศในภุมิภาคอาเวียนมีการแข่งขันกันเองอย่างดุเดือดในการดึงนักท่องเที่ยวจากทั่วโลกให้เข้ามาท่องเที่ยวและจับจ่ายใช้สอยในประเทศของตน กล่าาวได้ว่าการทำการประชาสัมพันะือย่างเช้มข้นของแต่ละประเทศทำให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับโลกมากมาย เช่น หาดสวรรค์แห่ง ภูเก็ต บาหลี หรือบาราเค ไปจนถึงเมืองแห่งตึกระฟ้า เช่น สิงคโปร์ กัวลาลัมเปอร์ หรือนครแห่งวัดวาอาราม เช่น กรุงเทพ รวมไปถึงนครวัด
ในแง่การตลาดระดับภูมิภาคมีความพยายามมานานในการผลักดันให้กิดความร่วมมือกนเพื่อส่งเสริม "ASEAN Destination" แบบไม่แยกส่วน กล่าวคื อให้ประเทศในกลุ่มอาเวียนไ้จับมือกันเพื่อเพิ่มมุลค่าเพ่ิมให้กับการท่องเที่ยวของภุมิภาค เพื่อที่จะแข่งขันกับกลุ่มประเทศอื่นๆ แทนท่จะแข่งขันกันเอง นอกเนหือจากองค์ประกอบที่ชัดเจนของการท่องเที่ยวในอาเซียน เช่น ประวัติศาสตร์ ธรรมชาติ และวิถีชีวิตที่มีเอกลักษณ์แล้ว จุดขายที่โดดเด่นของอาเซียน คือ "ความแตกต่างหลากหลาย"
จะมีภูมิภาคใดบ้างใดลกที่นักท่องเทียวสามารถสัมผัสความทันสมัย สะดวกสบายของเมืองใหญ่ และสามารถมีประสบการณ์อันน่าทึ่งกับชาวบ้านที่ยังคงใช้ชีวิตเรียบง่าย ภายใต้ชีวิตและขนบประเพณีแบบดั้งเดิม
จะมีภูมิภาคใดบ้างที่่นักท่องเทียวจะได้เห็นร่องรอยประวัติศาสตร์และสภาปัตยกรรมของประเทศที่เคยถูกเป็นเมืองขึ้นของตะวันตกกับประเทศที่สามารถคงความเอกราชมาได้อย่างยาวนาน
จะมีภูมิภาคใดบ้างที่นักท่องเที่ยวได้เห้ฯความสมบูรณ์ของทรัพยากรทางธรรมชาติ ทั้งป่าเขา ท้องทะเล ซึ่งมีระบบนิเวศที่มีความพิเศษแตกต่าง
ทั้งหมดนี้ล้วนสัมผัสได้ในภูมิภาคอาเซียนซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถเดินทางจากประเทศหนึ่งไปสู่อีกประเทศหนึ่งภายในเวลาไม่เกิน 2 ชั่วโมง ดังนั้น การเกิดขึ้นของประชาคมเศราฐกจิอาเซียนจะเป้นการก้าวกระโดดครั้งสำคัญในมิติของการท่องเที่ยวที่จะทำให้เกิดการสร้างกฎเกณฑ์และมาตรฐาน ตลาดจนสร้างพลวัตของตลาดแรงานฝีมือเพื่อไปสู่เป้าหมายใหญ่คือการสร้างแบรนด์ "อาเซียน" ที่มีเสน่ห์และเอกลักษณ์เฉพาะเพื่อสื่สารไปสู่นักท่องเที่ยวในนานาประเทศทั่วโลก รวมทั้งนักท่องเที่ยวในกลุ่มอาเซียนด้วยกัน
ความร่วมมือดังกล่าวจะทำให้เกิดการสร้างนวัตกรรมด้านการท่องเที่ยวใหม่ๆ ผ่านการแบ่งปันองค์ความรู้ด้านการจัดการแหล่งท่องเที่ยว ตลอดจนสร้างกระแสการท่องเที่ยวสีเขียวให้เป็นกระแสหลลัก หากอาเซียนมียุทธศาสตร์ระดับภูมิภาคที่ชัดเจนและถูกทิศถูกทางทำให้การท่องเที่ยวเป็นหัวหอกด้านการพัฒนาทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมในการนำภูมิภาคนี้ไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นธรรม และไม่แบ่งแยกอย่างแท้จริงwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4473&filename=index
อาเซียนถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญสำหรับนักท่องเที่ยวทั้งจากภายในภูมิภาคและระหว่างประเทศ โดยจำนวนนักท่องเที่ยวมีแนวโน้มสูงขึ้นมาโดยตลอด ในปี 2013 นั้นมีนักท่องเที่ยวมาเยื่อนอาเซียนทั้งสิ้น 99.2 ล้านคน เพ่ิมขึ้น11.73% จากปีก่อนหน้า
มีความก้าวหน้าสำคัญในการอำนวยความสะดวกการเคลือนย้ายบริการและแรงงานมีทักษะอย่างเสรี โดยการดำเนินการตาม ASEAN Mutual Recognition Arrangement (MRA) on Tourism Professionals นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนามาตรฐานด้านการท่องเที่ยวสำหรับโรงแรมสีเขียว โฮมสเตย์ บริการสปา ห้องสุขาสาธารณะ เมืองท่องเที่ยวที่สะอาดและมีพื้นฐานจากชุมชนและรับรองมาตรฐาน ซึ่่งจะเป้นการช่วยเสริมสร้างคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์และบิรการด้านต่างๆ ในสาขาท่องเที่ยว มีการทำการตลาดและสงเสริมกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวอาเซียนร่วมกับภาคเอกขนผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ นอกจากนี้ ยังมีการปรับปรุงเว็บไซต์ด้านการท่องเทียวอาเซียน ให้มีคุณภาพดีขึ้น
ด้านการร่วมมือกับประเทศที่มิใช้สมาชิกอาเซียนนั้น ในปัจจุบันมีความร่วมมือกับ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลี เพื่อเป้ฯการส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศเหล่านั้นด้วย การท่องเที่ยวอาเซียน ได้ร่วมกันกำหนดแผนการรวมกลุ่มสาขาการท่องเที่ยของอาเซียนขึ้น โดยแผนการรวมกลุ่มสาขาท่องเที่ยวดังกล่าวจะมีส่วนำสำคัญต่อการเร่งรัดการเปิดเสรีการบริการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในภูมิภาครวมถึงมาตการต่างๆ ในการอำนวนความสะดวก การเดินทางของนักท่องเที่ย เช่น กระบวนการออกวีซ่าให้เป้นมาตรฐานเดียวกัน การยกเว้นวีซ่าให้คนชาติอาเซียน การเร่งรัดการจัดทำ อาเซียน ซิงเกิล วีซา และมาตรการการส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรม และมาตรการการสงสเริมการตลาดร่วมกันเพื่อประชาสัมพันะือาเว๊ยนในฐานะแหล่งท่องเที่ยวร่วมกัน ตลอดจนมีการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน โดยล่าสุดคือแผนระหว่างปี 2011-2015 เพื่อพัฒนาไปสู่การท่องเทียวที่ยั่งยืน
แผนยุทธศาสตร์ดังกล่าวเป้นผลจากการประชุมกลุ่มทำงานพิเศษด้านการบูรณาการการท่องเที่ยวอาเซียน ในปี 2009 ที่ต้องการพัฒนาพิมพ์เขียวในการกำหนดนโยบายและโครงการต่างๆ ขององค์กรท่องเที่ยวระดับชาติอาเซียน ทั้งในด้านการตลาด การัพฒนาผลิตภัฒฑ์ มาตรฐาน การพัฒนาบุคลากร การลงทุน และการสื่อสารระหว่างกันโดยมีการกำนดวัตถุประสงค์ ไว้ดังนี้
- ทบทวนปฏิญญา ความตกลงต่างๆ ในการัดตั้งประชาคมอาเว๊ยนและการบรูณาการภาคการท่องเทียว อาทิ กรอบข้อตกลงด้านการต้าบริการอาเซียน
- ปรึกษาหารือกับองค์กรพัฒนาเอกชนอาเซียน และประธานหน่วยทำงานต่างๆ ตลอดจนภาคเอกชน เพื่อหาข้อมูล แนวความคิด ข้อเสนอแนะในด้านวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ สำหรับการท่องเทียวอาเวียนภายในปี 2015
- ประเมินผลการทำงานของ NTOs คณะทำงานต่างๆ ที่ควรดำเนินการเื่อกำหนดวิสัยทัศน์และเป้าหมายของการท่องเที่ยวอาเซียนภาในปี 2015
- จัดเตรียมแผนการดำเนินงานสำหรับการท่องเที่ยวอาเซียน ดดยมีการระบุโครงการและกิจกรรม กรอบระยะเวลา และผุ้รับผิดชอบ
โดยการดำเนินงานตามแผนฯ นั้นจะยึดหลัการสำคัญ 6 ประการคือ
1.การพัฒนาการท่องเที่ยจะต้องเป็นการพัฒนาดดยมีการบูรณาการและมีรูปแบบ
2. มีความยั่งยืนและมีความรับผิดชอบ
3. ได้รับความร่่วมมือจากผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียในวงกว้าง
4. มีการพัฒนาผลิตภัฒฑืการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ
5. มีการบิรการเป็นเลิส และ
ุ6. ได้รับประสบการณ์ ที่โดดเด่นและการมีปฏิสัมพันธ์
การประชุมรัฐมนตรีด้านการท่องเที่ยวอาเซียนเป็นการประชุมเพื่อหารือและกำหนดนโยบายด้นการท่องเทียวของอาเวียน โดยมีการประชุมปีละครั้ง การประชุมคร้งล่าสุดเป็นการประชุมครั้งที่ 18 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2558 กรุงเนปิดอว์ ประเทศเมียนมา ดดยมี ฯพณฯ U Htay Aung รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการโรงแรมและท่องเที่ยว เป็นประธาน มีสาระสำคัญของการประชุมโดยสังเขป คือ
- มีความคืบหน้าในการดำเนินการตาม อาเซียน โอเพ่นส์ สกายส์ อะกรีเม้นต์ เพื่อเป็นการสงเสริมการท่องเทียวการท่องเที่ยภายในอาเซียนซึ่งถือป็นที่มาหลักของการเจริญเตบโตในด้านการท่องเที่ยว
- ความคืบหน้าในการดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน 201132015 และเห็นพ้องว่าสำหรับแผนฯ ฉบับต่อไป ระหว่าง 2016-2025 นั้น อาเซียนควรมุ่งเน้นในการเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ โดยการนำเสนอประเด็นการท่องเทียวที่จะได้รับประสบการณ์ที่มีเอกลักษณ์และมีความหลากหลายและยึดมั่นในหลักการแห่งความรับผิดชอบ และการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวที่ทั่วถึงและสมดุล
- ในด้านบุคลากรด้านการท่องเที่ยว ได้มีการับรองข้อเสนอที่จะจัดตั้งสำนักเลขาธิการท่องเที่ยว ได้มีการรับรองข้อเสนอที่จะจัดตั้งสำรักเลขาธิการระดับภูมิภาคขึ้นในกรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อเป็นการอำนวย ความสะดวกและดำเนินการตามข้อตกลงยอมรับร่วม ในด้านผุ้ประกอบวิชาชีพด้านการท่องเที่ยว โดยจะมีการรับรองผู้ประกอบวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวประมาณ 6,000 ราย..
- มีความคืบหน้าในการัพมฯาระบบการขึ้นทะเบียผุ้ประกอบวิชาชีพท่องเที่ยวอากวียน และะครงการอื่นๆ
- ด้านการปรับปรุงคุณภาพ จะถือเป้นการเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันของอาเซียน ในฐานะแหล่งท่องเทียวร่วม นอกจากจะมีความคืบหน้าในการจัดทำมาตรฐานด้านการท่องเที่ยวอาเซียนแล้ว ยังมีความคิดริเริ่ม ที่จะพัฒนามาตรฐานการจัดประชุมไมซ์ อีกด้วย
- มีการิเริ่มจัดทำแนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยการท่องเที่ยวอาเซียน และมีการจัดทำเว็บไซต์ เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกในการหาข้อมูลในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
- มีการส่งเสริมการท่องเที่ยวอาเวียนในขช่องทางต่างๆ ทั้งเว็บไซต์ สื่งสังคมออนไลน์ และความร่วมมือกับภาคเอกชน
- มีการพัฒนาผลิตภัฒฑ์ด้านการท่องเที่ยวอาเซียนที่เน้นด้านธรรมชาติ ดดยได้มีการพัฒนา แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์อาเซียน และด้านวัฒนธรรมด้วย
- มีการปรับปรุงการเชื่อมโยงทางอากาศในอาเซียนผ่าน อาเซียน โอเพ่น สกายส์ อะกรีเม้นต์ และมีการเจรจากับประทศคู่เจรจา ได้แก่ จีน สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และเกาหลี
- มีการจัดงาน อาเซียน ทัวลิส ฟอร์ลัม 2015 ณ กรุง เนปิดอว์ ประเทศเมียนมา ภายใต้ชื่อ งาน "อาเซียน-ทัวลิสต์ ทูวาส เพส พลอสเพอริตี้
- ในวาระเดียวกันยังมีการประชุมรัฐมนตรีด้านการท่องเที่ยวอาเซียนบวกสาม ครั้งที่ 14...www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=3963&filename=index
วันเสาร์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2560
HUB Part 2
ไทยกับการเป็นศุนย์กลางธุรกิจการบินอาเซียน
มีการศึกษาภาพรวมธุรกิจการบินไทยในปี 2556-2558 ว่ามีการเติบโตอย่างต่อเนื่องจากปัจจัยที่กำลังจะก้าวเข้าสู่การป็นประชาคมเศษฐกิจอาเซียน และจากการขยายตัวของธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำ ทั้งในประเทศและในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดย ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่าในปี 2556 จะมีจำนวนเที่ยวบินมมาทำการบินผ่านท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานดอนเมือง ซึ่งเป็นท่าอากาศยานหลักและรองของประเทศ รวมทั้งสิ้น 440,170 เที่ยวบิน เพ่ิมขึ้นร้อยละ 16 เมื่อเที่ยบกัยปีที่ผ่านมา
นอกจากนี้ยังมีตัวเลขจากการพยากรณ์ทางการ ตลาดโลก หรือโกลบอล มาร์เก็ต ผอร์คาสต์ ของบริษัทผลิตอากาศยานค่ายยุโรประบุว่า ในอีก 20 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2556-2575 ) อัตราการเินทางทางอากาศจะเติบโตขึ้นถึงร้อยละ 4.7 ต่อปี โดยอากาศยานที่มีในปัจจุบันประมาณ 17,740 ลำ ทั่วโลกจะเพ่ิมขึ้นเป็นเกือบ 36,560 ลำ ภายในปี 2575 ซึ่งภายนปีดังกล่าวภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกจะมีอัตราการเดินทางทางอากาศเพ่ิม สูงขึ้น แซงหน้าภุมิภาคยุโรปและอเมริกาเหนือ โดยปัจจุบันการเินทางทางอากาศเฉลี่ยทั่วโลกที่เพ่ิมสูงขึ้น ร้อยละ 5.5 ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกมีความต้องการอากาศยานโดยสารใหม่สุงถึงร้อยละ 36 ตามมาด้วยยุโรป ร้อยละ 20 และอเมริกาเหนือ ร้อยละ 19
สำหรับ ภูมิภาคอาเซียนน้นกระแสการตื่นตัวรับการก้าวเข้าสู่การเป้นประชาคมเศราฐกิจ อาเซียน ก่อให้เกิดกิจกรรมต่างๆ มากมาย ทั้งากร้า การลงทุน และการท่องเที่ยว ส่งผลให้เกิดความเติบโตทางเศราฐฏิจ รวมทั้งอำนาจซื้อที่เพ่ิมสูงขึ้นของระชากรในภูมิภาค ก่อให้เกิดความเป็นเมืองตามมา ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ก่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างภูมิภาค สงผลให้เกิดการเดินทางระหว่างประเทศอาเซียนมากยิ่งขึ้น และเกิดการขยายตัวของตลาดการท่องเที่ยวในประเทศอาเซียนอีกด้วย
นอกจากนี้การเปิด AEC ยังก่อให้เกิดปัจจัยสนับสนุนธุรกิจการบินอีกปัจจัยหลัก คือ เปิดเสรีการบินอาเซียน ในปี 2556 โดยเป็นกรอบความตกลงพหุภคีเพื่อให้ประเทสสมาชิกอาเซียนสามารรถขนส่งทางอากาศระหว่างกันโดยไม่จำกัดจำนวน ความจุความถี่ แต่ทั้งนี้ยังคงเผชิญอุปสรรคจากกฎหมายและกฎระเบียบข้อบังคัยภายในประเทศของ แต่ละประเทศสมาชิกอยู่ อย่างไรก็ตามกระแสการรวมเป็น AEC ก็ส่งผลให้เกิดความคึกคักต่อธุรกิจการบินในภูมิภาคเป็นอย่างมาก ดยทำให้เกิดการเพ่ิมเที่ยวบินและขยายเส้นทางการบินมายังประเทศอาเซียน และเส้นทางการบินระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะ อย่างยิ่งการเติบโตของธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำ ซึ่งมีแรงดึงดูดทางด้านราคา ทั้งนี้ในระหว่างปี 2554-2556 มีการเปิดตัวสายการบินต้นทุนต่ำในภูมิภาคอาเวียนกว่า 7 สายการบิน ใน 6 ประเทศ ได้แก่ เวียดนาม สปป.ลาว เมียนมาร์ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์
นอกเหนือจากนี้ยัวมีการขยายเส้นทางการบินไปยังจุุดหมายปลายทางระหว่างเมืองต่างๆ ในอาเวียนมายิ่งขึ้น เช่น การขยายเส้นทางการบินของสายการบินต่างๆ ที่มีฐานการบินในไทย ไปยังเมืองต่างๆ ของเมยนมาร์ อาทิ ย่างกุ้ง-มัณฑะเลย์-เนปิดอว์ และการขยยายเส้นทางการบินไปยัง สปป.ลาว การเพ่ิมขึ้นของจำนวนสายการบินซึ่งทำการบินเส้นทางกรุงเทพฯ-เสียมเรียบ ปรเทศกัมพูชาเนื่องจากได้มีการยกเลิการสงวนเส้นทางไว้ให้เฉพาะบางสายการบิน การขยายเส้นทางบินของสายการบินแห่งชขาติกัมพูชามายังไทยและไปยังเวียดนาม เป็นต้น
สำหรับประเทศไทยแล้วนับว่ามีความได้เปรียบด้านทำเลที่ตั้ง ที่มีพรมแดนติดกับประเทศอาเซียนถึง 4 ประเทศ และมีจุดแข็งจากการเติบโตของธุรกิจการบินอย่างโดดเด่นในภูมิภาค พิจารณาจากจำนวนผุ้โดยสารที่เดินทางมาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิในปี 2555 เป็นอัดนดับ 2 ของภูมิภาค องจากท่าอากาศยานซูการ์โน่ฮัตตา ของอินโดนีเซีย อีกทั้งไทยยังมีอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนเครื่องบินที่แข็งแกร่ง โดยที่ผ่ามารมีบริษัทต่าชาติให้ความสำคัญในการเข้ามาลงทุนตั้งฐานการผลิต ชิ้นส่วนเครื่องบินเพื่อการส่งออก โดยในปี 2555 ประเทศไทยมีมูลค่า การนำเข้า-ส่งออกเครื่องบินและชิ้นสวนเครื่องบิน มูลค่ากว่า 142,241 ล้านบาท และในปี 2556 ระหว่างเดือน ม.ค.-ส.ค. มีมูลค่าการนำเข้า-ส่งออกเครื่องบินและชิ้นส่วนเครื่องบินกว่า 137,224 ล้านบาท เติบโตกว่าร้อยละ 93 เมื่อเที่ยบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดังนั้นเพื่อเป็นการรองรับธุรกิจการบินที่จะขยายตัวเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้นอกจาก
ประเทศไทยมีความมุ่งหวังที่จะเป็นศูนย์กลางทางการบินของภูมิภาคแล้วยังมีเป้าหมายที่จะเป็น "ศูนบ์กลางซ่อมบำรุงอากาศยานของภุมิภาค" เพื่อรอบรับปริมาณเครื่องบินที่จะเพิ่มขึ้นในภูมิภาคอาเซียนอีกด้วย
สิงที่ไทยต้องลงมือทำอย่างจริงจัง ก็คือควรเร่งพัฒนาศักยภาพเพือดึงดูดปริมาณเครื่องบินต่างๆ โดยเฉพาะเครื่องบินจากกลุ่มประเทศ CLMV ที่มีการเติบโตทางด้านธุรกิจการบิน แต่ยังขาดความพร้อมทางด้านวิศวกรรมการบิน ควรวางแผนดานการพัฒนาทรัพยกรบุคคลที่มีคุณภาพ ซึ่งปัญหาังลก่าวต้องไดรับการพิจารณาและเร่งดำเนินการแก้ไข เนื่องจากการเติบโตอย่างมากของธุรกิจการบินอาเซียนได้ทำให้รัฐบาลของประเทศ ต่างๆ เล็งเห็นถึงโอากาสเช่นกัน เช่น สิงคโปร์ และมาเลเซีย ซึงเป็นสมาชิกอาเซียนก็มีเป้าหมายที่จะเป็นศูนย์กลางซ่อมบำรุงอากาศยานของ ภูมิภาคด้วยเช่นกัน เหนือสิงอืนใดคือควรสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับสายการบินต่างสัญชาติที่มีฐาน การบินในไทยให้มาใช้บริากรศูนย์ซ่อมอากาศยานของไทย ทั้งนี้มีการคาดการณ์ว่ามูลค่าการซ่อมบำรุงอากาศยานทั่วโลก ในปี 2562 จะมีมูลค่าถึง 63,000 ล้านเหรียญสหรัฐwww.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1384493044
ว่ากันว่า ในปี 2558 ที่ผ่านมา สายการบินในประทศไทยมีจำนวนฝูงบินรวมกันทังสิ้น 208 ลำ เพ่ิมขึ้นจากปี 2556 จำนวน 31 ลำ การขยายตัวดังกล่าวสอดรับกับการเติบโตของธุรกิจการบินในภุมิภาคเอเชยตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีความคึกคักอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา และพบว่าในช่วงปี 2555-2448 ผุ้โดยสารที่มีจุดหมายปลายทางมายังเอเชียตะวันออกเแียงใต้ขยายตัวในอัตโดยสารที่มีจุดหมายปลายทงมายังเอเชียตะวันออเแียงใต้ขยายตัวในอัตรา 9.2 % ต่อปี สูงกว่าอัตราการเติบโตของจำนวนผุ้โดยสารทั่วดลกที่เติบโตเฉลี่ย 6.2% ต่อปี ในช่วงเวลาเดียวกัน
ศุนย์วิจัยกสิกรไทยรายงานว่า ที่ผ่านมาบริษัทผุ้ผลิตเครื่องบินรายใหญ่ได้มีการพยากรณ์ว่า ในอีก 20 ปีข้างหน้า หรือปี 2578 จะมีผุ้โดยสารที่มีจุดหมายปลายทางมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กว่า 2,360 ล้านคน หรือขยายตัวเฉลี่ย 6% ต่อปี ขณะที่การเดินทงไปยังจุหมายปลายทางทั่วโลกเติบโตเฉลี่ยที่ 4.8 % ต่อปี
จากแนวโน้มดังกล่วนี้จะส่งผลให้ขนาดของตลาดธุรกิจกาบินในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เติบโตขึ้นจากเดิม ทำใ้หลายฝ่ายต่างจับตามองว่าประเทศไทยีความพร้อมเพียงพอที่จะรองรับโอากสจาการเติบโตของธุรกิจการบิในภุมิภาคมากน้อยเพียงใด โดยศุนย์วิจัยกสิกรไทยระบุว่า ธุรกิจสายกาบินในไทยเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทั้งมิติของจำนวนผุ้โดยสารในประเทศและต่างประเทศ และจำสนวเส้นทางการบินและผูงบิน เนืองจากประเทศไทยเป็จุดหมายปลายทางระดับโลก บวดกับที่มีกลุ่มสายการบินโลว์คอสต์เข้ามามีบทบาทสำคัญขึ้นเรื่อยๆ โดยคาดว่าในปี 2559 ภาพรวมของธุรกิจกาบินของไทก็น่าจะยังเติบโตได้คอ่นข้างดี ซึ่งความเชื่อมั่นดังกล่าวสะท้อนจากจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามายังประเทศไทยในช่วง 7 เดือนแรก มากถึงจำนวน 19.54 ล้านคน เพิ่มขึ้นกว่า 11.9% และยังวิเคราะห์ด้วยว่า ในระยะยาวแนวโน้มธุรกิจการบินในไทยจะยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง จากการขยายเส้นทงการบินที่ครอบคลุมและเชื่อมโยงไปยังภูมิภาคต่างๆ ของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นอกจากนี้ยังมีสายการบินท้องถ่ินในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยังได้เล็งเห็นศักยภาพของไทยในการใช้ไทยเป้นฐานการบินและมีแผนใช้ประเทศไทยเป็นฮับการบิน เพื่อขยายเส้นทางไปยังจุดหมายปลายทางต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียนและเอเชีย ทั้งนี้การขยายตัวทงเศรษฐกิจของกบุ่มประเทศอาเซียน โดยเฉพาะ CLMV ที่กำลังเติบโตจากการหลังไหลของเงินทุนจากต่างชาติคู่ขนานไปกับปัจจัยสนับสนุนด้านการท่อเที่ยวของไทยและภูมิภาค CLMV ที่จะดึงดูดนักท่องเที่ยวจาก๓ุมิภาคอื่นให้เดินทงมายังอาเซียน จะสนับสนุนให้เกิดความคึกคักของการเินทางภายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นอย่างมาก
จึงนับเป็นโอกาศที่ไทยจะก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางทางการบินของภูมิภาคอาเซียน ด้วยศักยภาพธุรกิจสายการบินในไทยที่มีแนวโน้มเติบโตอย่างชัดเจน รวมถึงปัจจัยด้านภูมิศาศตร์และสภานการณ์ธุรกิจสายกาบินของไทยที่เอื้ออำนวย
ดังนั้น หากไทยสามารถเตรียมความพร้อมเพื่อพัฒนาให้สามารถเป็นศูนย์กลางทางการบินเพื่อเชื่อมต่อระหว่างประเทศในภูมิภาคอาเวียนกับประเทศต่งๆ ทั่่วโลกได้ ก็จะนำมาซึ่งโอากสทางเสรษฐกจิและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องจำนวนมากwww.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1475721114
กอบกาญจน์ หารือพันธมิตร ผลักดันไทยเป็นฮับการบินอาเซียน
รมว.กอบกาณจน์ ประชุมร่วมกับหน่วยงานรัฐ และเอกชน พิจารณาเพิ่มเส้นทางสายการบินในแถบ CLMV เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ อาเซียน คอนเนกต์ หาเมืองที่มีศักยภาพในการเดินทางท่องเที่ยและเชื่อมโยง C2L และ L2L ผลักดันไทยเป็นฮับด้านกาบินในอาเซียน "คิดถึงอาเซียน..คิดถึงประเทศไทย"
นางกอบกาญจฯ์ วัฒนาวรางกุร รัฐมนตรีว่าการกระทรงการท่องเที่ยวและกีฬา เปิดเผยการประชุมร่วมหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ถึงการทำ อาเซียน คอนเนกท์ ที่แบ่งเป็น 2 ระดับ จากระดับเดิมที่มีอยู่แล้ว เป็นระดับที่มีอยุ่แล้ว ต้องมีการโปรโมทต่อ ระดับนี้เหมือนเป็นระดับที่มีการ link long hall ที่าแถบประเทศไทย 2 country 1 dastination ทำอย่างไรให้มีมาขึ้น และ อาเซียน ทู อาเซียน คือ ทำอย่างไรให้คนในอาเซียนไปมาหาสู่กันมากขึ้น เป็นการท่องเที่ยวระหว่างกัน ซึ่งเป็นเมืองระดับรองต่อกับระดับรอง
ส่วนการพิจารณาเพิ่มเส้นทางสายการบินในแถบ CLMV เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ อาเซียน คอนเนกต์ โดยหาเมืองที่มีศักยภาพในการเดินทางท่องเที่ย และเชื่อมโยง ดังที่กล่าวมแล้ว เพื่อผลักดันให้ไทยเป็น HUB ด้านการบินในอาเซียน "คิดถึงอาเซียน..คิดถึงประเทศไทย" ได้มีการจัด ลิสต์ ชื่อเมืองขึ้นมาเพื่อพิารณา โดย ททท. จะรับผิดชอบเรื่อง ลิสต์ ชื่อเมืองต่างๆ ทอท. จะมีการลิสต์เส้ทางการบินที่เหลืออยู่ในแง่ สลอตการบิน โดยกรมการบินพลเรือน และทอท.จะสรุป สล็อตการบินที่มีเลหือยุ่ ณ ขณะี้ เพื่อทำให้เกิดสายการบินได้อย่างแท้จริง ทั้งนี้ สนามบินหลัก สล็อตการบินเหลือน้อยมาก นอกจากนี้ ยังมีสนามบินจุดอื่นๆ เช่น อู่ตะเภา หรือสนามบินทางภาคอีสาน ที่ยังมีโอากสเติบโตได้อีก สิ่งที่สำคัญคือ ทำอย่างไรให้เมืองที่เราทำขึ้นมาตอบโจทก์ได้มากที่สุดทั้งไทยและเพื่อบ้าน
ส่วนด้านการตลาด ต้องเป้นการแลกเปล่ยนกันทั้งไทย ทั้ง อิน บอนด์ และ เอาท์ บอนด์ ผลลัพธ์ต้องตอบโจทย์ความต้องการของทั้งสองฝั่ง ถ้าไทยจะเชื่อมต่อกับใคร ความต้องการตรงกันหรือไม่ เช่น ไทย-เวียดนาม ไทย-พม่า ไทย-มาเลเซีย สิ่งนีจะเป็นการตอบโจทย์ของนายกรัฐญมนตรี ทีท่านเพ่ิงไปประชุมมาด้วย ว่าสิ่งสำคัญไทยจะต้องดูแลประเทศอาเซียน ด้วยการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ซึ่งดันและกัน
"เมื่อเราวาแผนการดำเนินงาน และตกลงกันได้แล้ว เราจะต้องมีการร่วมหารือกับประเทศเพื่อบ้านอีกครั้ง โดยประเทสไทยจะมีการเปิดตัวอย่าง อาเซียน คอนเนกต์ เป้ทางการในงาน ทีที่เอ็ม พลัส ตซึ่งทาง ททท. ได้เชิน โอเปอร์เรเตอร์ จากทั่วโลการ่วมงาน ที่จัดขึ้นที่เชียงใหม่ โดยจะมีการตั้งชื่องานอย่างเป็นทางการอีกครั้ง"
ก่อนหน้านี้ ทีที่เอ็ม พลัส มีการแตะเรื่องอาเซียนมาโดยตลอดแต่ครั้งนี้จะเป็นการยกระดับการเป็น ฮับ ในประเทศอาเซียนอย่างแท้จริง โดยเป็นการผนึกกำลังกันในส่วนภาคของการท่องเทียวทั้งหมด คือ ททท. สายการบินฐ, ทอท., กระทรวงคมนาคม ซึ่งได้ของความร่วมมือกระทรวงคมนาคมพิจารณาเรื่องต่อรันเวย์ให้เครื่องใหญ่ลงที่สนามบิน แม่สอด แพร่ น่าน พะเยา แม่ฮ่องสอน โดยได้รับการแจ้ง่า แมสอดได้งบประมาณรอเรื่องการซ้อที่เพิ่ม คาดว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จเร็วๆ นี้ เพราะเป็นเขตเศราฐกิจพิเศษ...www.thansettakij.com/content/32404
มีการศึกษาภาพรวมธุรกิจการบินไทยในปี 2556-2558 ว่ามีการเติบโตอย่างต่อเนื่องจากปัจจัยที่กำลังจะก้าวเข้าสู่การป็นประชาคมเศษฐกิจอาเซียน และจากการขยายตัวของธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำ ทั้งในประเทศและในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดย ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่าในปี 2556 จะมีจำนวนเที่ยวบินมมาทำการบินผ่านท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานดอนเมือง ซึ่งเป็นท่าอากาศยานหลักและรองของประเทศ รวมทั้งสิ้น 440,170 เที่ยวบิน เพ่ิมขึ้นร้อยละ 16 เมื่อเที่ยบกัยปีที่ผ่านมา
นอกจากนี้ยังมีตัวเลขจากการพยากรณ์ทางการ ตลาดโลก หรือโกลบอล มาร์เก็ต ผอร์คาสต์ ของบริษัทผลิตอากาศยานค่ายยุโรประบุว่า ในอีก 20 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2556-2575 ) อัตราการเินทางทางอากาศจะเติบโตขึ้นถึงร้อยละ 4.7 ต่อปี โดยอากาศยานที่มีในปัจจุบันประมาณ 17,740 ลำ ทั่วโลกจะเพ่ิมขึ้นเป็นเกือบ 36,560 ลำ ภายในปี 2575 ซึ่งภายนปีดังกล่าวภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกจะมีอัตราการเดินทางทางอากาศเพ่ิม สูงขึ้น แซงหน้าภุมิภาคยุโรปและอเมริกาเหนือ โดยปัจจุบันการเินทางทางอากาศเฉลี่ยทั่วโลกที่เพ่ิมสูงขึ้น ร้อยละ 5.5 ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกมีความต้องการอากาศยานโดยสารใหม่สุงถึงร้อยละ 36 ตามมาด้วยยุโรป ร้อยละ 20 และอเมริกาเหนือ ร้อยละ 19
สำหรับ ภูมิภาคอาเซียนน้นกระแสการตื่นตัวรับการก้าวเข้าสู่การเป้นประชาคมเศราฐกิจ อาเซียน ก่อให้เกิดกิจกรรมต่างๆ มากมาย ทั้งากร้า การลงทุน และการท่องเที่ยว ส่งผลให้เกิดความเติบโตทางเศราฐฏิจ รวมทั้งอำนาจซื้อที่เพ่ิมสูงขึ้นของระชากรในภูมิภาค ก่อให้เกิดความเป็นเมืองตามมา ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ก่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างภูมิภาค สงผลให้เกิดการเดินทางระหว่างประเทศอาเซียนมากยิ่งขึ้น และเกิดการขยายตัวของตลาดการท่องเที่ยวในประเทศอาเซียนอีกด้วย
นอกจากนี้การเปิด AEC ยังก่อให้เกิดปัจจัยสนับสนุนธุรกิจการบินอีกปัจจัยหลัก คือ เปิดเสรีการบินอาเซียน ในปี 2556 โดยเป็นกรอบความตกลงพหุภคีเพื่อให้ประเทสสมาชิกอาเซียนสามารรถขนส่งทางอากาศระหว่างกันโดยไม่จำกัดจำนวน ความจุความถี่ แต่ทั้งนี้ยังคงเผชิญอุปสรรคจากกฎหมายและกฎระเบียบข้อบังคัยภายในประเทศของ แต่ละประเทศสมาชิกอยู่ อย่างไรก็ตามกระแสการรวมเป็น AEC ก็ส่งผลให้เกิดความคึกคักต่อธุรกิจการบินในภูมิภาคเป็นอย่างมาก ดยทำให้เกิดการเพ่ิมเที่ยวบินและขยายเส้นทางการบินมายังประเทศอาเซียน และเส้นทางการบินระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะ อย่างยิ่งการเติบโตของธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำ ซึ่งมีแรงดึงดูดทางด้านราคา ทั้งนี้ในระหว่างปี 2554-2556 มีการเปิดตัวสายการบินต้นทุนต่ำในภูมิภาคอาเวียนกว่า 7 สายการบิน ใน 6 ประเทศ ได้แก่ เวียดนาม สปป.ลาว เมียนมาร์ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์
นอกเหนือจากนี้ยัวมีการขยายเส้นทางการบินไปยังจุุดหมายปลายทางระหว่างเมืองต่างๆ ในอาเวียนมายิ่งขึ้น เช่น การขยายเส้นทางการบินของสายการบินต่างๆ ที่มีฐานการบินในไทย ไปยังเมืองต่างๆ ของเมยนมาร์ อาทิ ย่างกุ้ง-มัณฑะเลย์-เนปิดอว์ และการขยยายเส้นทางการบินไปยัง สปป.ลาว การเพ่ิมขึ้นของจำนวนสายการบินซึ่งทำการบินเส้นทางกรุงเทพฯ-เสียมเรียบ ปรเทศกัมพูชาเนื่องจากได้มีการยกเลิการสงวนเส้นทางไว้ให้เฉพาะบางสายการบิน การขยายเส้นทางบินของสายการบินแห่งชขาติกัมพูชามายังไทยและไปยังเวียดนาม เป็นต้น
สำหรับประเทศไทยแล้วนับว่ามีความได้เปรียบด้านทำเลที่ตั้ง ที่มีพรมแดนติดกับประเทศอาเซียนถึง 4 ประเทศ และมีจุดแข็งจากการเติบโตของธุรกิจการบินอย่างโดดเด่นในภูมิภาค พิจารณาจากจำนวนผุ้โดยสารที่เดินทางมาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิในปี 2555 เป็นอัดนดับ 2 ของภูมิภาค องจากท่าอากาศยานซูการ์โน่ฮัตตา ของอินโดนีเซีย อีกทั้งไทยยังมีอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนเครื่องบินที่แข็งแกร่ง โดยที่ผ่ามารมีบริษัทต่าชาติให้ความสำคัญในการเข้ามาลงทุนตั้งฐานการผลิต ชิ้นส่วนเครื่องบินเพื่อการส่งออก โดยในปี 2555 ประเทศไทยมีมูลค่า การนำเข้า-ส่งออกเครื่องบินและชิ้นสวนเครื่องบิน มูลค่ากว่า 142,241 ล้านบาท และในปี 2556 ระหว่างเดือน ม.ค.-ส.ค. มีมูลค่าการนำเข้า-ส่งออกเครื่องบินและชิ้นส่วนเครื่องบินกว่า 137,224 ล้านบาท เติบโตกว่าร้อยละ 93 เมื่อเที่ยบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดังนั้นเพื่อเป็นการรองรับธุรกิจการบินที่จะขยายตัวเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้นอกจาก
ประเทศไทยมีความมุ่งหวังที่จะเป็นศูนย์กลางทางการบินของภูมิภาคแล้วยังมีเป้าหมายที่จะเป็น "ศูนบ์กลางซ่อมบำรุงอากาศยานของภุมิภาค" เพื่อรอบรับปริมาณเครื่องบินที่จะเพิ่มขึ้นในภูมิภาคอาเซียนอีกด้วย
สิงที่ไทยต้องลงมือทำอย่างจริงจัง ก็คือควรเร่งพัฒนาศักยภาพเพือดึงดูดปริมาณเครื่องบินต่างๆ โดยเฉพาะเครื่องบินจากกลุ่มประเทศ CLMV ที่มีการเติบโตทางด้านธุรกิจการบิน แต่ยังขาดความพร้อมทางด้านวิศวกรรมการบิน ควรวางแผนดานการพัฒนาทรัพยกรบุคคลที่มีคุณภาพ ซึ่งปัญหาังลก่าวต้องไดรับการพิจารณาและเร่งดำเนินการแก้ไข เนื่องจากการเติบโตอย่างมากของธุรกิจการบินอาเซียนได้ทำให้รัฐบาลของประเทศ ต่างๆ เล็งเห็นถึงโอากาสเช่นกัน เช่น สิงคโปร์ และมาเลเซีย ซึงเป็นสมาชิกอาเซียนก็มีเป้าหมายที่จะเป็นศูนย์กลางซ่อมบำรุงอากาศยานของ ภูมิภาคด้วยเช่นกัน เหนือสิงอืนใดคือควรสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับสายการบินต่างสัญชาติที่มีฐาน การบินในไทยให้มาใช้บริากรศูนย์ซ่อมอากาศยานของไทย ทั้งนี้มีการคาดการณ์ว่ามูลค่าการซ่อมบำรุงอากาศยานทั่วโลก ในปี 2562 จะมีมูลค่าถึง 63,000 ล้านเหรียญสหรัฐwww.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1384493044
ว่ากันว่า ในปี 2558 ที่ผ่านมา สายการบินในประทศไทยมีจำนวนฝูงบินรวมกันทังสิ้น 208 ลำ เพ่ิมขึ้นจากปี 2556 จำนวน 31 ลำ การขยายตัวดังกล่าวสอดรับกับการเติบโตของธุรกิจการบินในภุมิภาคเอเชยตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีความคึกคักอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา และพบว่าในช่วงปี 2555-2448 ผุ้โดยสารที่มีจุดหมายปลายทางมายังเอเชียตะวันออกเแียงใต้ขยายตัวในอัตโดยสารที่มีจุดหมายปลายทงมายังเอเชียตะวันออเแียงใต้ขยายตัวในอัตรา 9.2 % ต่อปี สูงกว่าอัตราการเติบโตของจำนวนผุ้โดยสารทั่วดลกที่เติบโตเฉลี่ย 6.2% ต่อปี ในช่วงเวลาเดียวกัน
ศุนย์วิจัยกสิกรไทยรายงานว่า ที่ผ่านมาบริษัทผุ้ผลิตเครื่องบินรายใหญ่ได้มีการพยากรณ์ว่า ในอีก 20 ปีข้างหน้า หรือปี 2578 จะมีผุ้โดยสารที่มีจุดหมายปลายทางมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กว่า 2,360 ล้านคน หรือขยายตัวเฉลี่ย 6% ต่อปี ขณะที่การเดินทงไปยังจุหมายปลายทางทั่วโลกเติบโตเฉลี่ยที่ 4.8 % ต่อปี
จากแนวโน้มดังกล่วนี้จะส่งผลให้ขนาดของตลาดธุรกิจกาบินในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เติบโตขึ้นจากเดิม ทำใ้หลายฝ่ายต่างจับตามองว่าประเทศไทยีความพร้อมเพียงพอที่จะรองรับโอากสจาการเติบโตของธุรกิจการบิในภุมิภาคมากน้อยเพียงใด โดยศุนย์วิจัยกสิกรไทยระบุว่า ธุรกิจสายกาบินในไทยเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทั้งมิติของจำนวนผุ้โดยสารในประเทศและต่างประเทศ และจำสนวเส้นทางการบินและผูงบิน เนืองจากประเทศไทยเป็จุดหมายปลายทางระดับโลก บวดกับที่มีกลุ่มสายการบินโลว์คอสต์เข้ามามีบทบาทสำคัญขึ้นเรื่อยๆ โดยคาดว่าในปี 2559 ภาพรวมของธุรกิจกาบินของไทก็น่าจะยังเติบโตได้คอ่นข้างดี ซึ่งความเชื่อมั่นดังกล่าวสะท้อนจากจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามายังประเทศไทยในช่วง 7 เดือนแรก มากถึงจำนวน 19.54 ล้านคน เพิ่มขึ้นกว่า 11.9% และยังวิเคราะห์ด้วยว่า ในระยะยาวแนวโน้มธุรกิจการบินในไทยจะยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง จากการขยายเส้นทงการบินที่ครอบคลุมและเชื่อมโยงไปยังภูมิภาคต่างๆ ของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นอกจากนี้ยังมีสายการบินท้องถ่ินในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยังได้เล็งเห็นศักยภาพของไทยในการใช้ไทยเป้นฐานการบินและมีแผนใช้ประเทศไทยเป็นฮับการบิน เพื่อขยายเส้นทางไปยังจุดหมายปลายทางต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียนและเอเชีย ทั้งนี้การขยายตัวทงเศรษฐกิจของกบุ่มประเทศอาเซียน โดยเฉพาะ CLMV ที่กำลังเติบโตจากการหลังไหลของเงินทุนจากต่างชาติคู่ขนานไปกับปัจจัยสนับสนุนด้านการท่อเที่ยวของไทยและภูมิภาค CLMV ที่จะดึงดูดนักท่องเที่ยวจาก๓ุมิภาคอื่นให้เดินทงมายังอาเซียน จะสนับสนุนให้เกิดความคึกคักของการเินทางภายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นอย่างมาก
จึงนับเป็นโอกาศที่ไทยจะก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางทางการบินของภูมิภาคอาเซียน ด้วยศักยภาพธุรกิจสายการบินในไทยที่มีแนวโน้มเติบโตอย่างชัดเจน รวมถึงปัจจัยด้านภูมิศาศตร์และสภานการณ์ธุรกิจสายกาบินของไทยที่เอื้ออำนวย
ดังนั้น หากไทยสามารถเตรียมความพร้อมเพื่อพัฒนาให้สามารถเป็นศูนย์กลางทางการบินเพื่อเชื่อมต่อระหว่างประเทศในภูมิภาคอาเวียนกับประเทศต่งๆ ทั่่วโลกได้ ก็จะนำมาซึ่งโอากสทางเสรษฐกจิและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องจำนวนมากwww.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1475721114
กอบกาญจน์ หารือพันธมิตร ผลักดันไทยเป็นฮับการบินอาเซียน
รมว.กอบกาณจน์ ประชุมร่วมกับหน่วยงานรัฐ และเอกชน พิจารณาเพิ่มเส้นทางสายการบินในแถบ CLMV เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ อาเซียน คอนเนกต์ หาเมืองที่มีศักยภาพในการเดินทางท่องเที่ยและเชื่อมโยง C2L และ L2L ผลักดันไทยเป็นฮับด้านกาบินในอาเซียน "คิดถึงอาเซียน..คิดถึงประเทศไทย"
นางกอบกาญจฯ์ วัฒนาวรางกุร รัฐมนตรีว่าการกระทรงการท่องเที่ยวและกีฬา เปิดเผยการประชุมร่วมหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ถึงการทำ อาเซียน คอนเนกท์ ที่แบ่งเป็น 2 ระดับ จากระดับเดิมที่มีอยู่แล้ว เป็นระดับที่มีอยุ่แล้ว ต้องมีการโปรโมทต่อ ระดับนี้เหมือนเป็นระดับที่มีการ link long hall ที่าแถบประเทศไทย 2 country 1 dastination ทำอย่างไรให้มีมาขึ้น และ อาเซียน ทู อาเซียน คือ ทำอย่างไรให้คนในอาเซียนไปมาหาสู่กันมากขึ้น เป็นการท่องเที่ยวระหว่างกัน ซึ่งเป็นเมืองระดับรองต่อกับระดับรอง
ส่วนการพิจารณาเพิ่มเส้นทางสายการบินในแถบ CLMV เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ อาเซียน คอนเนกต์ โดยหาเมืองที่มีศักยภาพในการเดินทางท่องเที่ย และเชื่อมโยง ดังที่กล่าวมแล้ว เพื่อผลักดันให้ไทยเป็น HUB ด้านการบินในอาเซียน "คิดถึงอาเซียน..คิดถึงประเทศไทย" ได้มีการจัด ลิสต์ ชื่อเมืองขึ้นมาเพื่อพิารณา โดย ททท. จะรับผิดชอบเรื่อง ลิสต์ ชื่อเมืองต่างๆ ทอท. จะมีการลิสต์เส้ทางการบินที่เหลืออยู่ในแง่ สลอตการบิน โดยกรมการบินพลเรือน และทอท.จะสรุป สล็อตการบินที่มีเลหือยุ่ ณ ขณะี้ เพื่อทำให้เกิดสายการบินได้อย่างแท้จริง ทั้งนี้ สนามบินหลัก สล็อตการบินเหลือน้อยมาก นอกจากนี้ ยังมีสนามบินจุดอื่นๆ เช่น อู่ตะเภา หรือสนามบินทางภาคอีสาน ที่ยังมีโอากสเติบโตได้อีก สิ่งที่สำคัญคือ ทำอย่างไรให้เมืองที่เราทำขึ้นมาตอบโจทก์ได้มากที่สุดทั้งไทยและเพื่อบ้าน
"เมื่อเราวาแผนการดำเนินงาน และตกลงกันได้แล้ว เราจะต้องมีการร่วมหารือกับประเทศเพื่อบ้านอีกครั้ง โดยประเทสไทยจะมีการเปิดตัวอย่าง อาเซียน คอนเนกต์ เป้ทางการในงาน ทีที่เอ็ม พลัส ตซึ่งทาง ททท. ได้เชิน โอเปอร์เรเตอร์ จากทั่วโลการ่วมงาน ที่จัดขึ้นที่เชียงใหม่ โดยจะมีการตั้งชื่องานอย่างเป็นทางการอีกครั้ง"
ก่อนหน้านี้ ทีที่เอ็ม พลัส มีการแตะเรื่องอาเซียนมาโดยตลอดแต่ครั้งนี้จะเป็นการยกระดับการเป็น ฮับ ในประเทศอาเซียนอย่างแท้จริง โดยเป็นการผนึกกำลังกันในส่วนภาคของการท่องเทียวทั้งหมด คือ ททท. สายการบินฐ, ทอท., กระทรวงคมนาคม ซึ่งได้ของความร่วมมือกระทรวงคมนาคมพิจารณาเรื่องต่อรันเวย์ให้เครื่องใหญ่ลงที่สนามบิน แม่สอด แพร่ น่าน พะเยา แม่ฮ่องสอน โดยได้รับการแจ้ง่า แมสอดได้งบประมาณรอเรื่องการซ้อที่เพิ่ม คาดว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จเร็วๆ นี้ เพราะเป็นเขตเศราฐกิจพิเศษ...www.thansettakij.com/content/32404
วันศุกร์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2560
HUB
อาเซียนทุ่มลงทุนสนามบิน เดิมพันฮับการบิน
อาเซียน เป็นจุดหมายปลายทางของนักเดินทางทั่วโลก โดยท่าอากาศยานในอาเซียนที่มีผุ้คนโดยสารเดินทางมาเยือนติดอันดับมากที่สุด 20 อันดับแรกของโลกคือ ท่าอากาศยานสุวรรณภุมิของไทย ท่าอากาศยานชางงีของสิงคโปร์ และท่าอากาศยานซุการ์โน-ฮัตตาของอินโดนีเซีย โดย 1-2 ปีที่ผ่ารม ทุกสนาบินในอาเซียนมีผุ้โดยสารหนาแน่นเกินศักยภาพในการรองรับกว่าเท่าตัว ทำให้แต่ละสนามบินต่างก็เร่งลงทุน เพื่อเดิมพันตำแหน่งศนุย์กลางทางการบินของภุมิภาค
ประเทศไทยมีแผนพัฒนาสนามบิน 6 แห่ง ในช่วง 5 ปี ข้างหน้า เช่นท่าอากาศยานสุวรรณ๓ูมิ ดอนเมือง เชียงใหม่ เชียงราย หาดใหญ่ และภูเก็ต ด้วยงบลงทุนกว่า แสนสีหมืนล้านบาท โดยจะสามารถรองรับปริมาณผุ้โดยสารได้ถึง 165 ล้านคนต่อปี จากปัจจุบัน 83.5 ล้านคนต่อปี ซึ่งปี 2558 มีผุ้ใช้บริการแล้วกว่า 106 ล้านคน
สิงคโปร์อาคารผุ้ดดยสารหลังใหม่แห่งที่ 4 ในชื่อ "Jewel" เป็นอาคารสูงเหนือผิวดิน 5 ขัน และใต้ดินอีก 5 ชั้น คาดว่าจะแล้วเสร็จ ในปี 2561 รองรับผู้โดยสารเพ่ิมขึ้นจาก 17.7 ล้านคน เป็นปีละ 24 ล้านคน ด้วยเม็ดเงินลงทุนประมาณ 8 หมื่นล้านบาท
เวียดนาม อยู่ระหว่างใช้งบประมาณ 4 หมื่นล้านบาท เร่งยกระดับพัฒนาสนามบินทั่วประเทศ 22 แห่ง รวมถึงสนามบินนานาชาติ 10 แห่ง โดยตั้งเป้าแล้วเสร็จสมบูรณ์ภายในปี 2561 ขณะที่การท่าอากาศยานเวียดนาม ประการเลื่อน ก่อสร้างสนามบิน "ลองแถ่ง" ว่าที่สนามบินใหย่ที่สุดของปรเทศ ในจังหวัดโด่งนาย ตั้งอยู่ทางทิสตะวันออกของนครโอจิมินห์มูลค่า 5 แสนล้านบาท รองรับผุ้ดดยสาร 100 ล้านคน ต้องเลือนการก่อสร้างไปในปี 2564 เนื่องจากความซับซ้อนในการเตรียมงานก่อสร้าง
มาเลเซีย เพ่ิงเปิดบริการ กัวลา ลัมเปอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต 2" สนามบินแห่งที่ 2 เมื่อพฤษภาคมปีที่แล้ว องรับผุ้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี ใกล้เคียงกับสนามบินสุวรรณภูมิ
สำหรับเมียนมา กำลังจะมีว่าที่สนามบินนานาชาติแห่งใหม่ "หันตาวดี" อยู่ห่างกรุงย่างกุ้งออกไปราว 80 กิโลเมตร รอบรับการท่องเที่ยวและเดินทางเพื่อธุรกิจ คากเปิดใช้ได้ในเดือนธันวาคมปี 2562 รองรับผู้โดยสารได้ 12 ล้านคนต่อปี เสริมศักยภาพสรามบินย่างกุ้งซึ่งปัจจุบันรองรับได้ราว 3.7 ล้านคนต่อปีเท่านั้น
ฟิลิปปินส์ กำลังดำเนินการก่อสร้างอาคารผุ้โดยสารหลังใหม่ของสนามบินคลาร์ก อินเตอร์เนชั่นแนล ภายใต้งบประมาณ 1 พันล้านบาท และกำลังทบทวนแผนสร้างอาคารผุ้โดยสารของสายการบินโลว์คอสต์หลัวใหม่เพิ่ม
นอกจากนี้ยัวเตรียมพิจารณาพัฒนาสนามบินแห่งใหม่ที่จุดซังเลย์ บริเวณอ่าวคาวิตและลากูนา เพื่อทดแทนสนามบินนานาชาตินินิย อาคิโน ที่แออัด..www.krobkruakao.com/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99/21465/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B8%99-%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AE%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B8%99.html
ชิงความเป็น "ฮับ" ประตู่สู่ AEC
เป็นที่คาดกันว่าหลังเปิดประชาคมอเซียน จะทำให้การเดินทางไปมทาหาสู่ระหว่างประเทศต่างๆ ในภุมิภาคคึกคักมากขึ้น รวมถึงการเดินทางเข้ามในอาเซียนจากผุ้คนในภุมิภาคอื่นๆก็จะมากขึ้นตามไปด้วย
ประตูด่านแรกทีจะเป็นที่รองรับบรรดานักเดินทางเข้ามาก็คือ "สนามบิน" ประเทศในอาเซียนจึงเร่งพัฒนาสนามบินหลักของตนเพื่รองรับจำนวนนักท่องเที่ยวและนักธุรกิจที่จะเพ่ิมขึ้น และที่สำคัญคือได้เป็นฮับ หรือ ศูนย์กลางการบินในภูมิภาค
จากสถิติปี 2558 สนามบินซูการ์โน-ฮัตตา ของอินโดนีเซียน เป็นสนามบินที่มีผุ้โดยสารมากที่สุดคือ กว่า 57 ล้านคน ส่วนหนึ่งน่าจะมจากประชากรของอนโดนีเซียที่มีอยู่ถึง 250 ลานคน แต่ด้วยสภาพทางภูมิศาสตร์ที่ตั้งอยู่ทางใต้ของภุมิภาค ประกอบดับภัยธรรมชาิตที่เกดขึ้นบ่อยครั้ง ทำให้สนามบินแห่งนี้ยังห่างไกลจากการเป็นฮับอาเซียน
่ส่วนสนามบินชางงีของสิงโคดรปื ที่ตั้งเป้าเป็นฮับอาเซียนนับว่ามีความพร้อมเป็นศูนยืกลางการบินของอาเซียนอย่างแท้จริง จำนวนตัวเลขผุโดยสารของปี 2557 ที่ 54 ล้าคน มากเป็นอันดับ 2 ของภุมิภาค ด้วยสิงดโปร์เป็นศูนย์กลางธุรกิจ ทั้้งยังมีระบบโลจิสติกส์ที่ทันสมัยถึงตอนนี้สิงคโปร์ไม่ได้มองเพียงแค่ดารเป็นฮับของอาเซียนเท่านั้น แต่ยังมองไปถึงการเป็นฮับของทวีปเเอเชีย เพื่อเที่ยบชั้นสนามบินชั้นำของเอเียอย่งดูไบและฮ่องกงแล้ว ไม่เพียงแค่จำนวนผุ้โดยสารที่มากแต่สนาบนิชางงียังติดอันดับในการจัดอันดับสนามบินที่ดีที่สุดของโลกมาหลายครั้ง เพียบพร้อมทั้งความทันสมัยและการบริหารจัดการ
ล่าสุด นายลุย ดังยิว รมว.คมนาคมสิงคดปร์ ประกาศแผนระยะยาวทุ่มวบประมาณกว่า เจ็ดหือนห้าพันล้านบาท ขยายอาคารผู้โดยสารหลงที่ 5 เพื่อรองรับผู้โดยสาร 70 ล้าคนเมื่อดครงการเสร็จสมบุรณืในปี 2568
ด้านสนามบินสุวรณภูมิถือว่ามีชัยภูมิที่เหมาะสมเพราะตั้งอยู่ตรงกลางของภูมิภาคพอดี ถือว่าได้เปรียบประเทศอื่นไม่น้อย นอกจากนั้นแล้วยังมีเรื่องของการท่องเที่ยวของไทยที่ได้รับความนิยมเป็นลำดับต้นๆ เป้นเหตุให้สุวรรณภุมิมีผุ้โดยสารมากถึง 46.6 ล้านคน ในปี 2557 มากเป็นอันดับ 3 ของภูมิภาค
ในส่วนของเวียดนาม ก็เร่งพัฒนา สนามบนิลองแถ่ง ที่จังหวัด่งนาย ทางตอนใต้ เพื่อระบายความแออัดจากสนามบินเตินเซินเญิ้ต ที่นครโฮจิมินห์ และพม่าที่กำลังสร้าง สนามบิน หันตาวดี สนามบินแห่งใหม่ของประเทศไม่ไกลจากนครย่างกุ้ง
สุดท้ายแล้ว การเป็นอับของภูมิภาคไม่ได้วัดที่จำวนว ผุ้โดยสารและคุณภาพของสนามบินเท่านั้นแต่ยังรวมถงการมีสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เช่นศูนย์ซ่อมบำรุงอากาศยาน และการควบคุมการจรจรทางอากาศที่มีประสิทธิภาพอีกด้วยdaily.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TURObWIzSXdOVEUxTURnMU9BPT0=§ionid=TURNd05nPT0=&day=TWpBeE5TMHdPQzB4TlE9PQ==
อาเซียน เป็นจุดหมายปลายทางของนักเดินทางทั่วโลก โดยท่าอากาศยานในอาเซียนที่มีผุ้คนโดยสารเดินทางมาเยือนติดอันดับมากที่สุด 20 อันดับแรกของโลกคือ ท่าอากาศยานสุวรรณภุมิของไทย ท่าอากาศยานชางงีของสิงคโปร์ และท่าอากาศยานซุการ์โน-ฮัตตาของอินโดนีเซีย โดย 1-2 ปีที่ผ่ารม ทุกสนาบินในอาเซียนมีผุ้โดยสารหนาแน่นเกินศักยภาพในการรองรับกว่าเท่าตัว ทำให้แต่ละสนามบินต่างก็เร่งลงทุน เพื่อเดิมพันตำแหน่งศนุย์กลางทางการบินของภุมิภาค
สนามบิน สุวรรณภูมิ |
สิงคโปร์อาคารผุ้ดดยสารหลังใหม่แห่งที่ 4 ในชื่อ "Jewel" เป็นอาคารสูงเหนือผิวดิน 5 ขัน และใต้ดินอีก 5 ชั้น คาดว่าจะแล้วเสร็จ ในปี 2561 รองรับผู้โดยสารเพ่ิมขึ้นจาก 17.7 ล้านคน เป็นปีละ 24 ล้านคน ด้วยเม็ดเงินลงทุนประมาณ 8 หมื่นล้านบาท
Jewel |
มาเลเซีย เพ่ิงเปิดบริการ กัวลา ลัมเปอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต 2" สนามบินแห่งที่ 2 เมื่อพฤษภาคมปีที่แล้ว องรับผุ้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี ใกล้เคียงกับสนามบินสุวรรณภูมิ
สำหรับเมียนมา กำลังจะมีว่าที่สนามบินนานาชาติแห่งใหม่ "หันตาวดี" อยู่ห่างกรุงย่างกุ้งออกไปราว 80 กิโลเมตร รอบรับการท่องเที่ยวและเดินทางเพื่อธุรกิจ คากเปิดใช้ได้ในเดือนธันวาคมปี 2562 รองรับผู้โดยสารได้ 12 ล้านคนต่อปี เสริมศักยภาพสรามบินย่างกุ้งซึ่งปัจจุบันรองรับได้ราว 3.7 ล้านคนต่อปีเท่านั้น
ฟิลิปปินส์ กำลังดำเนินการก่อสร้างอาคารผุ้โดยสารหลังใหม่ของสนามบินคลาร์ก อินเตอร์เนชั่นแนล ภายใต้งบประมาณ 1 พันล้านบาท และกำลังทบทวนแผนสร้างอาคารผุ้โดยสารของสายการบินโลว์คอสต์หลัวใหม่เพิ่ม
สนามบิน "ล่องแถ่ง" |
ชิงความเป็น "ฮับ" ประตู่สู่ AEC
เป็นที่คาดกันว่าหลังเปิดประชาคมอเซียน จะทำให้การเดินทางไปมทาหาสู่ระหว่างประเทศต่างๆ ในภุมิภาคคึกคักมากขึ้น รวมถึงการเดินทางเข้ามในอาเซียนจากผุ้คนในภุมิภาคอื่นๆก็จะมากขึ้นตามไปด้วย
ประตูด่านแรกทีจะเป็นที่รองรับบรรดานักเดินทางเข้ามาก็คือ "สนามบิน" ประเทศในอาเซียนจึงเร่งพัฒนาสนามบินหลักของตนเพื่รองรับจำนวนนักท่องเที่ยวและนักธุรกิจที่จะเพ่ิมขึ้น และที่สำคัญคือได้เป็นฮับ หรือ ศูนย์กลางการบินในภูมิภาค
สนามบิน "หัตาวดี" |
่ส่วนสนามบินชางงีของสิงโคดรปื ที่ตั้งเป้าเป็นฮับอาเซียนนับว่ามีความพร้อมเป็นศูนยืกลางการบินของอาเซียนอย่างแท้จริง จำนวนตัวเลขผุโดยสารของปี 2557 ที่ 54 ล้าคน มากเป็นอันดับ 2 ของภุมิภาค ด้วยสิงดโปร์เป็นศูนย์กลางธุรกิจ ทั้้งยังมีระบบโลจิสติกส์ที่ทันสมัยถึงตอนนี้สิงคโปร์ไม่ได้มองเพียงแค่ดารเป็นฮับของอาเซียนเท่านั้น แต่ยังมองไปถึงการเป็นฮับของทวีปเเอเชีย เพื่อเที่ยบชั้นสนามบินชั้นำของเอเียอย่งดูไบและฮ่องกงแล้ว ไม่เพียงแค่จำนวนผุ้โดยสารที่มากแต่สนาบนิชางงียังติดอันดับในการจัดอันดับสนามบินที่ดีที่สุดของโลกมาหลายครั้ง เพียบพร้อมทั้งความทันสมัยและการบริหารจัดการ
KLIA 2 |
ด้านสนามบินสุวรณภูมิถือว่ามีชัยภูมิที่เหมาะสมเพราะตั้งอยู่ตรงกลางของภูมิภาคพอดี ถือว่าได้เปรียบประเทศอื่นไม่น้อย นอกจากนั้นแล้วยังมีเรื่องของการท่องเที่ยวของไทยที่ได้รับความนิยมเป็นลำดับต้นๆ เป้นเหตุให้สุวรรณภุมิมีผุ้โดยสารมากถึง 46.6 ล้านคน ในปี 2557 มากเป็นอันดับ 3 ของภูมิภาค
ในส่วนของเวียดนาม ก็เร่งพัฒนา สนามบนิลองแถ่ง ที่จังหวัด่งนาย ทางตอนใต้ เพื่อระบายความแออัดจากสนามบินเตินเซินเญิ้ต ที่นครโฮจิมินห์ และพม่าที่กำลังสร้าง สนามบิน หันตาวดี สนามบินแห่งใหม่ของประเทศไม่ไกลจากนครย่างกุ้ง
สุดท้ายแล้ว การเป็นอับของภูมิภาคไม่ได้วัดที่จำวนว ผุ้โดยสารและคุณภาพของสนามบินเท่านั้นแต่ยังรวมถงการมีสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เช่นศูนย์ซ่อมบำรุงอากาศยาน และการควบคุมการจรจรทางอากาศที่มีประสิทธิภาพอีกด้วยdaily.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TURObWIzSXdOVEUxTURnMU9BPT0=§ionid=TURNd05nPT0=&day=TWpBeE5TMHdPQzB4TlE9PQ==
วันพฤหัสบดีที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2560
Thai Smile Premium
"ปัจจุบันการแข่งขันในธุรกิจการบินหลายเส้นทางเกิดโอเวอร์ซัพพลายขึ้นหลายที่ ผุ้ประกอบการสายการบินยังคงใช้กลยุทธ์การแข่งขันเดิมๆ เน้นราคาถูกดึงผุ้โดยสารใช้บริากร แต่ในปีนี้ผุ้เล่นหน้าใหม่จะเกดได้ยาก เมื่อเที่ยบกับการลงสู่สนมเมื่อ 3-5 ปีที่ผ่านมา เพราะกระบวนการตรวจสอบและมาตรฐานการบินจะมีความยุ่งยากเข้มข้นย่ิงขึ้น.."
คำพูดสะท้อนภาพการแข่งขันธุรกิจการบินในประเทศไทย ของ กับตัันวรเนติ หล้าพระบาง รักษาการประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายการบิน ไทยสมายล์ สายการบินลูกที่มีสายการบินแห่งชาติบริษัทการบินไทย ถือหุ้น 100% โดยแรกเริ่มก่อตั้งเพื่อเปิดศึกชิงส่วนแบ่งทางการตลาดกับสายการบินต้นทุนต่ำ (โลว์คอสต์ แอร์ไลน์) อย่างไทย แอร์ เอเชีย
วรเนติ เล่าว่า แผนยุทธศาสตร์การตลาดของไทยสมายล์ในปีนี้ เน้นการเชื่อมโยงเส้นทางระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเส้นทางประเทศจีน อินเดีย และอาเซียน เพื่อสอคล้องกับนโยบายบริษัทแม่เน้นให้บริการเส้นทางบินแบบอาเซียน คอนเนก สร้างเครือข่ายการเดินทางท่องเที่ยวจากยุโรป อเมริกา ต่อไปยังประเทศที่ 3 ช่วยสร้างมูลค่าเพ่ิมการจำหนายตั๋วโดยสาร
ทั้งนี้ ไทยสมายล์ ได้ปรับภาพลักษณ์แบรนด์การให้บริการจากเดิมเน้นความสดใส สัสันการให้บริการ แต่ปัจจุบันได้สีสันสีเท่าเพ่ิมความนิ่งให้กับแบรนด์สินค้าบริากร มองถึงความเป็นพรีเมียมมากขึ้น เพื่อสร้างความแต่กต่งระกว่งสายการบินที่เป้ฯพรีเมียม ฟูลเซอร์วิส การให้บริการแบบเต็มรุปแบบ โดยที่ผุ้โดยสารไม่ต้องจ่ายค่าอาหาร เครื่องดืม โหลดกระเป๋าเพ่ิมเติมเหมือนโลซ์คอสต์แอร์ไลน์ แต่ราคาตั๋วโดยสรจะถูกกว่าสายกรบินแม่ การบินไทยเฉลี่ย 20%
สำหรับกลยุทธ์การขยายเส้นทางการบินที่ได้ย้ายฐานปฏิบัติการบินไว้ที่ท่อากาศยานสุวรรณภูมิแห่งเดียวเมื่อวัยที่ 16 ม.ค. ที่ผ่านมา เพื่อเพิ่มขีดความสามารในการบินของบริษัท สาารถใช้ประโยชน์เครื่องบินได้เต็มศักยภาพเป็น 10.5 ชั่วโมง/วัน จากปัจจุบันใช้เครื่องละ 8 ชัวโมง/วันส่วนเส้นทางที่เตรียมเปิดให้บริการได้แก่ เจิ้งโจว เสียมราฐ ปีนัง มัณฑะเลย์ โกดาคินาบาลู เป้นจ้น พร้อมเพ่ิมความถี่ในการให้บริการเส้นทางในประเทศทั้งหมด 10 เส้นทาง ได้แก่ เชี่ยงใหม่ ภูเก็ต ขอนแก่น เชียงราย หาดใหญ่ อุบลราชธานี อุดรธานี สุราาฎร์ธานี นราธิวาน และกระบี่้
โดยในปีนี้สัดส่วนการบินเส้นทางต่างประเทศจะเพิ่มเป้น 45% ในประเทศ 55% เที่ยบจากปีที่ผ่านมา ต่างประเทศ 20% และในประเทศ 80% เพื่อผลักดันให้สายการบินเป็นสยการบินที่ให้บริการเส้นทางระยะใกล้ครอบคลุมเส้นทงเอเชียและอาเวียน ทีเืองหลักและเมืองรอง พร้อมก้าวขึ้นเป้นสายการบินชั้นนำในอาเซียน
นอกจากนี้ สายการบินเตรียมพัฒนาพื้นที่เลานจ์ให้บริากรผุ้ดดยสาร พร้อมจัดทำระบบความบยันเทิงบนเครื่องบินให้บริการกับผุ้โดยสาตลอดระยะเวลาการเินทาง ในปีนี้คาดว่าจะขนผุ้โดยสารประมาณ 4.5 ล้านคน แบ่งเป็นคนไทย 68% ต่างชาติ 32% เที่ยบจากปีที่ผ่ามาร 3.2 ล้านคน ซึ่งการปรับปรุงการให้บริการเต็มรูปแบบ เชื่อว่าจะช่วยทำให้ราคาขายต่อที่นังของสายการบินปรับเพ่ิมขึ้นได้และคาดหวังจะไม่ขาดทุนมากนักหลังแนวโน้มปีที่ผ่านมามีรายได้ประมาณ 7,000 ล้านบาท นโยบบายปีนี้จะไม่เน้นการแข่งขันราคาแต่จะเข้ามาแข่งขันบ้างในแต่ละเทศกาล เพื่อสร้างสีสันให้กับตลาด
จากความพยายามในการปรับตัวของไทยสมายล์ครั้งนี้ ต้องจับตาดุว่าผลแประกอบกรในปีนี้จะพลิกฟื้นเป้นบวกได้หรือไม่ รวมถึงจับตาประเด็นการทุจริตจัดซื้อเครื่องยนต์ของบริษัทแม่ทีถูกเปิดโปงโดยบริษัท โรลส์ราอยซ์ ออกมากล่าวยอมรับว่าติดสินบนในการจัดซื้อเครื่องยนต์ให้กับหลายประเทศรวมถึงประเทศไทยด้วยเชื่อได้ว่าจะส่งผลต่อการจัดซื้อจัดหาเครื่องบินในล็อตต่อไปของการบินไทยให้ล่าช้าจากกำหนดการเดิมต้องแล้วเสร็จกลางปีนี้ ที่ต้องลากยาวออกไปไม่มาก็น้อย
และความล่าช้าที่เกิดขึ้นย่อมส่งผลต่อการแข่งขันในสมรภูมิรบน่านฟ้าที่ดุเดือดอย่างแน่นอน....www.posttoday.com/biz/aec/news/476960
...การเปิดเสน่านฟ้าในปี 2015 ทำให้สยการบินของไทยต้องเผชิญกับสภาพวะการแข่งขันที่รุนแรงยิ่งขึ้นจากสายการบินในอาเซียนที่ต้องกรเข้ามาแข่งขันในประเทศไทย ในอดคตต ประเทศ ไทยอนุญาตให้สายการบินเพียง ไม่กี่สายเข้ามาให้บริากรภายในประเทศ และจำกัดเส้นทางในการให้บริการของสายการบินเพื่อไม่ให้บินทับเส้นทางหลักของสายการบินแห่งชาติ(การบินไทย) ในภายหลังปี 2002 ได้มีการผ่านคลายกฎเกณฑ์ในการให้บริการของายการบิน ทำให้ธุรกิจการบินของไยมีการแข่งขันมากขึ้นแต่เนื่องจากในปี 2015 ประเทศไทยต้องก้าวเข้าู่ประชาคมเสราฐกจอาเวียน ซึ่งได้มีการตกลงใน เรื่องนโยบายการเปิดเสรีน่านฟ้า เพ่ิมมากขึ้น
ในปัจจุบัน ธุรกิจสายการบินของไทย เปนธุรกิจที่มีภาวะการแข่งขันรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำ ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำมีการเพ่ิมศักยภาพในการเข่งขันเป็น อย่างมากเห้ฯได้จากความสามารถในการช่วงชิงส่วนแบ่งการตลาดจาก สายการบินที่ให้บริการเต็มรูปแบบ และสายการบินต้นทุนต่ำยังสามารถสร้างผลการดำเนินงานที่ดีกว่าด้วยอัตราการเติบ โตเฉลี่ย ที่ร้อยละ 42 จากปี 2009-2013
กานต์แอร์ได้ร่วมทุนกับเวยดเจ็ทแอร์ประกาศจัดตั้งสายการบินไทยเวียดเจ๊ทแอร์ซึ่งเป็นสายการบินต้นทุนต่ำเพื่อเปิดให้บริการในประเทศไทย จะเห็นได้ว่าการเปิดเสรีน่านฟ้าจะทำให้สายการบินในอาเวียนสามารถเข้ามาให้บริากรในประเทศไทยจะมีการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น
นอกจากประเทศไทยมีความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์เพราะสามารถเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางอากาศ (ฮับ) ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้ผุ้โดยสารสามารถเดินทางไปยังพื้นที่ต่างๆ ในอาเซียนได้สะดวกมากขึ้น ซึ่งจะทำให้สายการบินของไทย มีจำนวนเที่ยวบตินและผู้ช้บริการเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยบริษัท ท่าอากาศยานไทยจำกัด(มหาชน) ได้คาดการณ์ว่าจะมีจำนวนผู้โดยสารที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เพ่ิมขึ้นเป็นกว่า 56 ล้านคน และมีเที่ยวบินเพิ่มกว่า 3 แสนแที่ยวบินในปี 2015
จากปัจจัยเหล่านี้ ทำให้มีความต้องการเดินทางของผุ้โดยสารและนักท่องเทียวที่เพ่ิมขึ้น สงผลให้สายการบินในอาเซียนต้องการเข้ามาช่วงชิงและแข่งขันในประทเศไทยและเกิดการแข่งขัีนที่รุแรงขึ้นในธุรกิจการบินของไทย...prezi.com/qzsnbusthgwv/presentation/
โลว์คอสต์แอร์ไลนืเดือด "เวียดเจ็ท-ไลอ้อนแอร์-แอร์เอเชียเอ็กซ์" รุมทึ้งไทย
โลว์คอสต์ อาเซียนไล่ผนึกสายการบินในไทย หนุนภาพสมารภูมแอร์ไลน์ระอุ เวียดเจ็ทแอร์ร่วมทุนกานต์แอร์ เปิด "ไทยเวียดเจ็ทแอร์" ชิมลางตลาด ตามหลัง "ไลอ้อนแอร์" จากอินโดนีเซีย ด้าน "ไทย แอร์เอเชีย" ไม่หวั่นเสียฐานตลาด มุ่งเพ่ิมเส้นทาง-เที่ยวบิจต่อเนื่อง จากปผนรับมอบเครื่องบินปี 60 มีผูงบินทั้งหมด 61 ลำ "ทัศพล" เผย "แอร์เอเชียเอ็กซ์ไทยแลนด์" แจ้งเกิดในไทยได้แน่ หลังเห็นเทรนด์ตลาดโลว์คอสต์เที่ยวบินระยะไกลดีมานด์พุ่ง คนไทยรอบินอยู่มาก
ผู้สื่อขา่าวรายงานว่า สภานการณ์ตลาดการบินต้นทุนต่ด ในไทยรุนแรแงมากขึ้นอีกระดับใ เนื่องจากมสายการบินในภูมิภาคอาเวียนทยอยผนึกกับสายการบินในไทยอย่างต่อเนื่อง ทำให้มีผุ้เล่นในตลาดนี้อีกอย่างน้อย 3 ราย ประกอบด้วย สายการบินไทยเวียดเจ็ทแอร์ เป้ฯการร่วมทุนกันระหว่างเวียดเจ็?แอร์กับกานต์แอร์ของไทย ในสัดส่วน 49:51 เร่ิมบินปลายปี หนือต้นปีหน้า, สายการบินไทยไลอ้อนแอร์ เป็นการร่วทุนระหว่างำลอ้อนแอร์ของอินโดนีเซียและบริษัทไทยสกายล์ เพร่ิมบินประมาณสิงหาคมนี้ และ สายการบินแอร์เอเชียเอ็กซ์ไทยแลนด์ ซึ่งจะเพ่ิมฐานการบินที่เมืองทไย เร่ิมบินปลายปีนี้ หรือต้นปีหน้า เพราะเห็นศักยภาพของตลาดการบินในไทย ซึ่งได้รับอานิสงส์จากยอดนักท่องเที่ยวต่างชาติแห่เข้ามามาก
"นายทัศพล แบเลเว็ลด์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายการบินไทยแอร์เอเชีย กล่าวว่าทางกลุ่มแอร์เอเชียมีแผนนำสายการบินแอร์เอเชียเอ็กซืไทยแล้นด์ เปิดให้บริการภายในปลายปีนี้หรือไตรมาสแรกปีหน้า ขณะนี้อยู่ระหว่างการยืนของใบอนุญาตประกอบการเดินอากาศ กับกรมการบินพลเรือน ซึ่งภายในกันยายนนี้น่าจะแล้วเสร็จ โดยเชื่อว่าตลาดโลว์คอสต์เส้นทางระยะไกลมีดีมานด์มากพอที่จะทำให้บริษัทตั้งสายกาบินใหม่ในไทยได้
" ทั้งนี้ ไม่วิตกกับการแข่งขันรุนแรงในตลาดโลว์คอสต์ หลังไทยไลอ้อนแอร์และไทยเวียดเจ็ทแอร์เตรียมบินภายในประเทศมากขึ้น เพราะตลาดบ้านเราเป็นเค้กก้อนใหญ่ แต่แาจจะได้ตารางบิน(สลอตบิน) ที่ไม่ดีพอ เพราะสลอตดีๆ เจ้าเดิมในตลาดได้ไปหมดแล้ว โดยไทย แอร์เอเชียเองก็เตรยมแผนรับมือเรื่องโรปรโมชั่นราคา เชื่อว่าจะรักษาฐานตลาดไว้ได้ และเราก็มีแผนขยายเส้นทางบินและเที่ยวบินต่อเนื่อง เช่น กรุงเทพฯ - เนย์ปิดอว์ (พม่า) ในเดือนตุลคมนี้ และกรุงเทพฯไจปจีนเพ่ิมอีก 2 เส้นทาง" นายทัศพลกล่าวและว่า ขณะที่ภาพรวมของธุรกิจคาดว่ารายได้ในปีนี้จะเติบโต 20-25% มีผุ้โดยสารเพ่ิมจาก 8 ล้านคนเป็ฯ 10 ล้านคน เคบินแฟกเตอร์เฉลี่ยที่ 82%
นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รมว. คมนาคม กล่าวว่ ตลาดสายการบินโลว์คอสต์ในอาเซียนขยายตัวสุงมาก ปัจจุบัตมีส่วนแบ่งมากถึง 52% แล้เว ทั้งไทยเองก็เป็นจุดที่มีศักยภาพในการเชื่อมต่อการเดินทางอากาศ ทำให้สายกาบินโลว์คอสต์ต่งๆ เตรียมแจ้งเกิดในไทยมากขึ้นดังนั้น ธุรกิกจการบินในไทย เช่น การบินไทย การบินไทยสมายล์ รวมถึง บมจ.ท่าอากาศยานไทย(ทอท.) จำเป็นจ้องเร่งปรับตัวรับกับขนาดตลาดที่ใหญ่ขึ้นและคู่แข่งที่มากขึ้น เพราะแค่ในปัจจุบันก็มีผุ้โดยสารมาใช้บริการที่สุวรรณภุมิและดอนเมืองกว่า 60 ล้านคนต่อปีแล้ว
สอดคล้องกับนายวรเดช หาประเสริฐ อธิบดีกรมกาบินพลเรือน (บพ.) กล่าวเพิ่มเติมว่า นอกเนหือจากเทนด์สายการบินโลว์คอสต์ที่เพ่ิมจำนวนผุ้เล่นมากขึ้นแล้ว ตลาดขาร์เตอร์ไฟลต์เองก็ขยายตัวเช่นกัน โดยเมือปีที่แล้วมีผุ้ประกอบการมาขอใบอนุญาตกับ บพ.แล้วประมาณ 20 สายการบิน และเพิ่งมนุมัติเพ่ิมไปอีก 4 สายการบิน..www.thaizhong.org/index.php?option=com_content&view=article&id=3473:-q--q-&catid=127:asean-news&Itemid=137&lang=th
คำพูดสะท้อนภาพการแข่งขันธุรกิจการบินในประเทศไทย ของ กับตัันวรเนติ หล้าพระบาง รักษาการประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายการบิน ไทยสมายล์ สายการบินลูกที่มีสายการบินแห่งชาติบริษัทการบินไทย ถือหุ้น 100% โดยแรกเริ่มก่อตั้งเพื่อเปิดศึกชิงส่วนแบ่งทางการตลาดกับสายการบินต้นทุนต่ำ (โลว์คอสต์ แอร์ไลน์) อย่างไทย แอร์ เอเชีย
วรเนติ เล่าว่า แผนยุทธศาสตร์การตลาดของไทยสมายล์ในปีนี้ เน้นการเชื่อมโยงเส้นทางระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเส้นทางประเทศจีน อินเดีย และอาเซียน เพื่อสอคล้องกับนโยบายบริษัทแม่เน้นให้บริการเส้นทางบินแบบอาเซียน คอนเนก สร้างเครือข่ายการเดินทางท่องเที่ยวจากยุโรป อเมริกา ต่อไปยังประเทศที่ 3 ช่วยสร้างมูลค่าเพ่ิมการจำหนายตั๋วโดยสาร
ทั้งนี้ ไทยสมายล์ ได้ปรับภาพลักษณ์แบรนด์การให้บริการจากเดิมเน้นความสดใส สัสันการให้บริการ แต่ปัจจุบันได้สีสันสีเท่าเพ่ิมความนิ่งให้กับแบรนด์สินค้าบริากร มองถึงความเป็นพรีเมียมมากขึ้น เพื่อสร้างความแต่กต่งระกว่งสายการบินที่เป้ฯพรีเมียม ฟูลเซอร์วิส การให้บริการแบบเต็มรุปแบบ โดยที่ผุ้โดยสารไม่ต้องจ่ายค่าอาหาร เครื่องดืม โหลดกระเป๋าเพ่ิมเติมเหมือนโลซ์คอสต์แอร์ไลน์ แต่ราคาตั๋วโดยสรจะถูกกว่าสายกรบินแม่ การบินไทยเฉลี่ย 20%
สำหรับกลยุทธ์การขยายเส้นทางการบินที่ได้ย้ายฐานปฏิบัติการบินไว้ที่ท่อากาศยานสุวรรณภูมิแห่งเดียวเมื่อวัยที่ 16 ม.ค. ที่ผ่านมา เพื่อเพิ่มขีดความสามารในการบินของบริษัท สาารถใช้ประโยชน์เครื่องบินได้เต็มศักยภาพเป็น 10.5 ชั่วโมง/วัน จากปัจจุบันใช้เครื่องละ 8 ชัวโมง/วันส่วนเส้นทางที่เตรียมเปิดให้บริการได้แก่ เจิ้งโจว เสียมราฐ ปีนัง มัณฑะเลย์ โกดาคินาบาลู เป้นจ้น พร้อมเพ่ิมความถี่ในการให้บริการเส้นทางในประเทศทั้งหมด 10 เส้นทาง ได้แก่ เชี่ยงใหม่ ภูเก็ต ขอนแก่น เชียงราย หาดใหญ่ อุบลราชธานี อุดรธานี สุราาฎร์ธานี นราธิวาน และกระบี่้
โดยในปีนี้สัดส่วนการบินเส้นทางต่างประเทศจะเพิ่มเป้น 45% ในประเทศ 55% เที่ยบจากปีที่ผ่านมา ต่างประเทศ 20% และในประเทศ 80% เพื่อผลักดันให้สายการบินเป็นสยการบินที่ให้บริการเส้นทางระยะใกล้ครอบคลุมเส้นทงเอเชียและอาเวียน ทีเืองหลักและเมืองรอง พร้อมก้าวขึ้นเป้นสายการบินชั้นนำในอาเซียน
นอกจากนี้ สายการบินเตรียมพัฒนาพื้นที่เลานจ์ให้บริากรผุ้ดดยสาร พร้อมจัดทำระบบความบยันเทิงบนเครื่องบินให้บริการกับผุ้โดยสาตลอดระยะเวลาการเินทาง ในปีนี้คาดว่าจะขนผุ้โดยสารประมาณ 4.5 ล้านคน แบ่งเป็นคนไทย 68% ต่างชาติ 32% เที่ยบจากปีที่ผ่ามาร 3.2 ล้านคน ซึ่งการปรับปรุงการให้บริการเต็มรูปแบบ เชื่อว่าจะช่วยทำให้ราคาขายต่อที่นังของสายการบินปรับเพ่ิมขึ้นได้และคาดหวังจะไม่ขาดทุนมากนักหลังแนวโน้มปีที่ผ่านมามีรายได้ประมาณ 7,000 ล้านบาท นโยบบายปีนี้จะไม่เน้นการแข่งขันราคาแต่จะเข้ามาแข่งขันบ้างในแต่ละเทศกาล เพื่อสร้างสีสันให้กับตลาด
จากความพยายามในการปรับตัวของไทยสมายล์ครั้งนี้ ต้องจับตาดุว่าผลแประกอบกรในปีนี้จะพลิกฟื้นเป้นบวกได้หรือไม่ รวมถึงจับตาประเด็นการทุจริตจัดซื้อเครื่องยนต์ของบริษัทแม่ทีถูกเปิดโปงโดยบริษัท โรลส์ราอยซ์ ออกมากล่าวยอมรับว่าติดสินบนในการจัดซื้อเครื่องยนต์ให้กับหลายประเทศรวมถึงประเทศไทยด้วยเชื่อได้ว่าจะส่งผลต่อการจัดซื้อจัดหาเครื่องบินในล็อตต่อไปของการบินไทยให้ล่าช้าจากกำหนดการเดิมต้องแล้วเสร็จกลางปีนี้ ที่ต้องลากยาวออกไปไม่มาก็น้อย
และความล่าช้าที่เกิดขึ้นย่อมส่งผลต่อการแข่งขันในสมรภูมิรบน่านฟ้าที่ดุเดือดอย่างแน่นอน....www.posttoday.com/biz/aec/news/476960
...การเปิดเสน่านฟ้าในปี 2015 ทำให้สยการบินของไทยต้องเผชิญกับสภาพวะการแข่งขันที่รุนแรงยิ่งขึ้นจากสายการบินในอาเซียนที่ต้องกรเข้ามาแข่งขันในประเทศไทย ในอดคตต ประเทศ ไทยอนุญาตให้สายการบินเพียง ไม่กี่สายเข้ามาให้บริากรภายในประเทศ และจำกัดเส้นทางในการให้บริการของสายการบินเพื่อไม่ให้บินทับเส้นทางหลักของสายการบินแห่งชาติ(การบินไทย) ในภายหลังปี 2002 ได้มีการผ่านคลายกฎเกณฑ์ในการให้บริการของายการบิน ทำให้ธุรกิจการบินของไยมีการแข่งขันมากขึ้นแต่เนื่องจากในปี 2015 ประเทศไทยต้องก้าวเข้าู่ประชาคมเสราฐกจอาเวียน ซึ่งได้มีการตกลงใน เรื่องนโยบายการเปิดเสรีน่านฟ้า เพ่ิมมากขึ้น
กานต์แอร์ได้ร่วมทุนกับเวยดเจ็ทแอร์ประกาศจัดตั้งสายการบินไทยเวียดเจ๊ทแอร์ซึ่งเป็นสายการบินต้นทุนต่ำเพื่อเปิดให้บริการในประเทศไทย จะเห็นได้ว่าการเปิดเสรีน่านฟ้าจะทำให้สายการบินในอาเวียนสามารถเข้ามาให้บริากรในประเทศไทยจะมีการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น
นอกจากประเทศไทยมีความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์เพราะสามารถเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางอากาศ (ฮับ) ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้ผุ้โดยสารสามารถเดินทางไปยังพื้นที่ต่างๆ ในอาเซียนได้สะดวกมากขึ้น ซึ่งจะทำให้สายการบินของไทย มีจำนวนเที่ยวบตินและผู้ช้บริการเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยบริษัท ท่าอากาศยานไทยจำกัด(มหาชน) ได้คาดการณ์ว่าจะมีจำนวนผู้โดยสารที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เพ่ิมขึ้นเป็นกว่า 56 ล้านคน และมีเที่ยวบินเพิ่มกว่า 3 แสนแที่ยวบินในปี 2015
จากปัจจัยเหล่านี้ ทำให้มีความต้องการเดินทางของผุ้โดยสารและนักท่องเทียวที่เพ่ิมขึ้น สงผลให้สายการบินในอาเซียนต้องการเข้ามาช่วงชิงและแข่งขันในประทเศไทยและเกิดการแข่งขัีนที่รุแรงขึ้นในธุรกิจการบินของไทย...prezi.com/qzsnbusthgwv/presentation/
โลว์คอสต์แอร์ไลนืเดือด "เวียดเจ็ท-ไลอ้อนแอร์-แอร์เอเชียเอ็กซ์" รุมทึ้งไทย
โลว์คอสต์ อาเซียนไล่ผนึกสายการบินในไทย หนุนภาพสมารภูมแอร์ไลน์ระอุ เวียดเจ็ทแอร์ร่วมทุนกานต์แอร์ เปิด "ไทยเวียดเจ็ทแอร์" ชิมลางตลาด ตามหลัง "ไลอ้อนแอร์" จากอินโดนีเซีย ด้าน "ไทย แอร์เอเชีย" ไม่หวั่นเสียฐานตลาด มุ่งเพ่ิมเส้นทาง-เที่ยวบิจต่อเนื่อง จากปผนรับมอบเครื่องบินปี 60 มีผูงบินทั้งหมด 61 ลำ "ทัศพล" เผย "แอร์เอเชียเอ็กซ์ไทยแลนด์" แจ้งเกิดในไทยได้แน่ หลังเห็นเทรนด์ตลาดโลว์คอสต์เที่ยวบินระยะไกลดีมานด์พุ่ง คนไทยรอบินอยู่มาก
"นายทัศพล แบเลเว็ลด์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายการบินไทยแอร์เอเชีย กล่าวว่าทางกลุ่มแอร์เอเชียมีแผนนำสายการบินแอร์เอเชียเอ็กซืไทยแล้นด์ เปิดให้บริการภายในปลายปีนี้หรือไตรมาสแรกปีหน้า ขณะนี้อยู่ระหว่างการยืนของใบอนุญาตประกอบการเดินอากาศ กับกรมการบินพลเรือน ซึ่งภายในกันยายนนี้น่าจะแล้วเสร็จ โดยเชื่อว่าตลาดโลว์คอสต์เส้นทางระยะไกลมีดีมานด์มากพอที่จะทำให้บริษัทตั้งสายกาบินใหม่ในไทยได้
" ทั้งนี้ ไม่วิตกกับการแข่งขันรุนแรงในตลาดโลว์คอสต์ หลังไทยไลอ้อนแอร์และไทยเวียดเจ็ทแอร์เตรียมบินภายในประเทศมากขึ้น เพราะตลาดบ้านเราเป็นเค้กก้อนใหญ่ แต่แาจจะได้ตารางบิน(สลอตบิน) ที่ไม่ดีพอ เพราะสลอตดีๆ เจ้าเดิมในตลาดได้ไปหมดแล้ว โดยไทย แอร์เอเชียเองก็เตรยมแผนรับมือเรื่องโรปรโมชั่นราคา เชื่อว่าจะรักษาฐานตลาดไว้ได้ และเราก็มีแผนขยายเส้นทางบินและเที่ยวบินต่อเนื่อง เช่น กรุงเทพฯ - เนย์ปิดอว์ (พม่า) ในเดือนตุลคมนี้ และกรุงเทพฯไจปจีนเพ่ิมอีก 2 เส้นทาง" นายทัศพลกล่าวและว่า ขณะที่ภาพรวมของธุรกิจคาดว่ารายได้ในปีนี้จะเติบโต 20-25% มีผุ้โดยสารเพ่ิมจาก 8 ล้านคนเป็ฯ 10 ล้านคน เคบินแฟกเตอร์เฉลี่ยที่ 82%
นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รมว. คมนาคม กล่าวว่ ตลาดสายการบินโลว์คอสต์ในอาเซียนขยายตัวสุงมาก ปัจจุบัตมีส่วนแบ่งมากถึง 52% แล้เว ทั้งไทยเองก็เป็นจุดที่มีศักยภาพในการเชื่อมต่อการเดินทางอากาศ ทำให้สายกาบินโลว์คอสต์ต่งๆ เตรียมแจ้งเกิดในไทยมากขึ้นดังนั้น ธุรกิกจการบินในไทย เช่น การบินไทย การบินไทยสมายล์ รวมถึง บมจ.ท่าอากาศยานไทย(ทอท.) จำเป็นจ้องเร่งปรับตัวรับกับขนาดตลาดที่ใหญ่ขึ้นและคู่แข่งที่มากขึ้น เพราะแค่ในปัจจุบันก็มีผุ้โดยสารมาใช้บริการที่สุวรรณภุมิและดอนเมืองกว่า 60 ล้านคนต่อปีแล้ว
สอดคล้องกับนายวรเดช หาประเสริฐ อธิบดีกรมกาบินพลเรือน (บพ.) กล่าวเพิ่มเติมว่า นอกเนหือจากเทนด์สายการบินโลว์คอสต์ที่เพ่ิมจำนวนผุ้เล่นมากขึ้นแล้ว ตลาดขาร์เตอร์ไฟลต์เองก็ขยายตัวเช่นกัน โดยเมือปีที่แล้วมีผุ้ประกอบการมาขอใบอนุญาตกับ บพ.แล้วประมาณ 20 สายการบิน และเพิ่งมนุมัติเพ่ิมไปอีก 4 สายการบิน..www.thaizhong.org/index.php?option=com_content&view=article&id=3473:-q--q-&catid=127:asean-news&Itemid=137&lang=th
วันพุธที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2560
Mega Deal
"คิง เพาเวอร์" ลงทุนใน "ไทยแอร์เอเชีย" ต่อจิ์กซอว์ท่องเที่ยวครองวงจร..
ทันที่ที่ "กลุ่ม คิง พเพาเวอร์" ของตระกูลศรีวันาประภา ซื้อหุ้น "บมจ. เอเชีย เอวิเอชั่น" หรือ AAV (ซึ่งเป็นบริษทั่ที่ถือหุ้นร้อยละ 55 ของไทยแอร์เอเชีย) ในสัดส่วน 39% มูลค่ารวมประมาณ 7,945 ล้านบ้าท จากธรรศพลฐ์ แบเลเว็ลต์ และครอบครัว ส่งผลให้ "กลุ่มคิง เพาะเวอร์" กลายเป็นหนึ่งในพี่ใหญ่ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในไทย
เหตุผลสำคัญที่ "กลุ่มคิง เพาเวอร์" ทุ่นงินเข้ามาซื้อหุ้นในครั้งนี้ เพราะเล็งเห็นโอา
กสของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทย หนึ่งในรายได้หลักของประเทศ โดยจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เข้าไทย คาดการณ์ว่าปี 2559 ไม่ต่ำกว่า 32 ล้านคน ตลาดหลักยังคงเป้นนักท่องเที่ยวจีน ซึ่งเป็นฐานลูกค้าใหญ่ของทั้งคิง เพาเวอร์ และกลยุทธ์การตลดของไทย แอร์เอเชีย มุ่งเจาะนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มากขึ้น
กระแสความโด่งดังของ "เลสเตอร์ ซิตี้" หรือ จิ้งจองสยาม" ของเจ้าสสั่ววิชัย ศรีวัฒนาประภาพ ประธานกรรมการกลุ่มบริษทัคิ เพาเวอร์ ที่สามารถก้าวขึ้นมาคว้าแชมป์พรีเมีอยร์ ลีก ฟุตบอลลีกสูงสุดของอังกฤษ มาครองในรอบ 132 ปี ของการก่อตั้งสโมสรยังไม่ทันจางหาย ชื่อของเเจ้าสัววิชัย และครองครัว ก็กลับมาเป็นข่าวใหญ่ในแวดวงธุรกิจอีกครั้งหนึ่งเมื่อตัดสินใจ เจียดเงินราว 7,945 ล้านบาท ซื้อหุ้น "เอเชีย เอวิเอชั่น" AAV จาก "ธรรศพลฐ์ แบเลเว็ลด์" และครอบครัว เป็นสัดส่วนถึง 39% หลังจากก่อหน้านี้มีแระแสข่าวออกมาเป็นระยะๆ พร้อมกันนี้เขาได้ส่งลูกชายและ(ุ้บิรหารคิง เพาะเวอร์เขาไปนั่งเป็นกรรมการ รวมทั้งไว้วางใจให้ "ธรรศพลญฐ์" บริหารไทยแอร์เอเชียต่อไป
วิชัย ศรีวัฒนประภา ประธานกรรมการกลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์ จำกัด ผู้บริหารร้านค้าปลอดภาษี หรือ ดิวตี้ฟรี "คิง เพาเวอร์" ระบุว่า การเข้าไปลงทุนในสายการบินไทยแอร์เอเชยเ็นผนึกกำลังของ 2 ธุรกิจที่อยู่ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้มีศักยภาพในการทำการตลาดได้มากยิ่งขึ้น โดยที่ท้้ง 2 ธุรกิจสามารถจะต่อยอดและสงเสริมซึ่งกันและกันได้อเป็นอย่างดี
การมาร่วมกันต่อยอดจะเป็นจังหวะที่ดีที่จะทำให้เกิดจุดเปลี่ยนในุตสาหกรรมท่องเที่ยวและเกิดโอกาสใหม่ๆ ของธุรกิจทั้งกับของฝั่งคิง เพาเวอร์และไทยแอร์เอเชีย
" การต่อยอดธุรกิจซึ่งกันและกันจะทำให้สามารถทำการตลาดได้ดียิ่งขึ้นนอกจากเป็นประโยชน์กับนักเดินทางท่องเที่ยวแล้ว การซินเนอร์ยีดังกล่าวยังจะข่วยให้ทั้ง 2 ธุรกิจสามารถในการขยายฐานลูกค้าได้อีกทางหนึ่ง โดยเฉพาะกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวจีนที่คาดว่าจะเดินเข้ามาประเทศไทยอีกมหาศาลทั้งในปัจจุบันและอนาคต"
เขาย้ำว่า "ผมมองลงทุนในธุรกิจสายการบินมานานแล้ว โดยช่วงที่นกแอร์ก่อตั้งผมเข้าไปถือหุ้น 5 % แต่ด้วยสัดส่วนการถือหุ้นที่น้อยและไม่มีอำนาจบริหารเลยตัดสินใจขายออก การลวทุนในธุรกิจสายการบินนั้นหากธุรกิจเดิมไม่เอื้อจะทำได้ยากมาก ท้้งคิง เพาเวอร์ และไทยแอร์เอเชีย มีอกลุ่มลูกค้าหลักเป็นกลุ่มเดียวกันคือ นักท่องเที่ยวจีน จึงไม่ยากสำหรับการต่อยอดธุรกิจในอนาคต" วิน วิน ทั้งคิง เพาะเวอร และแอร์ เอเชีย และย่ิงจะทำให้ทั้ง 2 ธุรกิจเติบโตได้ดีขึ้นกว่าเดิม
ควบคู่กับการขยายธุรกิจมาสู่ธุรกิจสายการบิน ประธาน คิง เพาเวอร์ ยังทุ่มเม็ดเงินลงทุนแอีกไม่ยั้ง เริ่มจากงบประมาณ กว่า ห้าพันล้านบาท สำหรับการปรับโแมครั้งใหญ่ คิง เพาเวอร์ คอมเพล็กซ์ ถนนรางน้ำ เพื่อรองรับการขยายตัวของนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะกลุ่มชาวจีน และสร้างให้เป็นศูนย์กลางรับนักชอป คนไทยและนักท่องเที่ยวนานาชาติกลุ่มเดินทางอิสระ โดยจะเร่ิมปิดปรับปรุงตั้งแต่เดือนเมษายน 2560 เป็นต้นไป คาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 6-7 เดือน
เช่นเดียวกับ โรงเเรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ ในบริเวณเดียวกัน เน้นลงทุนติดต้งเทคโนโลยีล้ำสมัย สิ่งอำนวยความสะดวกและคอนเซ็บปต์ใหม่ๆ เช้ามาให้บริการห้องพัก ห้องประชุม ห้องจัดเลี้ยงห้องอาหาร เพ่ิมขีดความสามารถทางการแช่งขัน เพื่อให้ลูกค้าได้สัมพัสบริการโฉมใหม่ เปิดเต็มตามรูปแบบเดือนตุลาคม 2559...
ย้อนกลับไปเมื่อช่วงปลายปี 2558 ที่ผ่านมา แม่ทัพใหญ่ คิง เพาเวอร์ เปรยๆ ว่ามีแผนจะเดินหน้าลงทุนนธุรกิจที่ถนัด ด้วยการผนวกเอา 3 ธุรกิจเข้ด้วยกัน ได้แก่ การท่องเที่ยว ดิวตี้ฟรี และกีฆาฟุตบอล เพื่อประกาศความยิ่งใหญ่ในเอเชียและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งในอีก้านหนึ่งจะเป็นการช่วยรัฐบาลสร้างมูลค่าทำใ้ประเทศไทยและวิถีชุมชนฐานรากเจ้าของแหล่งท่องเที่ยว แลห่งผลิตสินค้า ขยายช่องทางการจำหน่าย โฆษณาประชาสัมพันธ์การตลาด ผ่านเครื่อข่ายดิวตั้ฟรี และการแข่งขันฟุตบอลระดับโลกทุกแมตซ์ระหว่างการถ่ายทอดสู่สายตาผู้ชมทั้งโลกหลายร้อยล้านคนจะได้เห็นแปรนด์ประเทศไทย
www.matichon.co.th/news/181841
การขยายอาณาจักรทางธุรกิจจากธุรกิจดิวตั้ฟรี และธุรกิจฟุตบอล มาสู่ธุรกิจสายการบินครั้งนี้ อาจจะเป็นจิ๊กซอว์สำคัญอีกตัวหนึ่งที่เจ้าสัววิชัย จะใช้เป็นบันไดในการก้าวข้ามไปสู่ธุรกิจอื่นๆ ทีเ่กี่ยวเนื่องในอนาคต...
นอกจากการควบรวมระหว่างคิง เพาเวอร์ และไทยแอร์ เอเชียแล้วยังมี ยังใหญ่ที่จับมือกันให้สะเทือนวงการธุรกิจไทย อีก ทั้งในรูปแบบการเข้าซื้อกิจการ การเข้าถือหุ้น รวมไปถึงการซื้อหุ้นจากการเพ่ิมทุน เพื่อจับมือเป็นพันธมิตรกัน ซึ่งได้รวบรวมการผนึกกำลังกันระหว่างองค์การครั้งใหญ่ ทั้งบริษัทไทยด้วยกันเอง บริษัทไทยกับบริษัทต่างชาติ หรือแม้แต่บริษัทต่างชาติสร้างความรวมมือกัน แล้วมีผลมายังตลาดประเทศไทย ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า ความเคลื่อนไหวต่างๆ เหล่านนี้้ เป็นเหตุการณ์ที่น่าบันทึกไว้ในหน้าประวัติศาสตร์วงการธุรกิจไทย..
"กลุ่มเซ็นทรับ" ซื้อ "ZAlora" ประเทศไทย เสริมแกร่งธุรกิจออนไลน์
กลุ่มเซ็นทรัล" เข้าซื้อกิจการ "ซาโลร่า ประเทศไทย" เพื่อเสริมศักยภาพธุรกิจออนไลน์ เนื่องจากเล็งเห็นความแข็งแกร่งของซาโลร่า ซึ่งเป็ฯออนไลน์แฟชั่นยอดนิยมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีกลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ หนุ่มสาวออฟฟิต หรือผุ้ที่ช่นชอบแฟชั่น อีกทั้งมีจุดแข็งการเป็นศูนย์รวมของความหลากหลายสินค้าและไอเทมแฟชั่นต่างๆ ทั้งแบรนด์ไทยและแบรนด์ระดับโลก หว่า 80,000 รายการ รวมทัี้งมีระบบออกไลน์ที่สะดวกรวดเร็ว จึงสามารถตอบโจทย์ผู้บริโภคได้ครอบลคลุมทังภูมิภาคนี้
เมื่อรวมกับความน่าเชื่อถือของ "กลุ่มเซ็นทรัล" จึงคาดว่าจะก่อให้เกิดการจับจ่ายใช้สอยแบบไร้รอบต่อระหว่างออนไลน์และออฟไลน์ และทำให้กลุ่มเซ็นทรับเข้ถึงฐานข้อมุลลูกค้าออนไลน์และฐานข้อมูลของซัพพลายเออร์ได้มากขึ้น ขณะเดี่ยวกัยมุ่งหวังว่าจะทำให้ยอดขายของเซ็นทรัลออนไลน์เพ่ิมขึ้นเป็น 2 เท่า
"Alibaba" ควบรวมกิจการ "Lazada" รุกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นับเป็น เมกะ ดีล ที่สร้างแรงสั่นสะเทือนให้กับธุรกิจ อี-คอมเมิร์ซ ทั้งในไทย และทั่วโลกเลยที่เดียว ซึ่ง อาบีบาบา ยังใหญ่ อี-คอมเมิร์ซ ของจีน ทุ่มเงินกว่ พันล้านเหรียญสหรัฐ ซื้อกิจการ "ลาซาด้า" เพราะหลังจาก "อาลีบาบา" มีัฐานธุรกจแข็งแกร่งในจีนแล้ว สเตบต่อไป คือพุ่งทะยานสู่ตลาดต่างประเทศ และ "ตลาดเอเชียตะวันออกเฉึยงใต้" คือ หนึ่งในเป้าหมายสำคัญที่มักรรายนี้ต้การปักธง
การซื้อกิจกรธุรกิจออนไลน์ "ลาซาด้า" ที่แจ้งเกิดในภูมิภาคนี้ได้สำเร็จแล้ว ทำให้ "อาลีบาบา" ไม่ต้องเสียเวลาเร่ิมต้นจากศูนย์ และเป็น "ทางลัด" ที่จะรุกตลาดได้เร็วและแรงที่สุด...
"อาลีบาบา" ควง "กลุ่มซีพี" รุกการเงนิดิจทัลเอเชีย
เป็นปรากฎการณืความร่วมมือครั้งใหญ่แห่งปีก็ว่าได้ เมื่อ "บริษัท แอนท์ ไฟแนนเชียล เซอร์วิสเซส กรุ๊ป" ผุ้ให้บริการทางการเงินดิจิทัล "Alipay" ในเครือ "อลีบาบา กรุ๊ป" ประกาศความร่วมมือกับ "บริษัท แอสเซนด์ มันนี้" ในเครื่อเจริญโภคภัฒฑ์ ให้บริการธุรกิจเทคโนโบยีทางการเิงน ทั้งในไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภายใต้ชื่อ "ทรู มันนี้" บริการทางการเงินดิจิทัล แะล "แอสเซนด์ มันนี่" ธุรกิจเงินกู้รายย่อย
การจับมือกันครั้งนี้ "แอนท์ ไฟแนนเชียล" จะเข้ามถือหุ้นในสัดส่วน 20% "แอสเซนด์ มันนี" และมีโอกาสเพิ่เป็น 30% ในปี 2561 โดยทั้งสองฝ่ายต่างมองว่าจะช่วยเสริมความแข็งแกร่งซึ่งกันและกัน เพ่อสานฝันของตนเองให้เป็นจริง....
ตำนานบทใหม่ "บิ๊กซี" ภายใต้ชายคา "กลุ่มเจ้าสัวเจริญ"
หลังจาก "คาสิโน กรุ๊ป" ผุถือหุ้นรายใหญ่ของ "บิ๊กซี" ในประเทศไทย ประกาศขายหุ้น ก้มีข่าวมาเป็นระยะๆ ยนับเนื่องตั้งแต่ปี 2558 ว่ากลุ่มทุนใดจะเป็นผุ้คว้า "บิ๊กซี" ในไทยไปครอง กระทั่งเมื่อต้นปี 2559 ในที่สุดผุ้ที่ได้ไป คือ "บริษัท แบอร์ลียุคเกอ์ จำกัด (มหาชน)" หรือ "BJC" เป็นผุ้ถือห้นใหญ่ (บริษัทในเครือง "ทีซีซี กรุ๊ป" ของเจ้าสัวเจริญ สิริวัฒนภักดี) โดยถืหุ้นในามสองบริษัทย่อยของ BJC คือ "บริษัท บิเจซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ จำกัด" และบริษัท สัมพันธ์เสมอ จำกัด"
ขณะที่ต่อมากลุ่มเซ็นทรัล ซึ่งถือหุ้นในบิ๊กซีในไทย สัดส่วน 25% ได้ขายหุ้นที่มีอยู่ให้กับกลุ่มเจ้าสั่วเจริญ จากนั้นกลุ่มเซ็นทรัล ได้ร่วมกับกลุ่มเหงียนคิม พันธมิตรธุรกิจในเวียดนา เข้าื้อกิจการบิ๊กซี ประเทศเวียดนาม
การได้บิ๊กซีในไทย ค้าปลีกในเซ็กเมนต์ดิสเคาน์สโตร์มาครอบครองได้สำเร็จ เป็นการต่อจิ๊กซอรว์ใหย๋ของ "ธุรกิจปลายน้ำ" ในเครือทีซีซี กรุ๊ปที่ต้องการสร้างอาณาจักรให้มีความครบวงจรและครอบคลุมตั้งแต่ "ต้นน้ำ" คือ การผลติ - "กลางน้ำ" คือการจัดจำหน่าย และ "ปลายน้ำ" คือ ธุรกิจค้าปลีก ที่ผลักดันให้สินค้าและบริากต่างๆ ในเครือเข้าถึงผุ้บริโภคมากที่สุด...
"เครือโรงพยาบาบกรุงเทพ" ฮุบ "ปาร์คนายเลิส" สร้างศุนย์สุขภาพครอบวงจร
อีกหนึงดีลใหญ่ที่ช็อกวงการธุรกิจ และคนทั่วไปไม่น้อย เมื่อ "บริษัทกรุงเพทดุสิตเวชการจำกัด (มหาชน)"หรือคุ้นเคยกันในนาม "เครือโรงพยาบายกรุงเทพ" ของน.พ. ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ ได้ให้บริษัทย่อย เช่าญื้อที่ดินบริเวณโครงการปาร์คนายเลิศกว่า 15 ไร่ จากที่ดินทั้งหมดเกือบ 40 ไร่ พร้อมสิ่งปลูกสร้าง(ไม่นับรวมบ้านปาร์คนายเลิศ และสวน ที่ปัจจุบันเป็นพิพิธภัฒฑ์ปาร์คนายเลิส ยังคงเป็นมรดกของตระกูลสมบัติศิริ) ด้วยมูลค่า 10,800 ล้านบาท เพื่อพัฒนาเป็น BDMS Wwllness Clinic" โครงการศูนย์สุขภาพครบวงจร รวมทั้งให้บริการด้านเวชศาสตร์ชะลอวัย และฟื้นฟุสุขภาพแบบครอบวงจรรายแรกในภูมิภาคเอเชีย...
"กลุ่มเจ้าสัวเจริญ" ต่อลมหายใจ "กลุ่มอมรินทร์"
ภาวะประกอบการขาดทุนจาการดำเนินงานในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาของ "บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งงแอนด์ พบลิชชิง จำกัด (มหาชน)" เจ้าของสื่อสิ่งพิมพ์ ธุรกิจจ New Media-Event และธุรกิจทีวีดิจิทัล อัมรินทร์ ทีวี ส่งผลกระทบต่อสภาพคล่องทางการเงินที่ใช้เป็เวินทุนหมุนเวียนในกาดำเนินธุรกิจ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องใช้เงินทุน โดยเฉพาะการเอาไปลงทุนเพ่ิมเติมในธุรกิจทีวีดิจิทัลที่อยู่ในช่วงของการเริ่มต้นธุรกิจซึ่งมีต้นทุนการดำเนินการที่สูง
ด้วยเหตุนี้ "กลุ่มอมรินทร์" ตัดสินใจเพิ่มทุนและขายหุ้นใหักับ "บริษัท วัฒนภักดี จำกัด" จำนวน 200 ล้านหุ้น รวมมูลค่า 850 ล้านบาท ซึ่งบริษัทดังกล่วมี "ฐาปน สิริวัฒนภักดี" และปณต สิริรวัฒนภักดี" เป็นผุ้ถือหุ้นใหญ่ ทำให้ "บริษัท วัฒนภักดี จำกัด" กลายเป็นผุ้ถือหุ้นใหญ่ของ บมจ. อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง ในสัดส่วน 47.62% โดย "กลุ่มอมรินทร์" มีแผนการใช้เงินที่ได้จากการเพ่ิมทุนนี้ ภายในต้นปี 2561 เืพ่อให้ธุรกิจสามารถดำเนินต่อไปได้
ขณะเดียวกันในภาวะอุตสาหกรรมธุรกิจทีวีดิจิทัลมีการแข่งขันสูง "กลุ่มอมรินทร์" มองว่าการมีพันธมิตรทางธุรกิจที่มีความพร้อมในด้านเงินทุนและมีความเชี่ยวชาญในการดำเนินธุรกิจ รวมถึงมีสถานะทางการเงินและสายสัมพันธ์ทีดีกับกลุ่มธุรกิจที่หลากหลาย จะทำให้บริษัทฯ ได้รับเงินตามจำนวนที่ต้องการ และช่วยเพ่ิมความเชื่อมั่นในการดำเนินธุรกิจ...www.brandbuffet.in.th/2017/01/mega-deal-2016/
ทันที่ที่ "กลุ่ม คิง พเพาเวอร์" ของตระกูลศรีวันาประภา ซื้อหุ้น "บมจ. เอเชีย เอวิเอชั่น" หรือ AAV (ซึ่งเป็นบริษทั่ที่ถือหุ้นร้อยละ 55 ของไทยแอร์เอเชีย) ในสัดส่วน 39% มูลค่ารวมประมาณ 7,945 ล้านบ้าท จากธรรศพลฐ์ แบเลเว็ลต์ และครอบครัว ส่งผลให้ "กลุ่มคิง เพาะเวอร์" กลายเป็นหนึ่งในพี่ใหญ่ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในไทย
เหตุผลสำคัญที่ "กลุ่มคิง เพาเวอร์" ทุ่นงินเข้ามาซื้อหุ้นในครั้งนี้ เพราะเล็งเห็นโอา
กสของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทย หนึ่งในรายได้หลักของประเทศ โดยจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เข้าไทย คาดการณ์ว่าปี 2559 ไม่ต่ำกว่า 32 ล้านคน ตลาดหลักยังคงเป้นนักท่องเที่ยวจีน ซึ่งเป็นฐานลูกค้าใหญ่ของทั้งคิง เพาเวอร์ และกลยุทธ์การตลดของไทย แอร์เอเชีย มุ่งเจาะนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มากขึ้น
กระแสความโด่งดังของ "เลสเตอร์ ซิตี้" หรือ จิ้งจองสยาม" ของเจ้าสสั่ววิชัย ศรีวัฒนาประภาพ ประธานกรรมการกลุ่มบริษทัคิ เพาเวอร์ ที่สามารถก้าวขึ้นมาคว้าแชมป์พรีเมีอยร์ ลีก ฟุตบอลลีกสูงสุดของอังกฤษ มาครองในรอบ 132 ปี ของการก่อตั้งสโมสรยังไม่ทันจางหาย ชื่อของเเจ้าสัววิชัย และครองครัว ก็กลับมาเป็นข่าวใหญ่ในแวดวงธุรกิจอีกครั้งหนึ่งเมื่อตัดสินใจ เจียดเงินราว 7,945 ล้านบาท ซื้อหุ้น "เอเชีย เอวิเอชั่น" AAV จาก "ธรรศพลฐ์ แบเลเว็ลด์" และครอบครัว เป็นสัดส่วนถึง 39% หลังจากก่อหน้านี้มีแระแสข่าวออกมาเป็นระยะๆ พร้อมกันนี้เขาได้ส่งลูกชายและ(ุ้บิรหารคิง เพาะเวอร์เขาไปนั่งเป็นกรรมการ รวมทั้งไว้วางใจให้ "ธรรศพลญฐ์" บริหารไทยแอร์เอเชียต่อไป
วิชัย ศรีวัฒนประภา ประธานกรรมการกลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์ จำกัด ผู้บริหารร้านค้าปลอดภาษี หรือ ดิวตี้ฟรี "คิง เพาเวอร์" ระบุว่า การเข้าไปลงทุนในสายการบินไทยแอร์เอเชยเ็นผนึกกำลังของ 2 ธุรกิจที่อยู่ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้มีศักยภาพในการทำการตลาดได้มากยิ่งขึ้น โดยที่ท้้ง 2 ธุรกิจสามารถจะต่อยอดและสงเสริมซึ่งกันและกันได้อเป็นอย่างดี
การมาร่วมกันต่อยอดจะเป็นจังหวะที่ดีที่จะทำให้เกิดจุดเปลี่ยนในุตสาหกรรมท่องเที่ยวและเกิดโอกาสใหม่ๆ ของธุรกิจทั้งกับของฝั่งคิง เพาเวอร์และไทยแอร์เอเชีย
" การต่อยอดธุรกิจซึ่งกันและกันจะทำให้สามารถทำการตลาดได้ดียิ่งขึ้นนอกจากเป็นประโยชน์กับนักเดินทางท่องเที่ยวแล้ว การซินเนอร์ยีดังกล่าวยังจะข่วยให้ทั้ง 2 ธุรกิจสามารถในการขยายฐานลูกค้าได้อีกทางหนึ่ง โดยเฉพาะกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวจีนที่คาดว่าจะเดินเข้ามาประเทศไทยอีกมหาศาลทั้งในปัจจุบันและอนาคต"
เขาย้ำว่า "ผมมองลงทุนในธุรกิจสายการบินมานานแล้ว โดยช่วงที่นกแอร์ก่อตั้งผมเข้าไปถือหุ้น 5 % แต่ด้วยสัดส่วนการถือหุ้นที่น้อยและไม่มีอำนาจบริหารเลยตัดสินใจขายออก การลวทุนในธุรกิจสายการบินนั้นหากธุรกิจเดิมไม่เอื้อจะทำได้ยากมาก ท้้งคิง เพาเวอร์ และไทยแอร์เอเชีย มีอกลุ่มลูกค้าหลักเป็นกลุ่มเดียวกันคือ นักท่องเที่ยวจีน จึงไม่ยากสำหรับการต่อยอดธุรกิจในอนาคต" วิน วิน ทั้งคิง เพาะเวอร และแอร์ เอเชีย และย่ิงจะทำให้ทั้ง 2 ธุรกิจเติบโตได้ดีขึ้นกว่าเดิม
ควบคู่กับการขยายธุรกิจมาสู่ธุรกิจสายการบิน ประธาน คิง เพาเวอร์ ยังทุ่มเม็ดเงินลงทุนแอีกไม่ยั้ง เริ่มจากงบประมาณ กว่า ห้าพันล้านบาท สำหรับการปรับโแมครั้งใหญ่ คิง เพาเวอร์ คอมเพล็กซ์ ถนนรางน้ำ เพื่อรองรับการขยายตัวของนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะกลุ่มชาวจีน และสร้างให้เป็นศูนย์กลางรับนักชอป คนไทยและนักท่องเที่ยวนานาชาติกลุ่มเดินทางอิสระ โดยจะเร่ิมปิดปรับปรุงตั้งแต่เดือนเมษายน 2560 เป็นต้นไป คาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 6-7 เดือน
เช่นเดียวกับ โรงเเรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ ในบริเวณเดียวกัน เน้นลงทุนติดต้งเทคโนโลยีล้ำสมัย สิ่งอำนวยความสะดวกและคอนเซ็บปต์ใหม่ๆ เช้ามาให้บริการห้องพัก ห้องประชุม ห้องจัดเลี้ยงห้องอาหาร เพ่ิมขีดความสามารถทางการแช่งขัน เพื่อให้ลูกค้าได้สัมพัสบริการโฉมใหม่ เปิดเต็มตามรูปแบบเดือนตุลาคม 2559...
ย้อนกลับไปเมื่อช่วงปลายปี 2558 ที่ผ่านมา แม่ทัพใหญ่ คิง เพาเวอร์ เปรยๆ ว่ามีแผนจะเดินหน้าลงทุนนธุรกิจที่ถนัด ด้วยการผนวกเอา 3 ธุรกิจเข้ด้วยกัน ได้แก่ การท่องเที่ยว ดิวตี้ฟรี และกีฆาฟุตบอล เพื่อประกาศความยิ่งใหญ่ในเอเชียและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งในอีก้านหนึ่งจะเป็นการช่วยรัฐบาลสร้างมูลค่าทำใ้ประเทศไทยและวิถีชุมชนฐานรากเจ้าของแหล่งท่องเที่ยว แลห่งผลิตสินค้า ขยายช่องทางการจำหน่าย โฆษณาประชาสัมพันธ์การตลาด ผ่านเครื่อข่ายดิวตั้ฟรี และการแข่งขันฟุตบอลระดับโลกทุกแมตซ์ระหว่างการถ่ายทอดสู่สายตาผู้ชมทั้งโลกหลายร้อยล้านคนจะได้เห็นแปรนด์ประเทศไทย
www.matichon.co.th/news/181841
การขยายอาณาจักรทางธุรกิจจากธุรกิจดิวตั้ฟรี และธุรกิจฟุตบอล มาสู่ธุรกิจสายการบินครั้งนี้ อาจจะเป็นจิ๊กซอว์สำคัญอีกตัวหนึ่งที่เจ้าสัววิชัย จะใช้เป็นบันไดในการก้าวข้ามไปสู่ธุรกิจอื่นๆ ทีเ่กี่ยวเนื่องในอนาคต...
นอกจากการควบรวมระหว่างคิง เพาเวอร์ และไทยแอร์ เอเชียแล้วยังมี ยังใหญ่ที่จับมือกันให้สะเทือนวงการธุรกิจไทย อีก ทั้งในรูปแบบการเข้าซื้อกิจการ การเข้าถือหุ้น รวมไปถึงการซื้อหุ้นจากการเพ่ิมทุน เพื่อจับมือเป็นพันธมิตรกัน ซึ่งได้รวบรวมการผนึกกำลังกันระหว่างองค์การครั้งใหญ่ ทั้งบริษัทไทยด้วยกันเอง บริษัทไทยกับบริษัทต่างชาติ หรือแม้แต่บริษัทต่างชาติสร้างความรวมมือกัน แล้วมีผลมายังตลาดประเทศไทย ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า ความเคลื่อนไหวต่างๆ เหล่านนี้้ เป็นเหตุการณ์ที่น่าบันทึกไว้ในหน้าประวัติศาสตร์วงการธุรกิจไทย..
"กลุ่มเซ็นทรับ" ซื้อ "ZAlora" ประเทศไทย เสริมแกร่งธุรกิจออนไลน์
กลุ่มเซ็นทรัล" เข้าซื้อกิจการ "ซาโลร่า ประเทศไทย" เพื่อเสริมศักยภาพธุรกิจออนไลน์ เนื่องจากเล็งเห็นความแข็งแกร่งของซาโลร่า ซึ่งเป็ฯออนไลน์แฟชั่นยอดนิยมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีกลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ หนุ่มสาวออฟฟิต หรือผุ้ที่ช่นชอบแฟชั่น อีกทั้งมีจุดแข็งการเป็นศูนย์รวมของความหลากหลายสินค้าและไอเทมแฟชั่นต่างๆ ทั้งแบรนด์ไทยและแบรนด์ระดับโลก หว่า 80,000 รายการ รวมทัี้งมีระบบออกไลน์ที่สะดวกรวดเร็ว จึงสามารถตอบโจทย์ผู้บริโภคได้ครอบลคลุมทังภูมิภาคนี้
เมื่อรวมกับความน่าเชื่อถือของ "กลุ่มเซ็นทรัล" จึงคาดว่าจะก่อให้เกิดการจับจ่ายใช้สอยแบบไร้รอบต่อระหว่างออนไลน์และออฟไลน์ และทำให้กลุ่มเซ็นทรับเข้ถึงฐานข้อมุลลูกค้าออนไลน์และฐานข้อมูลของซัพพลายเออร์ได้มากขึ้น ขณะเดี่ยวกัยมุ่งหวังว่าจะทำให้ยอดขายของเซ็นทรัลออนไลน์เพ่ิมขึ้นเป็น 2 เท่า
"Alibaba" ควบรวมกิจการ "Lazada" รุกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นับเป็น เมกะ ดีล ที่สร้างแรงสั่นสะเทือนให้กับธุรกิจ อี-คอมเมิร์ซ ทั้งในไทย และทั่วโลกเลยที่เดียว ซึ่ง อาบีบาบา ยังใหญ่ อี-คอมเมิร์ซ ของจีน ทุ่มเงินกว่ พันล้านเหรียญสหรัฐ ซื้อกิจการ "ลาซาด้า" เพราะหลังจาก "อาลีบาบา" มีัฐานธุรกจแข็งแกร่งในจีนแล้ว สเตบต่อไป คือพุ่งทะยานสู่ตลาดต่างประเทศ และ "ตลาดเอเชียตะวันออกเฉึยงใต้" คือ หนึ่งในเป้าหมายสำคัญที่มักรรายนี้ต้การปักธง
การซื้อกิจกรธุรกิจออนไลน์ "ลาซาด้า" ที่แจ้งเกิดในภูมิภาคนี้ได้สำเร็จแล้ว ทำให้ "อาลีบาบา" ไม่ต้องเสียเวลาเร่ิมต้นจากศูนย์ และเป็น "ทางลัด" ที่จะรุกตลาดได้เร็วและแรงที่สุด...
"อาลีบาบา" ควง "กลุ่มซีพี" รุกการเงนิดิจทัลเอเชีย
เป็นปรากฎการณืความร่วมมือครั้งใหญ่แห่งปีก็ว่าได้ เมื่อ "บริษัท แอนท์ ไฟแนนเชียล เซอร์วิสเซส กรุ๊ป" ผุ้ให้บริการทางการเงินดิจิทัล "Alipay" ในเครือ "อลีบาบา กรุ๊ป" ประกาศความร่วมมือกับ "บริษัท แอสเซนด์ มันนี้" ในเครื่อเจริญโภคภัฒฑ์ ให้บริการธุรกิจเทคโนโบยีทางการเิงน ทั้งในไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภายใต้ชื่อ "ทรู มันนี้" บริการทางการเงินดิจิทัล แะล "แอสเซนด์ มันนี่" ธุรกิจเงินกู้รายย่อย
การจับมือกันครั้งนี้ "แอนท์ ไฟแนนเชียล" จะเข้ามถือหุ้นในสัดส่วน 20% "แอสเซนด์ มันนี" และมีโอกาสเพิ่เป็น 30% ในปี 2561 โดยทั้งสองฝ่ายต่างมองว่าจะช่วยเสริมความแข็งแกร่งซึ่งกันและกัน เพ่อสานฝันของตนเองให้เป็นจริง....
ตำนานบทใหม่ "บิ๊กซี" ภายใต้ชายคา "กลุ่มเจ้าสัวเจริญ"
หลังจาก "คาสิโน กรุ๊ป" ผุถือหุ้นรายใหญ่ของ "บิ๊กซี" ในประเทศไทย ประกาศขายหุ้น ก้มีข่าวมาเป็นระยะๆ ยนับเนื่องตั้งแต่ปี 2558 ว่ากลุ่มทุนใดจะเป็นผุ้คว้า "บิ๊กซี" ในไทยไปครอง กระทั่งเมื่อต้นปี 2559 ในที่สุดผุ้ที่ได้ไป คือ "บริษัท แบอร์ลียุคเกอ์ จำกัด (มหาชน)" หรือ "BJC" เป็นผุ้ถือห้นใหญ่ (บริษัทในเครือง "ทีซีซี กรุ๊ป" ของเจ้าสัวเจริญ สิริวัฒนภักดี) โดยถืหุ้นในามสองบริษัทย่อยของ BJC คือ "บริษัท บิเจซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ จำกัด" และบริษัท สัมพันธ์เสมอ จำกัด"
ขณะที่ต่อมากลุ่มเซ็นทรัล ซึ่งถือหุ้นในบิ๊กซีในไทย สัดส่วน 25% ได้ขายหุ้นที่มีอยู่ให้กับกลุ่มเจ้าสั่วเจริญ จากนั้นกลุ่มเซ็นทรัล ได้ร่วมกับกลุ่มเหงียนคิม พันธมิตรธุรกิจในเวียดนา เข้าื้อกิจการบิ๊กซี ประเทศเวียดนาม
การได้บิ๊กซีในไทย ค้าปลีกในเซ็กเมนต์ดิสเคาน์สโตร์มาครอบครองได้สำเร็จ เป็นการต่อจิ๊กซอรว์ใหย๋ของ "ธุรกิจปลายน้ำ" ในเครือทีซีซี กรุ๊ปที่ต้องการสร้างอาณาจักรให้มีความครบวงจรและครอบคลุมตั้งแต่ "ต้นน้ำ" คือ การผลติ - "กลางน้ำ" คือการจัดจำหน่าย และ "ปลายน้ำ" คือ ธุรกิจค้าปลีก ที่ผลักดันให้สินค้าและบริากต่างๆ ในเครือเข้าถึงผุ้บริโภคมากที่สุด...
"เครือโรงพยาบาบกรุงเทพ" ฮุบ "ปาร์คนายเลิส" สร้างศุนย์สุขภาพครอบวงจร
อีกหนึงดีลใหญ่ที่ช็อกวงการธุรกิจ และคนทั่วไปไม่น้อย เมื่อ "บริษัทกรุงเพทดุสิตเวชการจำกัด (มหาชน)"หรือคุ้นเคยกันในนาม "เครือโรงพยาบายกรุงเทพ" ของน.พ. ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ ได้ให้บริษัทย่อย เช่าญื้อที่ดินบริเวณโครงการปาร์คนายเลิศกว่า 15 ไร่ จากที่ดินทั้งหมดเกือบ 40 ไร่ พร้อมสิ่งปลูกสร้าง(ไม่นับรวมบ้านปาร์คนายเลิศ และสวน ที่ปัจจุบันเป็นพิพิธภัฒฑ์ปาร์คนายเลิส ยังคงเป็นมรดกของตระกูลสมบัติศิริ) ด้วยมูลค่า 10,800 ล้านบาท เพื่อพัฒนาเป็น BDMS Wwllness Clinic" โครงการศูนย์สุขภาพครบวงจร รวมทั้งให้บริการด้านเวชศาสตร์ชะลอวัย และฟื้นฟุสุขภาพแบบครอบวงจรรายแรกในภูมิภาคเอเชีย...
"กลุ่มเจ้าสัวเจริญ" ต่อลมหายใจ "กลุ่มอมรินทร์"
ภาวะประกอบการขาดทุนจาการดำเนินงานในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาของ "บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งงแอนด์ พบลิชชิง จำกัด (มหาชน)" เจ้าของสื่อสิ่งพิมพ์ ธุรกิจจ New Media-Event และธุรกิจทีวีดิจิทัล อัมรินทร์ ทีวี ส่งผลกระทบต่อสภาพคล่องทางการเงินที่ใช้เป็เวินทุนหมุนเวียนในกาดำเนินธุรกิจ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องใช้เงินทุน โดยเฉพาะการเอาไปลงทุนเพ่ิมเติมในธุรกิจทีวีดิจิทัลที่อยู่ในช่วงของการเริ่มต้นธุรกิจซึ่งมีต้นทุนการดำเนินการที่สูง
ด้วยเหตุนี้ "กลุ่มอมรินทร์" ตัดสินใจเพิ่มทุนและขายหุ้นใหักับ "บริษัท วัฒนภักดี จำกัด" จำนวน 200 ล้านหุ้น รวมมูลค่า 850 ล้านบาท ซึ่งบริษัทดังกล่วมี "ฐาปน สิริวัฒนภักดี" และปณต สิริรวัฒนภักดี" เป็นผุ้ถือหุ้นใหญ่ ทำให้ "บริษัท วัฒนภักดี จำกัด" กลายเป็นผุ้ถือหุ้นใหญ่ของ บมจ. อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง ในสัดส่วน 47.62% โดย "กลุ่มอมรินทร์" มีแผนการใช้เงินที่ได้จากการเพ่ิมทุนนี้ ภายในต้นปี 2561 เืพ่อให้ธุรกิจสามารถดำเนินต่อไปได้
ขณะเดียวกันในภาวะอุตสาหกรรมธุรกิจทีวีดิจิทัลมีการแข่งขันสูง "กลุ่มอมรินทร์" มองว่าการมีพันธมิตรทางธุรกิจที่มีความพร้อมในด้านเงินทุนและมีความเชี่ยวชาญในการดำเนินธุรกิจ รวมถึงมีสถานะทางการเงินและสายสัมพันธ์ทีดีกับกลุ่มธุรกิจที่หลากหลาย จะทำให้บริษัทฯ ได้รับเงินตามจำนวนที่ต้องการ และช่วยเพ่ิมความเชื่อมั่นในการดำเนินธุรกิจ...www.brandbuffet.in.th/2017/01/mega-deal-2016/
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...