วันพฤหัสบดีที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560

Royal Cremation Ceremony

              พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ
              ประวัติศาสตร์ชาติไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัย พระมหากษัตริย์นอกจากจะทรงเป็นผุ้นำในการก่อตั้งพระราชอาณาจักรแล้ว ยังทรงทำนุบำรุงสร้างศิลวัฒนธรรม และระเบียบประเพณีต่างๆ ในการดำรงชีวิตให้เป็นมรดกของชาติสืบทอดมา หลักฐานที่กล่าวถึงการจัดพระราชพิธีพระบรมศพที่เก่าแก่ที่สุดปรากฎอยุ่ในหนังสือไตรภูมิกถา หรือไตรภูมิพระร่วง
               การจัดพิธี พระบรมศพ นับตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้น ไม่ปรากฎหลักฐานเรื่องการ พระบรมศพ เช่นเดียวกับสมัยรุปแบบของอยุธยาตอนกลาง ในพระราชพงศาวดาร กล่าวถึงเฉพาะลักษณะพระเมรุ มิได้กล่าวถึงรายละเอียดพระราชพิธี ต่อมาในสมัียอยุธยา ตอนปลายปรากฎหลักฐานในจุดหมายเหตุพระบรมศพ สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ พรรณนาเฉพาะการถวายพระเพลิง และการแห่พระบรมอัฐิและพระบรมราชสรีรางคารไปประดิษฐาน ณ พระอารามหลวง และงานพระบรมศพสมเด็จเจ้าฟ้าสุตาวดี กรมหลวงโยธาเทพ พระราชธิดาสมเด็จนารายณ์มหาราชา พรรณนารายละเดียวการพระราชพิธีกพระบรมศพไว้ คค่อนข้างละเอียด
               พระมหากษัตริย์ผุ้ทรงทศพิธราชธรรมมีพระมหากรุณาธิคุณอย่างใหญ่หลวงต่อชาติและประชาชน ชาวไทย ทรงได้รับการเทิดทูนเสมอด้วยสมมติเทพ ตามคติพราหมษ์เมื่อเสด็จพระราชสมภพ ถือเป็นเทพ อวตาร คือ เทวดาจุติลงมาอุบันบนโลกมนุษย์ ครั้งเมื่อ เสด็จสวรรคตจึงถือเป็นการเสด็จกลับสู่สวรรค์ อันเกี่ยวเนื่องกลับพระบรมศพจึงถือเป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้น เพ่อเฉลิมพระเกี่ยรติอย่างสูงสุด
             
การพระราชพิธีพระบรศพของพระมหากษัตริย์ ในสมัยรัตนโกสินทร์เป็นโบราณราชประเพณีที่มีแบบแผน ธรรมเนียมมาแต่ครั้งสมัยอยุธยาตอนปลาย มีความสำคัญ ทัดเทียมกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษก แม้ว่าจะมีการปรับ เปลี่ยนในรายละเอดียดปลีกย่อยของพระราชพิธีต่างๆ อยู่บ้าง ตามยุคสมัยและสภาวะของสังคม แต่ยังคงยึดถือคติตามที่กล่าว ในไตรภูมิกถาอยู่อย่างมั่นคง มีการประดิษฐานพระบรมศพ บนพระเมรุมาศซึ่งเปรียบเสมือนเขาพระสุเมรุล้อมรอบ ด้วยเขาสัตตบริภัณฑ์เพื่อเป็นการส่งดวงพระวิญญาณ กลับสู่สรวงสวรรค์อันเป็นที่สถิตของเทพยดาทั้งหลาย มีการประกอบพระราชพิธีอย่างยิ่งใหญ่อลังการเริ่มตั้งแต่การ สรงน้ำพระบรมศพการเชิญพระบรมศพประดิษฐานในพระบรมโกศ การบำเพ็ญพระราชกุศล การเชิญพระบรมศฑจากพระบรมมหาราชวังมาประดิษฐาน ณ พระเมรุมาศท้องสรามหลวง การถวายพระเพลิงพระบรมศพการเชิญพระบรมอัฐิและพระบรมราชสรีรางคารกลัยสู่พระบรมมหาราชวัง ลำดับพระราชพิธี เหล่านี้มีแบบแผนทำเนียมปฏิบัติสืบทอดมาแต่โบราณ และการเตรียมการต้องใช้เวลานานหลายเดือน
             หลังจากเชิญพระบรมโกศขึ้นปะดิษฐานบน พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทแล้วจึงจัดให้มีการพระราชพิธีบำเพ็ยพระราชกุศลเป็นประจำทุกวัน และพระราชพิธี บำเพ็ญพระราชกุศล ครบ 7 วัน (สัตตมวาร) ครบ 15 วัน (ปัณรสมวาร) ครบ 50 วัน (ปัญญาสมวาร) และครบ 100 วัน (สตมวาร) การบำเพ็ยพระราชกุศล ณ พระที่นั่งดุสิตมหา ปราสาทภายใน พระบรมมหาราชวังในแต่ละวัน จะมีัพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จมาบำเพ็ยพระกุศล จนครบ 100 วัน แตะละวันมีการสวดพระอภิธรรมโดยพระพะธีธรรมจาก พระอารามหลวง 10 แห่งได้แก่ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ วัดประยูรวงศาวาสวัดอนงคาราม วัดราชสิทธาราม และวัดบวรนิเวศวิหาร โดยสัป
เปลี่ยนหมุนเวียนกันไป พระพิธีธรรมแต่ละพระอารามจะใช้ทำนองสวดแตกต่างกัน ปัจจุบันมี 4 ทำนอง คือทำนองกะ ทำนองเลือน ทำนอง ลากซุง และทำนองสรภัญญะ นอกจากนี้ยังมีการประโคมยำยามในงานพระบรมศพ หรือพระศพ ซึ่งเป็นราชประเพณีโบราณ เพื่อเป็นสัญญาณ ให้ข้าราชการรู้กำหนดเวลาในการปโิบัติหน้าที่ การประโคม ย่ำยามนนี้ใช้ในงานที่พระบรมศพและพระศพพระราชวงศ์ ขุนนางผุ้ให่ แต่เดิมดนตรีที่ใช้ประโคมย่ำยามมีเฉพาะ วงแตรสังข์ และวงปีโฉน กลองชนะ โดยกำหนดประโคม ย่ำยามทุกสามชั่วโมงคือเวลา 06.00 น. -12.00 น.  18.00 น. -21.00 น. และ 24.00 น. การประโคมนี้จะทำทุกวันจน ครบกำหนดไว้ทุกข์ 100 วัน 2 เดือน 1 เดือน 15 วัน 7 วัน ตามพระเกียรติยศพระบรมศพ หรือ พระศพ การประโคมย่ำ ยามพระบรมศพพระมหากษัตริย์ เครื่องประดคมจะประกอบด้วยมโหระทึก-สังข์-แตรงาน-เปิง-และกอลงชนะ-หากเป็นพระศพ ไม่มีมโหระทึก
             เมื่อถึงกาลอันควรคือสร้างพระเมรุมาศ หรือพระเมรุ ที่ท้องสนามหลวงเสร็จพร้อมที่จะถวายพระเพลิงได้ จะเชิญพระบรมศพพระศพจากพระบรมมหาราชวังไปยังท้องสนามหลวงเพื่อถวายพระเพลิง ณ พระเมรุมาศซึ่งสร้างเป็น พิเศษดังกล่าวแล้ว เรียกว่า "งานออกพระเมรุ"
             การเชิญพระบรมศพ พระศพ สู่พระโกศ การบำเพ็ญพระราชกุศล ตลอดจนการสร้างพระเมรุมาศ พระเมรุ ณท้องสนามหลวง การเคลื่อนพระบรมศพ พระศพจากพระบรมมหาราชวังสู่พระเมรุที่ท้องสนามหลวง การตกแต่งพระจิตการธาน การเชิญพระบรมอัฐิ พระอั๙ิ พระบรมราชสรีรางคาร และพระสรีรางคารกลับเข้าสู่พระบรม มหาราชวังล้วนมีแบบแผนกำหนดไว้เป็นแนวทางให้ปฏิบติ ขึ้นตอนพระราชพิธีในแต่ละขั้นตอนดังกล่าวต้องใช้ เวลาเตรียมการเป็นแรมเดือนนับตั้งแต่การสร้างพระเมรุมาศ หรือพระเมรุ การดูแลและตกแต่งราชรถ ราชยาน คานหาม สำหรับเชิญพระโกศพระบรมศพ พระศพ พระบรมอัฐิ พระอัฐิ ตลอดทั้งเครื่องประอบอื่นๆ ในการออกพระเมรุ เช่ พระโกศไม้จันทน์ เครืองพินไม้จันทน์ พระโกศบรรจุพระบรมอัฐิ พระอัฐิ ผอบบรรจุพระสรรางคาร หรือ พระราชสรีรางคาร ทั้งนี้ไม่รวมเครื่องสดที่ประดับพระเมรุมาศ และงานแทงหยวกเป็นลวดลายประดับพระจิตกาธาน ซึ่งต้องทำให้แล้วเสร็จก่อนการถวายพระเพลิงเพียงไม่กี่ชั่วโมง
          นอกจากนั้น ยังต้องมีการซ้อมริ้วขบวนในแต่ละจุด แต่ละพิธีการด้วย ตามโบราณราชประเพณีพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพ หรือเรียกว่า "งานออกพระเมรุ" มีขั้นตอน การปฎิบัติที่ถูกกำหนดไว้อย่างมีแบบแผน การเตรียม การแต่ละขั้นตอนใช้เวลาหลายเกือนหรือนานนับปี เพื่อให้สง่างามสมพระเกียรติ โดยเฉพาะศูนย์กลางของพระราชพิธีถวายพระเพลิงคือการก่อสร้างพระเมรุมาศ และเครื่องประกอบอื่นๆ ในการออกพระเมรุต้องมีการออกแบบให้ เหมาะสม
           จากนั้นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไป ถวายพระเพลิงในช่วงเย็น วันรุ่งขึ้นอัญเชิญพระโกศพระบรม อัฐิประกิษฐานบนรพะที่นั่งราเชนทรยานและพระบรมราชสรีรางคารดารประดิษญานบนพระที่ยั่งราเชนยานน้อย ยาตราด้วยกระบวนพระบรมราชอิสริยยศจากพระเมรุมาศ ไปประดิษฐานในพระบรมมหาราชวัง
            การสร้าง "พระเมรุมาศ" จะมีขนาดและแบบงดงาม วิจิตรแตกต่างกันตามยุคสมัยและตามความบันดาลใจ ของข่างที่มีปรัชฐญาในการออกแบบว่าเป็นพระเมรุของ กษัตริย์ นักรบ หรือฝ่ายสตรี ซึ่งจะระกอบขึ้นเป็นพระเมรุมาศและปริมณฑล โดยยึดคติโบราณที่สืบทอดกันม สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ทรงสันนิษฐานคติการสร้างพระเมรุมาศ หรือพระเมรุว่า ได้ชื่อมาจากการปลูกสร้างปราสาทอันสูงใหญ่ท่ามกลางปราสาทน้อยที่สร้างขึ้นตามมุมทิศ มีโขลนทวาร (โคปุระ) ชักระเบียบเชื่อมถึงกัน ปักราชวัติ เป็นชั้นๆ ลักษณะหมือนเขาพระสุเมรุตั้งอยู่ท่ามกลางมีเขา สัตบริภัฒฑ์ล้อม จึงเรียกเลี่ยนชื่อว่า "พระเมรุ" ภายหลังทำ ย่อลง แม้ไม่มีอะไรล้อม เหลือแค่ยอดแหลมๆ ก็ยังคงเรียก เมรุ

           แผนผังพระเมรุมาศเป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส  พระเมรุมาศอยู่กลาง แวดล้อมด้วยอาคารรายรอบเป็นปริมณฑลประดุจโบสถ์หรือวิหารซึ่งมีระเบียงล้อมรอบ คือ ทับเกษตร เป็นที่พักก ช่างหรือสำส้าง คือมุมคด ของทับเกษตร ทั้ง 4 มุม เป็นที่พระสวดพระอภิธรรม ตรงข้ามพระเมรุมาศจะเป็นพระที่นั่งทรงธรรมสำหรับ พระมหากษัตริย์ประทับในการถวายพระเพลิง บริเวณองค์พระเมรุมาศจะประดับตกแต่งด้วยราชวัติฉัตรธง เสา ดอกไม้พุ่ม สรรพสัตว์ตกแต่งใหเประดุจเขาพระสุเมรุราชในเรื่องไตรภูมิ กล่าวกัน่าในสมัยโบราณพระเมรุ มีขนาดสูงใหญ่โอฬารมาก เช่น พระเมรุมาศของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชในสมัยอยุธยา
            การถวายพระเพลิง หรือ "ออกพระเมรุ" ในสมัยโบราณจะทำเป็นงานใหญ่แล้วแต่กำหนดตั้งแต่ 3 วัน 5 วัน 9 วัน ถึง 15 วัน สุดแต่สะดวก ซึ่งในปัจจุบันพระราชพิธีจะมีขอบเขต คือ
            พิธีสามหาบตามหลักพระพุทธศาสนาแล้วเชิญ พระบรมอัฐิ พระอัฐิ ด้วยขบวนพระบรมราชอิสริยยศ พระอิสริยยศสมโภชภายในพระบรมมหราชวัง พระบรมอัฐิ พระอัฐิบรรจุในพระโกศทองคำ แล้วประดิษฐานไว้บนพระมหาปราสาท จัดให้มีการบำเพ็ญพระราชกุศล ส่วนพระบรมราชสรีรางคารพระสรรีรางคารจะนำไปประดิษฐาน ไว้ยังพุทธสถาน พระอารามหลวงตามราชประเพณี
              ศิลาหน้าเพลิง คือ หินเหล็กไฟ ที่ใช้เหล็กสับกับหินให้เกิดประกายไฟ โดยมีดินปะทุเป็นเชื้อให้ติดไฟง่าย แล้วทรงจุดเที่ยนพระราชทานแก่เจ้า
              พนักงาน หากแต่การใช้หินเหล็ไฟไม่สะดวก ในสมัยต่อมาพระมหากษัตริย์จึงทรงใช้พระแว่นสูรยกานต์ส่องกับแสงอาทิตย์ให้เกิดไฟ แล้วจึงนำเอาเพลิงนั้นจุดถวายพระเพลิงพระบรมศพหรือพระศพสันนิษฐานว่า การจุดเพลิงด้วยวิธีการดังกล่าวเป็นวิะีเดียวกับการจุดเพลิงไฟฟ้าเพื่อถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศที่ปรากฎในคำให้การขุนหลวงหาวัด ซึ่งธรรมเนียมดังกล่าวยังปฏิบัติสืบมในการถวายพระเพลิงเจ้านาย ดังในคราวถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทรบรมราชชนนีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงส่องพลังความรอยจากแสงอาทิตย์ด้วยพระแว่นสูรยกานต์แล้วให้เจ้าพนักงานตั้งแต่มณฑปสำหรับเลี้ยงเพลิงไว้ แล้วเชิญมายงพระเมรุมาศ
          ในปัจจับทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นำไฟที่เกิดจากพระเว่นสุรยกานตืไปจุดเลี้ยงไว้ที่พระอุโบสถพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อมีผุ้มาขอไฟพระราชทานจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพนักงานสำนักพระราชวังเชิญ "ไฟหลวง" มาพระราชทานเพลิงศพผุ้นั้นต่อไป
         -รูปภาพจาก web.facebook.com/pirasri.povatong

             "รูปแบบและธรรมเนียม"ในการถวายพระเพลิงพระบรมศพ  การถวายพระเพลิงพระบรมศพ หรือการพระราชทานเพลิงพระศพนั้น ถือวาเป็นงานพระราชพิธีใหญ่ซึ่งมีะรรมเนียม และวิธีการปฎิบัติที่ตรงตามตำราดังที่ราชสำนักสืบทอดกันมา แต่เมื่อมาถึงยุคปัจจุบันั้นการถวายพระเพลิงพระบรมศพได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบเพ่ิมมากขึ้น สืบเนื่องมาจากยุคสมัยที่เปลี่ยนไปโดยในปัจจุบันนั้นในราชสำนักมีรูปแบบของการถวายพระเพลิงพระบรมศพอยู่ทั้งหมด 4 รูปแบบดังภาพ
            ภาพที่ 1. การสุมเพลิงพระบรมศพบนพระจิตกาธาน (กรณีที่พรบรมศพอยู่ในพระบรมโกศ) การสุมเพลิงรุปแบบนี้เป็นแบบโบราณราชประเพณีที่สืบทอดกันมาตั้งแต่ครั้งกรุงเก่า แต่ในปัจจุบันันี้ไม่พบว่ามีการถวายพระเพลิงพระศพบนพระจิตกาธานอีกแล้วเนื่องจากควบคุมเพลิงได้ยากเจ้าพนักงานจะต้องอยฉีดน้ำและควบคุมทิศทางลมอยู่ตลอดเวลาประกอบกับปัจจุบันมีการนำเตาเผาสมัยใหม่เข้ามาใช้ทดแทน ดังภาพจะห็นว่ามีเปลวเพลิงลุกไหม้อยู่ตลอดเวลา โดยเกิดจากการสุมเชื้อเพลิงด้านล่างของพระจิตกาธาน จากภาพคืองานถวายพระเพลิงพระบรมศพ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชนีในรัชกาลที่ 7 ในปี พ.ศ.2528
           ภาพที่ 2 การสุมเพลิงพระบรมศพบนพระจิตกาธาน (กรณีพระบรมศพอยู่ในหีบ) ในรูปแบบนี้เป็นราชประเพณีที่ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน จนกระทั่งปี พ.ศ. 2539 ในงานถวายพระเพลิงบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนรี หรือสมเด็จย่า เนื่องจากพระบรมศพของพระองค์ประดิษฐานอยู่ในหีบ ทางสำนักพระราชวังจึงทำการตั้งหีบพระบรมศพบนพระจิตกาธานแล้วนำพระบรมโกศ (โกศเปล่า) วางบนหีบพระบรมศพอีกชั้นหนึ่งดังภาพประกอบ ในคราวนั้นสมเด็นพระเจ้าอยุ่หัวมหาวชิราลงกรณ์ฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ และสมเด็จเจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณ์ฯ หลังจากที่ผุ้มาร่วมงานกลับกันหมดแล้วทั้งสามพระองค์เสด็จพระราชดำเนินขึ้นไปยังพระเมรุมาศเพื่อควบคุมการถวายพระเพลิงด้วยพระองค์เอง
         ภาพที่ 3 การสุมเพลิงพระศพในเตาไฟฟ้า (กรณีพระศพอยู่ในหีบ) ในรูปแบบนี้ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนเช่นกันจนถึงงนพระรชทานเลิพงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ ในพระจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9  ซึงมีกระบวนการต่างๆ คล้ายกับงานพระบรมศพของสมเด็จย่า แต่จะแตกต่างกันตรงที่ได้อัญเชิญหีบทรงพระศพลงจากพระจิตกาธาน เข้าไปพระราชทานเพลิงในเตาเผาไฟฟ้าที่อยู่ทางทิศตะวันตกของเมรุแทน จากภาพคือเตาไฟฟ้าสมัยใหม่ในงานพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ
        ภาพที่ 4 การสุมเพลิงพระศพในเตาไฟฟ้า (กรณีพระศพอยู่ในพระโกศ) ในรูปแบบนี้ก็ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนอีกเช่น กน จนถึงปี พ.ศ. 2555 ในงานพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงเพชรรัตนราชสุดาฯ ลูกเธอในพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 ที่พระศพของพระอค์ประดิษฐานอยู่ในพระโกศตามโบราณราชประเพณี แต่เมื่อถึงเวลาพระราชทานเพลิงพระศพจริงนั้น เจ้าพนักงานได้อัญเชิญพระโกศลงจากพระจิตกาธานเพื่อไปพระราชทานเพลิงยังเตาไฟฟ้าที่อยู่ทางทิศตะวันตกแทน ดังจะเห้นในภาพที่ขนาดของเตาไฟฟ้านั้นมีขนาดใหญ่ และสูงกว่าปกติ เพื่อที่สามารถอัญเชิญพระโกศเข้าไปภายในเตาไฟฟ้าได้ (จิตกาธาน คือ เชิงตะกอนหรือฐานที่ทำขึ้นสำหรับเผาศพ)
           พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช  เป็นพระราชพิธีที่รัฐบาลไทยจัดขึ้นเพื่อแสดงความอาลัยเป็นครั้งสุดท้าย ภายหลังการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จัดขึ้น ณ พระเมรุมาศ มณฑ,พิธีท้องสนามหลวง ระหว่างวันที่ 25-29 ตุลาคม พงศ. 2560 โดยวันที่ 26 ตุลาคม พงศ. 2560 เป้นวันถวายพระเพลิง คณะรัฐมนตรี จึงกำหนดให้เป็นวัหยุดราชการเป็นกรณีพิเศษ
                สำหรับการดำเนินการพระราชพิธีฯ นั้นคณะทำงานทุกฝ่ายได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง มีการสร้างพระเมรุมาศและอาคารประกอบ เข่น พระที่นั่งทรงธรรม ศาลาลูกขุน เป็นต้น สวนการบูรณปฏิสังขรณราชรถ ราชยาน และเครื่องประกอบพระราชพิธีนั้น ได้มีการซ่อมแซมพระมหาพิชัยราชรถ ราชยานขึ้นมาใหม่ คือ ราชรถปืนใหญ่และพระที่นังราเชนทรยานน้อย รวมทั้งประติมากรมประกอบพระเมรุมาศในพระราชพิธีคร้งนี้ได้มีการปรับปรุงให้มีความร่วมสมัย คาดการณ์ว่าการจัดสร้างพระเมรุมาศจะแล้วเสร็จประมาณเดือนกันยายน พ.ศ. 2560 โดยมีสมเด็นพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์วินิฉัยในกรจัดสร้างพระเมรุมาศ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานอำนวยการพระราชพิธี    
              พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ เร่ิมเตรียมการตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 เรื่อยมา มีการสร้างพระเมรุมาศ และอาคารประกอบการบูรณปฏิสังขรณ์พระมหาพิชัยราชรถ ราชยาน และเครื่องประกอบพระราชพิธี รวมถึงการเตรียมงานมหรสพในงานออกพระเมรุมาศ
             คณะรัฐมนตรีรับทราบมติที่คณะอนุกรรมการฯฝ่ายจัดการพระราชพิธีฯกำหนดวันพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ในระหว่างวันที่ 25-29 ตุลาคม พ.ศ.2560 พร้อมทั้งพิจาราหมายกำหนดการพระราชพิธีฯ และกำหนดจำนวนริ้วขบวนพระบรมราชอิสริยยศไว้เป็นที่เรียบร้อย โดยมีพระราชพิธีสำคัญได้แก่ พระราชพิธีเชิญพระบรมโกศออกพระเมรุมาศ และถวายพระเพลิงพระบรมศพ ในวันที่ 26 ตุลาคม ซึ่งคณะรัฐมนตรี กำหนดให้เป็นวันหยุดราชการเป็นกรณีพิเศษด้วย, พระราชพิธีเก็บพระบรมอัฐิและเชิญพระบรมอัฐิและพระบรมราชสรีรางคารกลับเข้าสู่พระบรมมหาราชวัง ในวันที่ 28 ตุลาคม, พระราชพิธีเชิญพระบรมอัฐิขึ้นประดิษฐาน ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และพระราชพิธีบรรจุพระบรมราชสรีรางคาร ในวันที่ 29 ตุลาคม
            วันพุธที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2560 
                 - 15.00 น. ถวายพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลออกพระเมรุ ณ พระที่นั่งดุสิตมหา
ปราสาท
              แต่งกายเต็มยศ มหาจักรีบรมราชวงศ์ และมงกุฎไทย ไว้ทุกข์
             วันพฤหัสบดีที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 (คณะรัฐมนตรีกำหนดให้เป็นวันหยุดราชการเป็นกรณีพิเศษอีกด้วย)
                  - 07.00 น. พระราชพิธีเชิญพระบรมโกศออกพระเมรุมาศจากพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง ไปยังวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม โดยริ้วขบวนที่ 1
                  - 07.30 น. เชิญพระบรมโกศจากวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ไปยังพระเมรุมาศ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง โดยริ้วขบวนที่ 2 
                  - 08.30 น. เชิญพระบรมโกศเวียนพระเมรุมาศโดยอุตราวัฎ 3 รอบ แล้วอัญเชิญพระบรมโกศประดิษฐานบนพระเมรุมาสโดยริ้วขบวนที่ 3 
                  - 16.30 น. พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ (พระราชพิธีทางการ) 
                      แต่งกายเต็มยสศ มหาจักรีบรมราชวงศ์ และช้างเผือก ไว้ทุกข์
                  - 22.30 พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ (พระราชพิธีจริง) 
                      แต่งกายปกติขาว ไว้ทุกข์
                วันศุกร์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2560
                   - 08.00 น. พระราชพิธีเก็บพระบรมอัฐิ ณ พระเมรุมาศท้องสนามหลวง
                   - 11.00 น. เชิญพระบรมอัฐิ ออกพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท จากพระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง ไปยังพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาาชวัง โดยริ้วขบวนที่ 4 
                   - 12.00 น. เชิญพระบรมอัฐิ เข้าสู่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ประดิษฐานบนแว่นฟ้าทองด้านทิศเหนือ และเชิญพระผอบพระบรมราชสรีรางคารไปยัง พระศรีรัตนเจดีย์ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
                         แต่งกายเต็มยศ ปฐมจุลจอมเกล้า และ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ ไว้ทุกข์
                วันเสาร์ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2560 
                    - เวลา 17.30 น. พระราชพิธีทรงบำเพ็ยพระราชกุศลพระบรมอัฐิ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
                         แต่งกายเต็มยศ มหาจักรีบรมราชวงศ์ และ ช้างเผือก ไว้ทุกข์
                วันอาทิตย์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2560
                    - 10.30 น. พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเลี้ยงพระ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
                    - 12.00 น. เชิญพระอัฐิออกพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทจากพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ไปยังพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทจากพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ไปยังพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง โดยริ้วขบวนที่ 5 
                    - 12.05 น. เชิญพระอัฐิเข้าสู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทประดิษฐานบนพระที่นั่งมุลสถานบรมอาสน์ ด้านทิศตะวันออก
                           แต่งกายเต็มยส ปฐมจุลจอมเกล้า และปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ ไว้ทุกข์
                    - 17.30 น. พระราชพิธีเชิญพระบรมราชสรีรางคารไปบรรจุ ณ วัดราชบพิธมหาสีมาราม และ วัด บวรนิเวศวิหาร โดยริ้วขบวนที่ 6  
                           แต่งกายเต็มยศ ปฐมจุลจอมเกล้า และปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ ไว้ทุกข์
            การแสดงมหรสพจะยึดตามธรรมเนียมปฏิบัติและโบราณราชประเพณีของพระมหากษัตริย์ สำหรับครั้งนี้เวทีโขนและหนังใหญ่ตั้งอยุ่ทางด้านทิศเหนือของท้องสรามหลวง เวทีละครทั้งหมดจะตั้งอยุ่ทางทิศตะวัออก และเวทีดนตรีสากลตั้งอยุ่ทางทิศตะวันตก ส่วนพระเมรุมาศซึ่งเป็นประธานในมณฑลพิธีตั้งอยู่ทางทิศใต้ เนื่องจากการจัดสร้างพระเมรุมาศและอาคารประกอบครั้งนี้ใช้พื้นที่ที่เป็นจำนวนมาก
             เวทีมหารสพทั้ง 3 เวที จะมีขนาดใหญ่กว่างานพระบรมศพ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชนนี, งานพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิสวาสราชนครินทร์, สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุด สิริโสภาพัฒณวดี และสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรนายก โดยจะประสานสำนักสถาปัตยกรรม กรมศิปลากร เพื่อกำหนดจุดสร้างเวทีอย่างชัดเจนอีกครั้ง ส่วนแบบโรงมหรสพโครงสร้างจอโขนและหนังใหญ่ ผุ้ทรงคุณวุฒิศิลปกรรมได้ออกแบบเสร็จแล้ว โดยส่วนนี้จะเป็นการแสดงนอกมณพลพิธี ส่วนการแสดงหน้าพระเมรุมาศจะเป้นการแสดงโขนชุดใหญ่ ตอนยกรบ และระบำอู่ทอง ซึ่งใช้นักแสดงเป็นจำนวนมาก
          การแสดงมหรสพสมโภชในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ บริเวณท้องสนามหลวงฝั่งทิศเหนือประกอบด้วยการแสดงโขนหน้าไฟหน้าพระเมรุมาศ เรื่องรามเกียรติ์ ชุดพระรามข้ามสมุทร, ยกรบ, รำลึกในพระมหากรุณา และระบำอู่ทอง ส่วนการแสดงมหรสพสมโภช ประกอบด้วยการแสดงหนังใหญ่ และโขนพระราชทาน ตอน รามาวตาร การแสดงละครหุ่นหลวงและหุ่นกระบอก และการบรรเลงดนตรีสากล "ธ คือ ดวงใจไทยทั่วหล้า" ล่าสุดได้จัดเตรียมผุ้แสดงทั้งใน่วยของสถาบันบัฒฑิตพัฒนศิลป์วิทยาลัยนาฎศิลป์ 12 แห่งทั่วประเทศ ประกอบด้วย ศิบปินแห่งชาติ ครูนาฎศิลป์ และนิสิต- นักศึกษา ทั้งหมดประมาณ 2.000 คน
           
โดยการแสดงโขนเบื้องต้นได้ประสารงานกับสำนักการสังคีต กรมศิปลากร ซึ่งมอบหมายให้ประเมษฐ์ บุณยะชัย ผุ้เชียวชาญด้านนาฎศิลป์ของสถาบันบัฒฑิตพัฒนศิลป์เป็นผุ้จัดทำบทโขนพระราชทานทุกตอนเพื่อกำหนดจำนวนผุ้แสดงด้านต่างๆ อาทิ ผุ้แสดงโขนพระราชทานทั้งตัวพระนาง เสนายักษ์ 18 มงกุฎ หนุมาน เสนาลิง สุครีพ ชมพูพาน ซึ่งนักแสดงบางส่วนเคยได้รับการคัดเลือกเป็นผู้แสดงโขนพระราชทานในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์          พระบรมราชินีสาถมาแล้ว ส่วนละครในเรื่องอิเหนา ตอนตัดดอกไม้ฉายกริช สถาบันบัฒฑิตพัฒนศิลป์จะเป็นผู้รับผิดชอบทั้งหมด นอกจากนี้ ยังมีผุ้แสดงละครนอก แสดงเรื่องมโนราห์ ผุ้แสดงบัลเลต์เรื่องมโนราห์ นักดนตรีสากล ส่วนนักดนตรีวงดนตรีไทยที่จะเข้าไปบรรเลงบรเวณพระเมรุมาศส่วนการแสดงหน้าพระเมรุมาศได้เตรียมผุ้สแดง แสดงโขนพระรามข้ามสมุทร,, ยกรบ, รำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และผู้แสดงระบำอู่ทอง ซึ่งจัดทำบทใหม่โดยใช้คุ่พระนางจำนวน 35 คู่ ถือว่าครั้งนี้ใช้ผุ้แสดงมากที่สุดเท่าที่สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์และวิทยาลัยนาฎศิลป์เคยจัดการแสดงมหรสพมา โดยขณะนี้ได้เริ่มทดสอบและคัดเลือกนักศึกษาเข้าเป็นผุ้รวมแสดงมหรสพสมโภช ทั้งโขน ละครใน ละครนอก หุ่นหลวง หุ่นกระ
บอก และมีการจัดทำสูจิบัตรผุ้แสดงแล้ว สำหรับการแสดงมหรสพสมโภชเป็นงานที่จัดขึ้นตามจากรีตประเพณีในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิพระบรมศพพระมหากษัตริย์ฉะนั้น ผุ้แสดงต้องมีทักษะความสามารถด้านนาฎศิลป์ และมีประสบการณ์การแสดงมาพอสมควร ซึ่งขณะนี้สถาบันวางผุ้แสดงแบล้วจากบทละครที่กำหนด ทั้งตัวพระ นาง ทหาร ระบำ แต่ละสถาบันทั้งครุและนักเรียนผุ้แสดงจะแยกกันซ้อมในที่ตั้ง เมื่อใกล้งานพระราชพิะีถวายพระเพลิงจะมีกำหนดการตรางซ้อมการแสดงร่วมกัน พร้อมดนตรีสด ผุ้เชียวชาญนาฎศิลป์ไทยและศิลปินแห่งชาติเป็นผุ้ควบคุม ซึ่งคาดว่าจะใช้ดรงละครวังหน้าฝึกซ้อมรวม การแสดงที่สนามหลวงจัดบนเวที มีการผุกโรแสดง ทั้งนี้การกำหนดวันซ้อมร่วมกนจะมีการแจ้งอีกครั้ง
             
           นอกจากนี้ สถาบันดนตรีกัลยาณีวัฒนา จะร่วมแสดงในเวทีดนตรีสากลด้วย ดดยจะมีวงดนตรี 7 วง ประกอบด้วยวงดนตรีสี่เหล่าทัพ วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ วงดนตรีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวงของสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา ทำการแสดงบทเพลงพระราชนิพนธ์ที่ไม่ซ้ำกัน ซึ่งในเบื้องตนจะมีนักศึกษาของสถาบันฯ และวงดุริยางค์เยาชนสถาบันดนตรีกัลยาณีวัฒนาจำนวนประมาณ 40 คน ที่มีความสามารถด้านขับร้องประสานเสรียงและเล่นดนตรีเข้าร่วมแสดงดนตรีในชุดดุจหยาดทิพย์ชโลมหล้า ร่วมกับวงดุริยางค์สากลของกรมศิลปากร สมชิกวง อ.ส.วันศุกร์ วงดนตรีสหายพัฒนา สถาบันบัฒฑิตพัฒนศิลป์ โรงเรียนราชินี และวงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ สำหรับบทเพลงที่นำมาบรรเลงจะเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ทั้งหมด ได้แก่ แผ่นดินของเรา, อเล็กซานเดอร์, ไร้จันทร์, ไร้เดือน
และ โนมูน นอกจากนี้ จะมีการแสดงบัลเลย์เรื่องมโนห์รา  หนึ่งในบทพระราชนิพนธ์ ซึ่งประกอบด้วย เพริง เนเธอร์ วอทท์, เดอะ ฮันเตอร์, คินาริ วอลท์, อะ เลิฟ สตอรี่, ภิรมย์รัก และ บลูเดย์ แล้วยังมีบทเพลงเทิดพระเกียรติที่ทางสถาบันฯ จะแสดง 2 เพลงคือ พระราชาผุ้ทรงะรรม และในหลวงของแผ่นดิน โดยนักร้องประสานเสียง 89 คน มีอาจารย์วานิช โปตะวณิช เป็นวาทยกร โดยหลังจากได้รับโน๊ตเพลงจากสำนักการสังคีต กรมศิลปากร แต่ละวงจะแยกกันฝึกซ้อมท้งนี้ ในเดือนกันยายน จะนัดฝึกรวมซ้อมใหญ่ ณ เวที จริง ก่อนวันประกอบพระ
ราชพิธีจริงวันที่ 26 ต.ค. นอกจากนี้ สถาบันฯ ยังได้รับมอบหมายให้จัดการแสดงดนตรีภายหลังพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพอีกด้วยดดยจะใช้วงดุริยางค์เยาวชนสถาบันดนตรีกัลยาณีวัฒนาทำการแสดงเพลงพระราชนิพนธ์ รวมถึงจะมีศิลปินรับเชิญจากต่างประเทศที่จะร่วมน้อมรำลึกถึงพระองค์ท่านด้วย และตลอดทั้งปีสถาบันตนตรีกัลยานิวัฒนาจะจัดกิจกรรมน้ำมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และอัญเชิญบทเพลงพระราชนิพนธ์มาแสดงทุกครั้ง
            เวทีตนตรีสากลในงานในงานมหรสพครั้งนี้ดนตรีทั้ง 7 วง จะแสดงบทเพลงพระราชนิพนธ์จำนวน 44 บทเพลง เริ่มการแสดงวงแรกตั้งแต่ 23.00 น. ของวันที่ี่ 26 ตุลาคม ต่อเนื่องถึงเวลา 06.00 น. วันที่ 27 ตุลาคมดดยงงของสถาบันกัลยาณิวัฒนาจะเปิดการแสดงเป็นวงแรก ตามด้วยวงดนตรีสี่เหล่าทัพ วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ ปิดท้ายด้วยวงดนตรีจุฬาลงกณ์มหาวิทยาลัย  โดยมีกรมศิปากรควบคุมตลอดการแสดงth.wikipedia.org/wiki/พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
    - ภาพจาก https://web.facebook.com/ArmyNews2017/
           

           

วันพุธที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2560

Royal Crematorium

           
พระเมรุมาศ ศูนย์รวมแห่งศาสตร์และศิลป์ทุกแขนงในการถวายพระเกียรติยศแด่พระเจ้าแผ่นดินหลังจากเสด็จสวรรคต รายละเอียดมากมาย รวมยกมาเป็นเกร็ดพึงรู้
           ตามโบราณราชประเพณีของไทย การก่อสร้างพระเมรุมาศ ได้รับอิทธิพลมาจากความคิดการปกครองแบบเทวนิยมท ใช้เปนที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพพระมหากษัตริย์และเจ้านายชั้นสูงมีแนวคิดมาจาก "เขาพระสุเมรุ" อันเป็นความเชื่อที่ว่า พระมหากษัตริย์เป็นสมมติเทพ เสด็จลงมายังดลก เมื่อสวรรคตก็มีการส่งเสด็จกลับเขาพระสุเมระตามเดิม
            พระเมรุมาศในพระราชพิธีพระบรมศพ สามารถสืบค้นย้อนไปได้ถึงสมัยสุโขทัย ดังที่ปรากฎการจัดพระราชพิธีพระบรมศพที่เก่าแก่ที่สุดใน หนังสือไตรภูมิกถา หรือ ไตรภูมิพระร่วง สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง การสร้างพระเมรุมาศยิ่งใหญ่
โอฬารมาก ปรากฎตามจดหมายเหตุ และพระราชพงศาวดารว่ พระเมรุมาสสูงถึง 2 เส้น มีประมณฑลกว้างใหญ่ เช่น พระเมรุมาศของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์งานพระบรมศพก็ยังคงรักษาธรรมเนียมดั้งเดิมไว้เช่นกัน ได้เริ่มเปลี่ยนแปลงในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นต้นมา
         
สำหรับ พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระเมรุมาศก็ยังยึดถือตามคติความเชื่อ และโบราณราชประเพณี อีกทั้งยังคงแก่นความสำคัญใการสะท้อนความจงรักภักดของปวงชนชาวไทยที่มีต่อพระองค์ท่าน ผ่านส่วนประกอบต่างๆ ที่ทำให้พระเมรุมาศสมพระเกี่ยรติที่สุด นับจากนี้ คือ 9 ใจความสำคัญของพระเมรุมาศ ที่เรียบเรียงมา
           1. พระเมรุมาศ เพรีบเหมือน เขาพระเมรุ ใจกลางหลักจักรวาล ตั้งอยู่เหนือน้ำ 84,000 โยชน์ มีภูเขารองรับ 3 ลูก โดยส่วนฐาน คือ ตรีกูฎ (สามเส้าหรือสามยอด) มีภูเขาล้อมรอบ 7 ทิว เรียกว่า สัตตบริภัฒฑคีรี ประกอบไปด้วยทิวเขา ยุคนธร กรวิก อสินธร สุทัศ เนมินธร วินตก และอัสกัณ มีเทวดาจตุมหาราชิกและบริวารสถิตอยู่ ซึ่งทิวเขาเหล่านั้นก็คือ อาคารประกอบ ได้แก่ประดุจโบสถ์วิหาร มีระเบียงล้อมรอบซึงเรียกว่าทับเกษตร หรือที่พัก
           บนยอดขาพระสุเมรุ คือ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ซึ่งยอดบนสูงสุดของพระเมรุมาศ มีการจารึกพระปรมาภิไธย และเศวตฉัตร
           การสร้างพระเมรุมาศในแต่ละครั้งถือเป็นงานใหญ่ มีหลักฐานปรากฎมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาสืบทอดเป็นแบบแผนให้กับงานพระราชพิธีจนมาถึงปัจจุบัน ถือเป็นงานสถาปัตยกรรมชั้นสูงที่ต้องเรียนรู้การสร้างอาคารหมู่และอาคารหลังเดี่ยวทั้งเล็กใหญ่ รู้กระบวนการช่างไทยทุกสาขา ทั้งด้านศิลปกรรม และสถาปัตยกรรมรวมกันทุกแขนง
          2. ลักษณะพระเมรุมาศที่ปรากฎมาแต่โบราณมีทั้ง พระเมรุทรงปราสาท และพระเมรุทรงบุษบก
พระเมรุ รัชกาลที่ 4
           พระเมรุปราสาท คือ อาคารพระเมรุมีรูปลักษณะอย่างปราสาท สร้างเรือนบุษบกบัลลังก์ คือ พระเมรุทองซ้อนอยู่ภายใน พระเมรุทองประดิษฐานบนเบญจา พระจิตกาธานรองรับพระโกศพระศพ ปิดทองล่องชาด พระเมรุทรงปราสาทนี้ยังแยกได้อีก 2 ลักษณะ คือ พระเมรุทรงปราสาทยอดปรางค์ และพระเมรุทรงปราสาทยอดมณฑป ซึ่งปรากฎในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์
           พระเมรุทรงบุษบก คือ พระเมรุที่สร้างบนพื้นที่ราบโดยดัดแปลงอาคารปราสาทเป็นเรือนบุษบกขยายพระเมรุทองในปราสาททีเป็นเรื่อนบุษบกบัลลังก์แต่เดิมให้ใหญ่ขึ้น เพื่อการถวายพระเพลิง ตังเบญจาพระจิตการธานรับพระโกศพระบรมศพ ซึงเกิดขึ้นครั้งแรกในงานถวาย พระเพลิง พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเหล้าเจ้าอยู่หัว
           สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ ทรงสันนิษฐานเกี่ยวกับ คติการสร้าง "พระเมรุ" ว่าได้ชื่อมา แต่การปลูกสร้
ปราสาทอันสูงใหญ่ ท่ามกลางปราสาทน้อย มีลักาณดุจเขาพระสุเมรุตั้งอยู่ท่ามกลางเขาสัตตบิรภัฒฑ์ล้อมรอบ จึงเรียกว่าพระเมรุ
พระเมรุ รัชกาลที่ 5
           ภายหลัง เมื่อทำย่อลง ไม่มีอะไรล้อม เหลือแต่ยอดแหลมๆ ก้ยังคงเรียกเมรุ ด้วยคนไทยมีความเชื่อและยึดถือเรื่องไตรภูมิตามคติทางพระพุทธศาสนาที่กล่าวถึงภาพจักรวาล มีเขาพระสุเมรุเป้นศูนย์กลางของภูมิทั้งสาม รายล้อมด้วยสรพพสิ่งนานา อันเป็นวิมานของท้าวจตุดลกบาล และเขาสัตตบริภัฒฑ์ดังนั้นจึงนำคติความเชื่อจาก ไตรภูมิมาเป็นแนวทางในการจัดพิธีถวายพระเพลิง เพื่อได้ถึงภพแห่งความดีงานอันมีแดนอยู่ที่เขาพระสุเมรุ สิ่งก่อสร้างในพระราชพิธีถวายพระเพลิง จะจำลองให้ละม้อยกับดินแดนเขาพระสุเมรุด้วย
           4. ความสำคัญของการจัดพระราชพิธีพระบรมศพนั้น นอกจากจะถือเป็นการถวายพระเกียรติยศ แสดงความเคารพอย่างสุสำหรับพระมหากษัตริย์แล้ว ในสมัยโบราณ พระราชพิธีนี้ ยังถือเป็นการประกาสความมั่นนคงของบ้านเมือง เนื่องจากเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นคาบเกี่ยวกับการเปลี่ยนแผ่นดินสืบสันตติวงศ์ต่อไป
            สวนหนึ่ง ดูจากการสร้างพระเมรุมาศประกอบพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพว่า สามารถทำได้ยิ่งใหญ่เพียงได เพราะส่วนที่บ่งบอกถึงญานะ และอำนาจของพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ ได้อย่างดีประการหนึ่ง จึงถือได้ว่ งานพระเมรุเป็นศักดิ์ศรีและเป็ฯเกี่ยรติยศที่ปรากฎแผ่ไพศาลตั้งแต่ต้นแผ่นดิน
       
 5.ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น นิยมปลูกสร้างเป็นรูปพระเมรุขนาดใหญ่ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ถือเป็น
จุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงการสร้งพรมรุมาศให้มีขนาด "ย่อมลง" อันเป็นไปตามพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวที่ทรงต้องการให้จัดงานแต่เหมาะสมมิให้สูงถึง 2 เส้นดังแกต่กาลก่อน ดดยยกพระเมรุชั้นนอกทรงปราสาทออกเสีย สร้างแต่องค์ใน คือ พระเมรุทองเหรือพรเมรุมาศ ภายในตั้งพระจิตกาะานสำหรับประดิษฐานพระโกศพระบรมศพ
            ครั้งถึงรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเหล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชันทึกตัดทอนการปลูกสร้างพระเมรุมาศ และการบำเพ็ญพระราชกุศลของพระองค์ลงอีกหลายประการ งานพระเมรุจึงลดขนาดลงตั้งแต่นั้นมา
       

นอกจากขนาดของพระเมรุมาศแล้ว ในสมัยงานพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวยังมีพระบรมราชโองการแสดงพระราชประสงค์ให้รวบรัดหมายกำหนดการให้น้อยลง เพื่อประหยัดตามกาลสมัย โดยพระราชพินัยกรรมระบุถึงการจัดงานพระบรมศพให้งดราชประเพณีเห่า ๆหลายอย่าง อาทิ การงดการโยงโปรย ยิกเลกนางร้องไห้ ซึ่งรบกวนพระราชหฤทัยตั้งแต่งานพระบรมศพพระราชบิดา เป็นเหตุให้ประเพณีดังกล่าวงดตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา การยกเลิกการถวายพระเพลิงพระบุพโพกลางแจ้งด้วยวิธีการเคี่ยว เป็นต้น
          ในอดีต การถวายพระเพลิงพระศพแต่โบราณ มีรายละเดียดมาก กำหนดเป็นงานใหญ่ในช่วงฤดูกาลที่ไม่มีฝนอย่างเดือนเมษายน ใช้เวลาประมาณ 14 วัน 14 คืน เป้นเกณฑ์ มักจะเร่ิมงาน ตังแต่ขึ้น 5 หรือ 6 ค่ำ ไปจนถึงแรม 4 ค่ำ ที่เป็นแบบนั้น ก็เพราะในสมัยโบราณ จำเป็นต้องอาศัยแสงจันทร์ช่วยให้ความสว่างด้วยนั่นเอง
         
สำหรับรายละเดียดในงานออกพระเมรุ จะเริ่มด้วยการอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุออกสู่พระเมรุพระราชาคณะสวดพระพุทธมนต์ในวันแรก แล้วค่อยจัดสมโภชพระบรมสารีริกธาตด้วยการจุดดอกไม้ไฟในค่ำวันที่ 23 ก่อนจะอัญเชิญพระบรมอัฐิออกสู่พระเมรุ  สมโภช 1 วัน กับ 1 คืน แล้วจึงอัญเชิญกลับ
          จากนั้นจึงอัญเชิญพระบรมศพออกจากพระมหาปราสาทไปสมโภช ณ พระเมรุมาศ 7 วัน 7 คืน โดยหลังจากถวายพระเพลิงเสร็จแล้ว ก็จะสมโภชพระบรมอัฐิ อีก 3 วัน 3 คืน รวม 14 วัน 14 คืน
          ปัจจุบัน มีการปรับเปลี่ยนรายละเอียด และตัดทอนพิธีกรรมหลายอย่าง  เช่น งดการอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ และพระบรมอัฐิออก สมโภชก่อนงานพระราชพิะีอัญเชิญพระบรมศพ พระศพ ทำให้ตัดทอนพิธีอื่นๆ  ตามมา ไม่ว่าจะเป็นการจุดดอกไม้ไฟสมโภช หรือ ลอการสมโภชพระศพเมื่อประดิษฐานบนพระเมรุแล้ว เป็นต้น
         8 . ในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยบเดช งานภูมิสถาปัตยกรรมเชื่เมดยงกับตัวอาคาร เข้ากับสิ่งที่แสดงถึงในหลวงรัชกาลที่ 9 อันมีความเกี่ยวพันกับโครงการพระราชดำริ ในพื้นที่ด้านทิศเหนือ เป็นทางเข้าหลักสู่พระเมรุมาศ
         มีการสร้างสระน้ำบริเวณ 4 มุม การจำลองนาขั้นบันได หญ้าแผก แก้มลิง และกังหันน้ำชัยพัฒนา รวมทั้งพันธุ์ข้าวจากภูมิภาคต่างๆ ได้แก่ พันธุ์ปทุมะานี 1 เป็นตัวแทนของข้าวภาคกลาง พันธ์ุข้าวขาวดอกมะลิ 105 เป็ตัวแทนของข้าวในภาคอีสานและหนือที่นิยมปลูกข้าวพันธุ์นี้ พันธุ์ข้าว กข 31 หรือพันธุ์ปทุมธานี 80 ที่ตั้งชื่อเพื่อร่วมเฉลิมพระเกี่ยรติในโอากสทรงเจริญพระชนมพรราครล 80 พรรษา โดยออกแบบแปลงนาเชิงสัญลักษณ์ให้เป็นเลขเห้าไทยสีดินทอง เป็นสัญลักษณ์สื่อว่าพระเมรุมาศนี้สร้างขึ้นเพื่อในหลวงรัชกาลที่ 9 กษัตริย์ฺนักพัฒนา
          9. พระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ประกอบด้วยอาคารทรงบุาบก จำนวน 9 องค์ ตั้งอยุ่บนฐานชาลารูปสีเหลี่ยมจัตุรัศ 3 ชั้น มีบันไดทางขึ้น ทั้ง 4 ทิศ ทิศตะวันตกหันหน้าเข้าพระที่นั่งทรงะรรม ทิศตะวันออกติดตั้งลิฟต์ และทิศเหนือติดตั้งสะานเกรินสำหรับเชิญพระบรมโกศจากราชรถปืนใหญ่ขึ้นบนพระเมรุมาศ
           โดยโครงสร้างพระเมรุมาศ ประกอบด้วย ลานอุตราวรรค หรือพื้นฐานพระเมรุมาศ มีสระอโนดาดทั้งสี่ทิศ และเขามอจำลอง มีประติมากรรมสัตว์หิมพานต์ ได้แก่ ช้าง โค สิงค์ ม้า แลสัตว์หิมพานต์ ตระกูลต่างๆ ประดับโดยรอบ
           ฐานชาลาชั้นที่ 1 มีฐานสิงห์เป็นรั่วราชวัตร แัตร แสดงอาณเขตพระเมรุมาศ และมีเทวดานั่งคุกเข่าถือบังแทรก
           ฐานชาลาชั้นที่ 2 มีหอเปลื้องทรงบุษบกรูแแบบเดี่ยกันตั้งอยู่ที่มุมทั้งสี่  ใช้สำหรับจัดเก็บพระโกศทองใหญ่และพระโกศไม้จันทน์ รวมถึงอุปกรณืสำหรับงานพระราชพิธี
           ฐานชาลาชั้น 3 ฐานบุษบกประธานประดับประติมากรรมเทพชุมนุม จำนวน 132 องค์โดยรอบรองรับด้วยฐานสิงห์ซึ่งประดับประติมากรรมครุฑยุดนาคดดยรอบอีกชั้นหนึ่ง มุมทั้งสี่ของฐานขั้นที่ 3 นี้ เป็นที่ตั้งของช่างทรงบุษบกยอดมณฑปชั้นเชิงกลอน 5 ชั้น
           จุดกึ่งกลางชั้นบนสุดมีบุษบกองคืประธานตั้งอยู่ เป็นอาคารทรงบุษบกยอดมณพปขั้นเชิงกลอน 7 ชั้น ภายในมีพระจิตกาธาน เป้นที่ประดิษฐานพระบรมโกศ ผนังโดยรอบเปิดโล่ง ติดตั้งพระวิสุตร (ม่าน) และฉากบังเพลิงเชียนภาพพระนารายณ์อวตารตอนบน และภาพโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริตอนล่างที่ยอดบนสุด ประดิษฐานนพปฎลมหาเศวตฉัตรwww.bangkokbiznews.com/news/detail/778316
            เย็นวันที 20 ต.ค. 2560 พล.อ. ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร รองนายกรัฐมนตรี กล่าวระหว่างตรวนความเรียบร้อยการก่อสร้าพระเมรุมาศ พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภุมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ว่า
           
การสร้างพระเมรุมาศ อาคารประกอบ ซ่อมสร้างราชรถ ราชยาน พระบรมโกศ และทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพถือว่าเสร็จสมบูรณืเรียบร้อยอย่างเป้ฯทางการ 100% หลังหน่วยงนที่เกี่ยวข้องร่วมมือร่วมใจกันตลอด 9 เพือนเต็มจนทุกอย่างเสร็จสิ้นสมูรณ์งดงามสมพระเกียรติ
             โดยในวันที่ 21 ต.ค. จะ่งมอบพท้ที่ให้ฝ่ายตำรวจ และเหลือเจ้าหน้าที่ไว้บำรุงรักษาให้ทุกอย่าวคงสภาพสมบูรณ์
             "สภาพดอกไม้จะบาน 100% คือวันที่ 26 ตุลาคม และจะสมบูรณ์เรื่อยไปจนถึงวันที่ 30 พศจิิกายน ซึ่งเป้นวันสุดท้ายของงานนิทรรศการ" พล.อ.ธนะศักดิ์ กล่าว
               พล.อ.ธนศักดิ์ กลาด้วยว่า ด้วยประบารมีทำให้ตลอดการทำงานก่อสร้างพระเมรุมาศ แม้แต่ช่างสักคนเดียวก็ไม่ถูกลวดเกี่ยว ตะปูดำ ทุกคนปลอดภัยทั้งหมด ส่วนกรณีฝนตกน้ำท่วมยืนบันว่าพร้อมรบมือและไม่กังวลเพราะแม้แต่ช่วงที่ฝนตกหนักที่สุดครั้งที่ผ่านมาก็สามารถรับอได้อย่างไม่มีปัญหา
               พล.อ.ธนศํกดิ์ ขอบคุณทุกคนที่เกี่ยวข้องรวมทั้งคนไทยทั้งประเทศพร้อมย้ำหลายครั้งตลอดการสัมภาษณ์ว่าผลงานทั้งหมดสำเร็จด้วยความร่วมมือของคนทั้งประเทศทีร่วมกันสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ แสดงให้ทั้งโลกเห็นว่าในเรื่งอของการเทิดทูนถาบันพระมหากษัตริย์ของคนไทยน้นเหนือสิ่งอื่นใด
             ทั้งนี้หลักเสร็จงานพระราชพิธีฯ จะจัดนิทรรศการเปิดให้ประชาชนได้เข้าชมระหวางวันที่ 2-30 พ.ย. 2560 โดยจะรักษาสภาพความงดงามสมบูรณ์ตลอดช่วงเวลาจัดงานนิทรรศการ ถ้าดอกไม้เหี่ยวก็จะเปลี่ยนให้เพื่อคงความงดงามสมบูรณ์ตลอดช่วงเวลาจัดงานนิทรรศการ ถ้าดอกไม้เหี่ยวก็จะเปลี่ยนให้เพื่อคงความงดงามให้ทุกคนได้ชมอย่างเท่าเที่ยมกัน สำหรับนิทรรศการดังกล่าวจะเปิดให้เข้าชมตั้งแต่ 7.00-22.00 น. ประชาชนได้เข้าชมรอบละ 5,000 คน ใช้เวลารอบละประมาณ 45 นาที แต่ถ้าประชาชนมามากอาจจะขยายเวลาปิดเลย 22.00 น. ออกไป แต่ทั้งนี้ช่วงเวลากการจัดนิทรรศการจะสิ้นสุดวันที่ 30 พ.ย. ยืนยันยังไม่มีการขยายเวลาออกไป
           " ณ ขณะ นี้ยืนยันว่า ยังเป็ฯ 2-30 พ.ย. ทุกคนควรจะมารับชม อย่างไปคิดว่าเดี๋ยวเขาก็ขยายเวลา เพราะขณะนี้ยืนยันว่านิทรรศการมีถึงวันที่ 30 พ.ย." พล.อ. ธนะศักดิ์ กล่าวthestandard.co/kingrama9-cremation-complete/

           

วันอังคารที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Trade Liberalization The Service Industry

         
การเปิดเสรีด้านการค้าสินค้าและรบริการ 12 สาขา อันได้แก่่ สาขาผลิตผลเกษตร สาขาประมง สาขาผลิตภัณฑ์ยาง สาขาสิ่งทอ สาขายานยนต์ สาขาผลิตภัฒฑ์ไม้ สาขาอิเล็ทรอนอกส์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาสุขภาพ สาขาการท่องเที่ยว สาขาการบิน และสาขาดลจิสติกส์ มีส่งให้ธุกิจนำเที่ยวพลอยได้รับผลกระทบต่อธุรกิจนำเที่ยวในด้านต่างๆ เช่น มคัคุเทศก์ ด้านนักท่องเที่ยว ด้านผลิตภัฒฑ์ท่องเที่ยว ด้านผุ้ประกอบการ และด้านรํบ การ้้าเสรีด้านบริากรทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานและการลงทุนในภุมิภาคอาเซียนอย่างหลีกเลี่ยวไม่ได ผุ้มีสวนเกี่ยวข้องกับธุรกิจนี้จึงจำเป้นต้องพัฒนาความรู้และความสามารถของตนเพื่อให้ได้ความได้เปรียบในการแข่งขัน ซึ่งมรรการดังกล่าวต้องอาศัยควสมสนับสนุนจากรัฐ ลจกางานวิจัยเรื่องนี้เป้ฯประโยชน์เชิงนโยบายและเป็นข้อคิดสำหรับธุรกิจนำเที่ยวในการรับมือกับเปิดการต้าเสรีด้านบริการ
            เนื่องจากประเทศแต่ละระเทศมีทรัพยากรไม่เท่ากัน จึงต้องแลกเปลี่ยนทรัพยากรที่ตนมีกบประเทศอื่น ซึ่งทำให้เกิดการค้าระห่างประเทศ ทั้งนี้ แต่ละประเทศจะทำการต้ากันตามสินค้าที่ตนผลิตได้ดีจนกระทั่งเมื่อ 30 ปีที่ผ่านมา ประมาณทศวรรษที่ 1980 สถานการณ์ทางการตาโลกได้เปลี่ยนแปลงไป
ประทศต่างๆ ประสบกับภาวะเศรษฐกิจถดถอย จึงต้องกำหนดมาตรการในการดีดกันทางการต้าในรูปต่างๆ เช่น ภาษีศุลกากร และรูปบบอื่น เป็นระบบที่เรียกว่า การต้าแบบที่มีการเจรจาทางการค้าระหว่างคู่ค้าหรือทวิภาคี
            การเจรจาแบบทวิภาคีทำให้เกิดการบิดเบือนเรื่องราคาสินค้าและราคาปัจจัยการผลิต อันนำไปสู่การจัดสรรทรัพยากรที่ไม่มีประสิทธิภาพ เมื่อปัญหานี้รุนแรงขึ้น ประเทศต่างๆ ในโลกจึงเจรจาร่วมกันเพื่อจัดกฎระเบียบทางการต้าระหว่างประเทศของโลกให้ดำเนินไปอย่างเป็นระเบียบและเป็นธรรมมากขึน ในรูปการเจรจาหลายฝ่าย หรือแบบพหุภาคี เช่น ข้อตกลงทั่วไปวาด้วยภาษาีศุลการกรและการต้า  ซึ่งเป็ฯที่มาขององค์การการต้าโลก WTO นอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจเสรี ซึ่งเป็นการรวมกลุ่ทางการต้าทางภูมิศาสตร์ หรือภูมิภาค แต่ไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจากมีเพียงประชาคมยุโรปหรือสหภาพยุโรปในปัจุจุบัน ต่อมามีการจัดตั้งในระดับภูมิภาค เช่น สหรัฐอเมริกาได้ตัดสินให้เม็กซิกและแคนาดาเข้าร่วมด้วย จึงกลายเป็น NAFTA นอกจากนี้ยังมี ASEAN, OPEC, BRICS,EU,P4 ฯลฯ
           จากสภาพการณ์ดังกล่าวนี้การเจรจาการต้าแกตต์รอบอุรกวัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเริมให้การต้าระหว่างประเทศของโลกเป็นไปโดยเสรีและเป็นธรรม ไม่สามารถบรรลุผลได้ตามกำหนดเวลา คือภายใน พ.ศ. 2533 และยังหาข้อยุติไม่ได้ ทำให้แต่ละประเทศไม่แน่ใจว่าผลการเจรจาจะอกมาในรูปแบบใดและ
จะเป็นประดยชน์ต่อประเทสของตนมากน้อยเพียงใด จึงต่างก็หันมาให้ความสนใจการเจรจาจะออกมาในรูปแบบใดและจะเป็นประดยชน์ต่อประเทศของตนมากน้อยเพียงใด จึงต่างก็หันมาให้ความสนใจกับการเจรจาสองฝ่่ายก่อน แล้วจึงขยายการต้าเสรีออกไปทำให้แนวคิดเรื่องการรวมกลุ่ทาางเศราฐกิจแพร่ขยายออกไป เพื่อประโยชน์และอำนาจในการเจรจาต่อรอง และสร้างคงามเข้มแย็งทางเศรษบกิจในกลุ่มประเทศสมาชิก การเปิดเสรีทางการต้าจึงเป้ฯการรวมตัวกันของประเทศต่างๆ เป็นหลุ่มเพื่อลดหรือชจัดอุปสรรคทางการค้าการลงทุน ซึ่งไม่ใช่เป็นเพียงเรื่องของภาษีแต่รวมไปถึงการอำนวนความสะดวก การกำหนดกฎเกณฑ์ และการร่วมมือทางเศราฐกิจด้วย...
           การเปิดเสรีด้านบริการของอาเซียน ซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญของประชาคมเศราฐกิจอาเวียนกรอบความตกลงด้านบริากรของอาเวียนริเริ่มขึ้นจากการประชุมสุดยอดอาเซียนที่กรุงเทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2538 โดยรัฐมนตรีเศราฐกิจอาเซียนจาก 7 ประเทศ ซึ่งได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บรูไน และเวียดนาม ได้ลงนามความตกลงดังกล่าว เมื่อ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2538 เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการบิการและพัฒนาประสิทธิภาพของผุ้ให้บริการ ในภุมิภาครวมถึงการเพ่ิมความเท่าเที่ยมในการบริการผ่านการออกระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ตามมาตครฐานด้านความตกลงทั่วไปวาด้วยการต้าบริการขององค์การการต้าโลก โดยตั้งเป้าหมายให้ความตกลงต่างๆ เป็นที่ยอมรับกันในภายใน พ.ศ. 2558 ในชั้นแรกความตคกลงว่าด้วยการต้าบริากรในอาเซียนได้ครอบคลุมถึงสาขาการบริารต่างๆ เช่น การเงิน การขน่งทางทะเล การขนส่งทางอากาศ การสื่อสาร โทรคมนาคม การท่องเที่ยว การก่อสร้างสาขาบริการธุรกิจ
           อย่างไรก็ดี ในการประชุมการเปิดเสรภาคบริการอาเซียนในรอบที่ 4 ในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2548-2549 ได้มีการขยายขอบเขตการเจรจาเปิดเสรีให้รวมทุกสาขาบริการ โดยเฉพาะในด้านการบริการและการท่องเที่ยว ที่เป็ฯสาขาสำคัญที่จะมีการเร่งรัดตามข้อตกลงทั้งในด้านการบริการในโรงแรม และร้านอาหาร การท่องเที่ยว ผุ้ประกอบการท่องเที่ยว และด้านมัคคุเทศก์ ซึ่งเป้นธุรกิจการบริการที่มีความดดดเด่นของภูมิภาคการเปิดเสรีภาคบริการเสรีในอาเวียน ยังได้กำหนดเป้าหมายระับการเปิดตลาดด้านการบริการที่จะให้ขจัดข้อกีดกันสำหรบการให้บริการข้ามพรมแดน ข้อจำกัดในการบิรโภคข้ามพรมแดน และการสร้างความเท่าเที่ยมให้กับนักลงทุนในอาเวียนในการจัดตั้งธุรกิจและถือ หุ้น ดดยเฉพาะในสาขาเร่งรัดด้านการบริากรและการท่องเที่ยวที่นักลงทุนอาเซียนจะมีโอกาสถือหุ้นในกิจการของสาขาดังกล่าวในแต่ละประเทศได้ร้อยละ 70 ใน พ.ศ. 2556 และสาขาอื่นๆ จะมีการปรับสัดส่นการถือหุ้นลักาณะนี้ได้ใน พ.ศ. 2558
            การเปิดเสรีทางการต้าภายใต้ประชาคมเศราฐกจิอาเซีนจะทำให้เกิดการไหลเวียนของสินค้าบริากร การลงทุน เพราะสินค้าที่จะไหลเข้ามาก็คือด้านการเกษตรที่ราคาถูกว่สินค้าเกษตณภายในประเทศ แต่สินค้าที่จะไหลออกก็คือด้านอุตสาหกรรมจากอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ รวมท้งการไหลเวียนของการลงทุน เมื่อภาคธุรกิจสามารถย้ายการลงุทนได้อย่างอิสระ ก็ย่อมเลือกประเทศ ที่ค่าแรงถูกที่สุดเพื่อให้ต้นทุนราคาถูกที่สุด เรียกได้ว่าเป้นการย้ายทุนหาแรงงาน ซึ่งแน่นอนว่าจะเกิดผลกระทบต่อแรงงานไทยแน่นอน ซึ่งนอกจากจะกระทบแรงงานไร้ฝีมือแล้ว ยังกระทบถึคงแรงงานฝีมือย่างแพทย์ พยาบาล หรือสายสุขภาพ  จาก ประเทศฟิลิปปิสน์ก็เริ่มทยอยเข้ามาในไทยแล้ว
     
 ส่วนดอากสที่ชุมชนจะได้รับจะพบว่ามีโอากสทางเศราฐกิจค่อนข้างน้อย สินค้าเกษตรราคาถูกที่เข้ามาอาจทำให้มีวัตถุดดิบราคาถูก แต่จะสามารถพัฒนาและยกระับได้อรือไม่ และยังมีโอากสได้แรงงานไร้ฝีมือในระคาถูกลงเพราะแรงงานจากประเทศอื่นเขามาในไทยอย่างเสรีมากขึ้น ที่ผ่านมาประเทสไทยมองการเข้าสู่ประชาคมเศราฐกจอาเซียนเพียงด้านเดียว คือด้านเศราฐกิจ ทั้งที่ยังมีอีกถึงสองด้าน ให้ต้องนึกถึง คือด้านการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน และด้านสังคมและวัฒนธรรม แต่ก่อนที่ประเทศไทยจะเปิดเสรีทางการต้าภายใตจ้ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน อย่างเต็มตัวนั้น ควรจะต้องเรียนรู้ประเทศเพื่อนบ้าน ทำความเข้าใจถึงวัฒนธรรม ความแตกต่างในด้านต่างๆ ระหว่างประเทศในอาเซียนเสียก่อน
           ใน พ.ศ. 2534 ประเทศไทยในฐานะประเทสสมาชิกได้เสนอแนวความคิดในการจัดตั้งแขตการต้าเสรีอาเซียน ในการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนครั้งที่ 23 ที่กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ที่ประชุมมีมติให้มีการจัดตั้งเขตการต้าเสรีอาเซียน และในปีต่อมา ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 4 ที่ประทเสสิงคดปร์ ได้มีการลงนามข้อตกลงว่าด้วยการใช้อัตราภาษีศุลกากรพิเศษที่เท่าเทียมกันสำหรับเขตการต้าเสรีอาเซียน เพื่อให้การค้าภายในอาเซียนเป็นไปโดยเสรีภายใต้อัตราภาาีศุลกากรระหว่างกันต่ำที่สุดและปราศจากข้อจำกัดที่ไม่ใช่ภาษีศุลกากร และเพื่อดึงดุดการลงทุนจากต่างประเทศให้เข้ามาสุ่ภูมิภาคอาเซียน รวมทั้งเพื่อเตียมพร้อมสำหรับสถานการณ์เศราฐกิจและการต้าดลกที่เสรียิ่งขึ้น จากผล
การเจรจาทางการต้าแกตต์รอบอุรุกวัย นอกจากนี้มาตการนี้ยังเป็นกลไกสำคัญให้ประเทศสมาชิกดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันภายในกำหนดระยะเวลา 15 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พงศ. 2536 ต่อมาใน พ.ศ. 2537 ในการประชุมรัฐนตรีเศราฐกจิอาเซียน ครั้งที่ 26 ที่จังหวัดเชียงใหม่ ได้มผลสรุปทางด้านการปรับปรุงระยะเวลาในการดำเนินการตามข้อตกลงว่าด้วยการใช้อัตราภาษีศลุกากรพิเศษที่เท่าเที่ยมกัน ดดยให้ลดระยะเวลาของการดำเนินการตามข้อตกลงอัตราภาษีพิเศษที่เท่ากันของประเทสสมชิกอาฟตา จาก 5 ปี เหลือ 10 ปี หรือให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2546 เพื่อให้ระยะเวลาในการปกิบัตตามข้อตกลงก่อนข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการต้าแกตต์
          โครงการเตรียมความพร้อมและสร้างเครอข่ายความร่วมมือภาคอุตสาหกรรมการผลิต เพื่อรองรับประชาคมเศราฐกิจอาเซียน สังคมและวัฒนธรรม และเมื่อการต้าระหวางประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันการต้ารุนแรงขึ้น ทำให้อาเวียนได้ไันมามุ่งเน้นการกระชับและขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกจิการต้าระหว่างกันมากขึ้น ทำให้อาเวียนได้หันมามุ่งเน้นการกระชับและขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการต้าระหว่างกันมากขึ้น อยางไรก็ตามก็ยังมีวัตถุประสงคืในเรื่องการส่งเสริมการพัฒนาเศราฐกจิ สังคมและวัฒศนธรรมในภุมิภาค ภาคการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคงในภูมิภาค และการใช้เป็นเวทีแก้ไขปัญฐหาความขัดแย้งภายในภูมิภาค
         
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา การดำเนินงานความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียนมีความคืบหน้ามาตามลำดับ ไม่ว่าจะเป็นการจัดทำเขตการต้าเสรีอาเซียน ซึ่งเร่ิมดำเนินการตั้งแต่ พ.ศ. 2535 การเจรจาเพื่อเปิดตลาดการต้าบริการ และการลงทุนในภุมิภาคจนถึงปัจจบัน ผุ้นำอาเซียนได้มุ่งให้ความสำคัญกับการดำเนินกาเพื่อนำไปสู่การเป็นประชาคมเศราฐกิจอาเซียนภายใน พงศ. 2558 ซึ่งเร็วขึ้นกว่ากำหนดการเดิมที่ผุ้นำอาเซียนได้เคยประกาศแสดงเจตนารมณ์ไว้ตามแถลงการณ์บาหลี

            - บางส่วนจาก "ผลกระทบของการเปิดเสรีในอุตสาหกรรมการบริการของอาเซียนที่มีต่อธุรกิจนำเที่ยวในประเทศไทย", พีรยุทธ์ พัฒน์ธนญานนท์, วารสารวิชาการการตลาอและการจัดการ ม.เทโคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม มิถุนายน พ.ศ.2558.

วันจันทร์ที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2560

SEAN Framework Agreement on Services (AFAS)

          การเปิดเสรีการบริากรด้านท่องเที่ยวนั้น มีผลกระทบทั้งในด้านบวกและด้ารลบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทย ดังนั้น ผุ้ประกอบการธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวขงไทย จะต้องเตรียมวางแผนทางธุรกิจเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นจาก AEC
          การเปิดเสรีบริการด้านการท่องเที่ยว จะเป็นการเปิดในลักษณะของการเคลื่อนย้ายการลงทุน ซึ่งตามข้อตกลงใน  AEC Blueprint คือ ลุดอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาดในด้านต่างๆ ลง และเพ่ิมสัดส่วนการถือหุ้นให้กับบุคคลหรือนิติบุคคลสัญชาติอาเซียน ดดยสามารถือหุ้นได้สูงถึงร้อยละ 70 ซึ่งภายใต้รกอบ AEC ธุรกิจท่องเที่ยวและยริการที่เกี่ยวเนื่องถูกจัดให้อยู่ในสาขาเร่วงรัดการรวม กลุ่ม เช่นเดียวกับภาคบริการอื่นๆ อีก 4 สาขา ได้แก่ คอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม บริการสุขภาพ ากรขนสงทางอากาศ และโลจิสติกส์ ซึ่งกำหนดให้ยกเลิกเงือนไขต่างๆ ที่เป้นข้อจำกัดทั้งหมด รวมทั้ง ทยอยเพ่ิมสัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนอาเวียนให้สูงขึ้นเป้นร้อยลบ 70 ในปี 2553 แต่ในปัจจุบันก็บังมีข้อจำกดอยู่ เช่นการกำหนดมาตรฐานสำหรับผุ้ปรกอบวิชาชีพในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของแต่ละประเทศในอาเซียน อาทิ พนักงานทำความสะอาด ผุ้จัดการแผนกต่างๆ เป้นต้น ทั้งนี้เพื่อท้อายที่สุดจะสามารถผลักดันให้มีการเคลื่อนย้ายผุ้ให้บริการที่ ได้รับการรับรองคุณสมบัิตวิชาชีพ ภายในภุมิภาคได้อย่งเสรี
           สัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนสัญชาติอาซียน ตามแผน AEC Blueprint(สาขาธุรกิจท่องเที่ยว)
           แม้ว่าตามแผนงาน AEC Blueprint ประเทศไทยควรจะอนุญาตใหนักลงทุนอาเซียนสามารถถือหุ้นได้ร้อยละ 70 ตั้งแต่ปี 2553 แต่ปัจจุบันในปี 2555 ประเทศไทยยังคงอนุญาตให้ถือหุ้นได้เพียงร้อยละ 49 เนื่องมาจากกฎหมายภายในประเทศอยู่ระหว่างการพัฒนาและการพัิจารณาของรัฐสภา
            ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ได้วิเคราะห์ผลกระทบจากการเปิดเสรีบริการด้านท่องเที่ยว ที่จะเกิดขึ้นกับธุรกิจของปทไยในแต่ละาขาที่เกี่ยวข้องโดยสังเขป ดังนี้
            ธุรกิจโรงแรม การเปิดเสรีในส่วนของธุรกิจโรงแรมระหว่งประเทศสมาชิกอาเซียน มีประเด็นสำคัญในเรื่องของสัดส่วนการถือหุ้นของชาวต่างชาติที่ยังมิได้เป้นไปตามเป้าหมายที่กำหนด คือ ประเทศสมาชิกอาเซียนเปิดให้เพ่ิมสัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนอาซียนเป้นร้อยละ 70 ในปี 2558 ในสาขาธุรกิจท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวเนื่อง โดยปัจจุบัน ประเทศมาชิกตกลงในเรื่องสัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนต่างชาติ ดังนี้ ประเทศมาเลเซียอนุญาตให้ชาวต่างชาติร่วมทุนกับนักธุรกิจมาเลเซียและถือหุ้น ได้ไม่เกินร้อยละ 51 (เฉพาะโรงแรมระดับ 4-5 ดาว) ส่วนประเทศสิงคโปร์ไม่มีข้อจำกัดใดๆ สำหรับการลงทุนของชาวต่างชาติในธุรกิจโรงแรม ขณะที่ประเทศไทยเองก็กำหนดสัดสวนการถือหุ้นของชาวต่างชาติให้ถือได้ไม่เกินร้อยละ 49 (กรณีที่เป็นบริษัทจำกัด)
           
 ปัจจุบันนักลงทุนไทยสามารถเข้าไปตั้งธุรกิจท่องเที่ยวและบริการโดยเป็นเจาของ 100% หรือเป็นพันธมิตรทางธุรกิจในประเทศเวียดนามได้ แต่มีเงื่อนไขว่านักลงทุนต้องดำเนินการสร้าง ปรับปรุง ฟื้นฟู แล้วจึงจะได้กรรมสิทธิ์หลังจากนั้น อย่างไรก็ตาม ภาครัฐของแต่ละประเทศก็มีแผนงานดำเนินการเพื่อผลักดันให้นักลงทุนต่างชาติ สามารถถือหุ้นได้สูงถึงร้อยละ 70 ตามเป้าหมายของประเทศอาเวียนในการเปิดเสรีการบริการด้านท่องเที่ยว
             สำหรับผลของการเปิดเสรีในส่วนธุรกิจโรงแรมที่จะส่งผลกระทบต่อธุรกิจโรแรมของไทยนั้น ศูนบ์วิจัยกสิกรไทย มีความเห้นว่าปัจจุบนธุรกิจโรงแรม ในประเทศไทยมีการแข่งขันกันอย่างเชข้มข้นในทุกระดับราคาและทุกกลุ่มลูกค้า ซึ่งแ้แต่ผุ้เล่นรายใหญ่ที่จะเน้นการพัมนาโรงแรมระดับบนเองยังได้ลงมาทำ ตลาดโรงแรมระดับกลางเพื่อให้ครอบคลุมุทกตลาด นอกจากนี้ ผุ้ประกอบการรายใหญ่ยังได้จับมือกัน เช่น โรงแรมต่าประเทศ เพื่พขยายฐานตลาดให้กวางขึ้น ส่งผลกระทบต่อากรทำธุรกิจโรงแรมของผุ้ประกอบการเอสเอ็นอีในไทยอยู่ค่อยข้าง มาก ซึงส่วนใหญ่เป็โรงแรมขยาดเล็กที่มีพนักงานประมาณ 10-15 คน
            ดังนั้นเมื่อมีการเปิดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแล้ว จะยิ่งเพ่ิมระดบความรุนแรงของการแข่งขันด้านการตลาดของธุรกิจโรงแรมโดยเฉพาะกลุ่ม เช่น บริหารโรงแรมขั้นนำจากต่างประเทส (ที่มีวามพร้อมทั้งด้านเงินทุนและบุคลากร รวมท้งความได้เปรียบด้านการตลาด) มีแนวโน้มจะขยายการลงทุนและขยายเครือข่ายการบริหารโรงแรม เข้ามาในตลาดระดบกลางเพิ่มขึ้น ทำให้ผุ้ประกอบการ
โรงแรมระดับกลฃางลงมาของไทย ซึ่งเสียเปรียบด้านการตลาด และส่วนใหย่มีข้อจำกัดด้านเงินทุน จะประสบปัญหาอัตราการเข้าพักลดลง และนำไปสู่การแข่งขันด้านราคาห้งอพักมากขึ้น ก่อให้เกิดปญหารการขาดสภาพคล่องได้ในที่สุด เปิดโอากาศให้คู่แข่งซึ่งเป้ฯบริษัทข้ามชาติามารถดำเนินการซื้อหรือควบรวม กิจการได้ง่ายขึ้น
             ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว ผุ้ประกอบการธุรกิจโรงแรมขนาดกลางและขนาดย่อมที่บริาหารกิจการเอง ต้องเร่งพัฒนและปรบตัวเพื่อให้ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการเปิดเสรีฯ โดนมีแนวทางดังนี้
             - วิเคราะห์ศักยภาพของกิจการ เพื่อชูความได้เปรีบเหรือจุดแข้.ของกิจการ เป้นจุดขายที่แตกต่างและโดดเดน อาทิ คุณภาพกรให้บริการของคน ไทยที่โดดเด่นในห้านการมีจิตใจในการให้บริการ ความได้เปรียบด้านราคาที่มีความคุ้มค่าการบริการ ควาไ้เปรีบด้านทำเลที่ตั้ง ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ตามแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ที่มีให้ เลือกอย่างหลกหลายแตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาค
         
  - วางตำแหน่งของกิจการที่เหมาะสม และกำหนดตลาดเป้าหมายให้ชัดเจน่า จะเน้นให้บริการลูกค้าในตลาดนักท่องเทียวทั่วไปซึ่งเป้ฯตลาดที่มีขนาดใหย่ และมักเป้ฯนักท่องเทียวที่เพิ่งเดินทงมาเที่ยวประเทศไทยเป็นครั้งแรก หรือนักท่องเที่ยเวเฉพาะกลุ่ม(อาทิกลุ่มนักธุรกิจ กลุ่มประชุมสัมนา กลุ่มท่องเทียวเพื่อเป็นรางวัล กลุ่มคู่ฮันนีมูล กลุ่มจัดงานแต่งงาน กลุ่มท่องเทียวเชิงสุขภาพ กลุ่มพำนักท่องเที่ยวระยะยาว กลุ่มทั้วร์กอล์ฟ กลุ่มทั่วร์ดำนำ้ เป็นต้น) ซึ่งเป็นตลาดที่มีขนาดเล็กแต่มีกำลังซ์้อูงส่วนใหญ่จะเป้นัก่องเที่ยว กลุ่มเที่ยวซ้ำ(คือ เคยเดินทางมาเที่ยวเมืองไทยแล้ว) และปรับแผนกาบิรการและแผนการตลาดใหสอดคลองกับตลาดเป้าหมาย และการปรับเปลี่ยนของตลาด เช่นในปัจจุบันที่ตลาดยุโรปกำลังประสบปัญหาเศราฐกิจ และนิยมเดินทางท่องเที่ยวระยะสั้นเพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินาง บรรดาผุ้ประกอบการควรหันไปขยายตลาดท่องเทียวระยะใกล้ในภูมิภาคเอเชีย ที่ยังเติบโตต่อเนื่อง
            - พัฒนาทักษะการใช้ภาษาสากลและภาษาในกลุ่มอาเซียน อาทิ มาเลย์ พม่าทั้งนี้ หากผุ้ปรกอบการมีงบประมาณไม่เพียงพอในการพัฒนาทักษะด้านภาษา อาจจะพิจารณานำแนวคิดของการับสมัครอาศาสมัครที่มีควาสามารถด้านภาษามาปรับใช้ แต่ต้องมีการฝึกอบรมทักษะด้านบริการให้กับกลุ่มอาสาสมัครเหล่านี้ก่อน
            - การสร้างพันธมิตรทางธุรกิจกับผุ้ประกอบการทั้งในและนอกประทศน่าจะช่วยให้ ผุ้ประกอบการมีศักยภาพในการแข่งขันและเพ่มทางเลือกให้กับ ลูกค้าได้มากขึ้น เช่น นำเสนอแพ็กเกจห้องพักราคาเดียวแต่สามารถเลือกที่พักได้หลายแห่งในต่างทำเล ทึ่ดั้ง (อาทิ ชายทะเล เกาะ ภูเขา ป่า) แต่อยู่ในเครือข่ายเดียวกัน เป็นต้น
            นอกจากนี้ ผู้ประกอบการควติดตาม้อมูลข่าวสาร ช่องทางการดำเนินธุรกิจ และแนวทางการปรับตัว เพื่อให้ผู้ประกอบการมีศักยภาพในการแข่งขันอย่างยั่งยืน เพราะากรเปิดเสรยังคงจะดำเนินต่อไป ไม่ว่าจะเป็น อาเซียน บวก สาม หรือ อาเซียน บวก หก
           ธรุกิจนำเที่ยว เป็นธุรกิจที่ใหการบริากรอำนวนความสะดวกแกนักท่องเที่ยว อาทิ การให้ข้อมุลด้านการท่องเที่ยวเพื่อประกอบการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยว การวางแผนการเดินทาง การบริกรด้านทีพัก และจัดแพ็กเกจท่องเทียว เป็นต้น ธุรกิจนำเทียวแบ่งออกตามลักษณะของการจัดบริการท่องเที่ยวได้แก่
           ธุรกิจท่องเทียวภายในประเทศ คือ การจัดนำนักท่องเที่ยวที่มีภุมิลำเนาในประเทศ เดินทางไปยังแหล่งท่องเที่ยว ภายในประเทศ
           ธุรกิจนำนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาจากต่างประเทศเดินทางไปยังแล่งท่องเที่ยวในประเทศ
           ธุรกิจนำนักท่องเทียวคนไทยเดินทางไปยังแหล่งท่องเที่่ยวต่างประเทศ
         
 สำหรับการเปิดเสรีประชาคมเศราฐฏิจอาเซียนในหมวดการนำเที่ยว ในปัจจุบันประเด็นของสัดส่วนการถือหุ้นของชาติสมาคมอาเวียนยังมีข้อจำกัด และเงือนไขบางประการ ได้แก่ ประเทศมาเลเซียอนุญาตให้ชาวต่างชาติร่วมทุนกับนุกธุรกิจชาวมาเลเซียก่อตั้ง บริษัทนำเที่ยว โยสามารถถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 51 ขณะที่ประเทศไทย กำหนดให้คณะผุ้บิรหารครึ่งหนึ่งต้องเป็นคนไทย ส่วนประเทศสิงคโปร์ละเวียดนามไม่มีข้อกำหนดใดๆ สำหรับชาวต่างชาติที่ต้องการประกอบธุรกิจนี้
          ทั้งนี้ การประกอบธุรกิจนำเที่ยวในไทยมีจำนวนค่อนข้างมาก เนื่องจากประเทศไทยมีแหล่งท่องเที่ยวให้เลือกอย่งหลากหลาย โดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวนงาม และเ็นทีนิยมของนักท่องเทียวทั้งคนไทยและต่างชาิต โดยข้อมูลล่าสุดเดือน เมษยน พ.ศ. 2555 จากสำนักงานทะเบียบและธุรกิจนำเที่ยว พบว่า มีผุ้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวในประเทศไทยมากถึง 10,507 ราย ซึ่ง่วนใหญ่เป็นผุ้ประกอบการขนาดเล็ก ส่วนจำนวนมัคคุเทศก์ชาวไทยมีกว่า 58,324 ราย ซึ่งร้อยละ 65 สามารถพูดภาษาอังกฤษได้แต่ปัจจุบันอาชีพมัคคุเทศก์ชาวไทยยังมีำม่เพียงพอต่อความต้องการ เพราะส่วนหใญ่จะประกอบอาเชีพนี้เป็นอาชีพอิสระ จึงค่อนข้างเป็นอุปสรรคในการพัฒนาธุรกิจนำเที่ยวของไทยให้มีความพร้อมต่อการเปิดเสรีได้
             ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีควาเห้นว่า การเปิดเสรีประชาคมเศราฐกิจอาเซียนจะทำให้ผุ้ประกอบการธุรกิจนำเี่ยวรายใหญ่จากต่่างประเทศสามารถเข้ามาลงทุนเปิดสาขาบริษัทนำเที่ยวในประเทศไทยไ้ มากขึ้นแม้จะมีข้อกำหนดเกี่ยวกับผุ้บริหารและอาชีพมัคคุเทศก์เป็นอาชีพที่สงวนไม่อนุญาตให้คนต่างด้าวก็ตาม ซึ่งผุ้ประกอบการจากต่างประเทศเหล่านี้อาจจะกลายมาเป็นคู่แข่งที่สำคัญของบริษัทนำเที่ยวในไทย เนืองจกาบริษัทนำเที่ยวต่างชาติจะมีจุดเด่น คือมีฐานลูกค้าในประเทศของตน และจาการที่เป้นผุ้ประกอบการรยใหญ่ ทำให้อำนาจต่อรองในเรื่องของราคามีค่อนข้างสูง ซึ่งก็อาจมีผลกระทบต่อบริษัทนำเที่ยวของคนไทยได้เช่นกัน
            ดังนั้น ผุ้ประกอบการควรจะต้องเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจมีผลต่อธุรกิจของตนด้วยเช่น กัน เช่น
           
- ส่งเสริมการนำเที่ยวเฉพาะด้าน หรือเน้นลูกค้าเฉพาะกลุ่่ม เช่น การนำเสนอการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแก่ลูกค้ากลุ่มนักท่องเที่ยวจาประเทศใน กลุ่มภูมิภาคตะวันออกกลาง ที่ปัจจุบันิยมเดินทางเข้ามารับบริการด้านการแพทย์ในประเทศไทยอยู่แล้ว หรือลูกค้ากลุ่มที่มีศักยภาพทางการเงินจากประเทศเพื่อบ้านที่มีพรมแดนติด กับไทย ทำให้สะดวกในการเดินทาง อาทิ นักท่องเที่ยวในตลาดระับบนของพม่าซึ่งปัจจุบันนิยมเดินทางมาเที่ยวกรุงเทพฯ และรายการนำเที่ยวที่ได้รับความนิยม คือ ไหว้พระในวัดพระแก้ว ชมพระบรมมหาราชวัง จับจ่ายซ์้อสินค้าในศูนย์การ้าชั้นนำนย่านราชประสงค์ และเที่ยวชายทะเลแถบพัทยา ขณะที่นักท่องเที่ยวในตลาดระดับกฃางที่กำลังเติบโตอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ทั้งลาวและพม่ จะนิยมเดินทางข้ามพรมแดนมาท่องเที่ยวพักผ่อน และจับจ่ายซื้อสินค้า รวมทั้งเข้ามารับบริากรด้านการแพทย์ในประเทศไทย ตามเมืองท่องเที่ยวหลักใกล้พมแดน เช่น อุดรธานี ขอนแก่น เชียงราย เชียงใหม่และแม่สอด เป็นต้น
       
- สร้างพันธมิตรทางธุรกิจทั้งภายในกลุ่มธุรกิจเดียวกนและกลุ่มธุรกิจอื่นที่ เกี่ยวข้อง เช่นหากมุ่งเน้นกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ก็ควรจะเป้นพันธมิตรกับหลากหลายโรงพยาบาล หรือธุรกิจบิรการรถเช่า เพื่อบริการรับ-ส่งลูกค้าจากนามบินไปโรงพยาบาล หรือไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ
          - ส่งเสริมการตลาดผ่าน โซเชียล มีเดีย มาเก็ตติ้ง ที่น่าจะเหมาะกับผุ้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก เพราะสามารถลดต้นทุนการทำประชาสัมพันธ์และเข้าถึงลูกค้าทุกกลุ่มได้เป็นอย่างดี
          อย่างไรก็ดี การใช้ื่อออนไลน์ก็มีข้อพึงระวังเพราะหากลูค้าเกิดความไม่พอใจการให้บริการก็อาจจะใช้โลกออนไลน์นี้ในการแสดงความคิดเห็นได้เช่นเดียวกัน ฉะนั้น การรักษาคุณภาพการบริากรให้ได้มาตรฐานสากลเป็นสิ่งที่ผุ้ประกอบการพึง ปฏิบัติย่างต่อเนื่องรวมถึงการพัมนาและให้ข้อมูลล่าสุดผ่านทางเว็บไซตผุ้ประกอบการเืพ่อส่งเสริมให้เป็นอีกหนึ่งช่องทางในการติดต่อและสื่อสารกับลูกค้าโดยตรง
ttmemedia.wordpress.com/2012/06/18/ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน-2/

วันอาทิตย์ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Tourism Agreement (ATA)

          อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็นสาชาหนึ่งของการต้าบริากรซึ่งถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อ
เศรษฐกิจของหลายๆ ประเทศ เนื่องจากเป็นแหล่้งที่มาของเงินตราต่างปรเทศ และยังนำมาซึ่งการจ้างงานที่สคำัญจำนวนมาก โดยจากรายงานข้อมูลขององค์การการท่องเที่ยวโลก ณ เดือนมกราคม 2556 สรุปได้ว่ามีนักท่องเที่ยวเดินทางท่องเที่ยวทั่วโลกถึง พันล้านคน เพิ่มจากปีก่อน 52 ล้านคน ในขณะที่ใน่วยของภูมิภาคอาเซียนนั้น มีจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเยือนในปี 2556 ถึง 92 ล้านคนการเดินทางท่องเที่ยวดังกล่าวทำให้เกิดการจ้างงานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวทั้งแบบทางตรงและทางอ้อมการจ้างงานแบบทางตรงอาท เช่น การจ้างมัคคุเทศก์ หรือการจ้างงานในโรงแรมต่างๆ ของอาเวียน ซึ่งในปัจจุบันมีจำนวนถึง 9.3 ล้านคน คิดเป็น ร้อยละ 3.2 ของการจ้างงานทั้งหมดในอาเวียน นอกจาน้การท่องทเี่ยวยังทำให้เกิดการจ้างงานโดยทงอ้อมด้วย เช่น คนขับรถแท็กซี่ หรืองานอื่นๆ ที่อาจไม่เกี่ยวพันกับธุกิจการท่องเที่ยวโดยตรง อีกเ็นจำนวนถึง 25 ล้านคน จึงเห็นได้วาอาเซียนจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องให้ความสำคัญกับธุรกิจการค้าบริากรโดยเฉพาะอย่างยิงในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
         ประเทศสมาชิกอาเวียนจึงได้มีกาลงนามในข้อตกลงหลายด้านเพื่อากรพัฒนาการท่องเที่ยวร่วมกันอาทิ เช่น ข้อตกลงท่องเที่ยวแห่งแาเซียน หรือ กรอบความตกลงอาเซียนด้านการบริการ และข้อตกลงอาเซียนด้านบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ย เป็นต้น
       
สำหรับขอ้ตกลงอาเซียนด้านบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว นั้น ถือเป้รูปแบบล่าสุดของการพัฒนาความร่วมมือด้านการต้าบริการของอาเวยน ซึ่งมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณสมบัติของผุ้ให้บริการซึ่งเป็นประชาชนชาวอาเวียนให้มีคุณภาพได้รับการยอมรับทั้งจากองค์กรภายในประทศของตนและสามารถที่จะไ้รับการับรองจากประเทศสมาชิกอาเวยนที่รวมลงนามในข้อตกลงนี้ด้วยความร่วมมือนี้มุ่งเน้นสนับสนุนการเคลื่อนย้ายผุให้บริกรวิชาชีพทางการท่องเที่ยวภายในภูมิภาค ให้อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์และข้อบงคับของประเทศสมาชิก และเพื่อเพ่ิมควาเท่าเที่ยมกัน รวมทั้งประสิทธิภาพของทรัพยากรบุคคลด้านการทองเที่ยวโดยการใช้มาตฐานสมรรถนะพื้นฐานการท่องเที่ยว เป็นหลัก
          นอกจากนี้อาเวียนยังจะจัดทำมาตรฐานสมารรถนะพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน ให้แล้วเสร็จและสามารถนำไปใช้้ได้ในประเทศสมาชิก โดย ACCSTP จะระบุถึงสมรรนะพื้นฐานขั้นต่ำของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวที่ต้องการทำงานในสายงานสาขาต่างๆ ด้านการท่องเที่ยวในออาเซียน หากบุคลากรด้านการท่องเที่ยวมีสมรรถนะและความสามารถในการให้บริการตามข้อตกลงพื้นฐานของอาเซียนแล้วนั้นก็สามารถเดินทางไปทำงานในประเทศสมาชิกต่างๆ ได้ อย่างไรก็ต้องเป็นไปตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ของประเทศนั้นๆ ด้วย
         การกำหนดมาตรฐานดังกล่าวจึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อรปับปรุงคุณภาพการบิากรการท่องเที่ยวและสนับสนุนการพัฒนาความร่วมมือทางด้าน MRA ระหว่งประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นสำคัญ คุณสมบัติของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเวียนจะได้รับการยอมรับจากประเทศสมาชิกอาเวียนทั้งหมดทีลงนามในข้อตกลงฯ วึ่งหมายคึวาว่าบคุลกรที่ได้รับประกาศนียบัตรสมรรถนะวิชาชีพบริการท่องเที่ยวในสาขาที่ระบุใน ACCSTP จากหน่วยงาน The Tourism Professional Certification Board (TPCB) ที่รับของประเทศนั้นๆ ก็จะสามารถทำงานใน
ประเทศสมาชิกอาเวียยอื่นๆ ได้ด้วย โยสิทธิการทำงานจะอย่ภายใต้กฎหมายและข้อบังคับของประเทศที่บคคุลผุ้นั้นภูกจ้างงาด้งนั้นประกาศนียบัตรดังหล่วจึงถือเป้ฯเครื่องรับรองสำคัญสำหรับผุ้ที่ต้องการสมัครงานด้านการท่องเที่ยวในประทศสมาชิกอาเวียนข้อตกลงดังกล่าวจะช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการทองเที่ยวในภูมิภาคและการเคลือนย้ายเสรีของแรงงานบุคลการวิชาชีพท่องเที่ยวของอาเว๊ยนให้สะดวกและขยายตัวอย่งรวดร็วต่อไป
         การพัฒนาในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของอาเวียยถือ่าเป็นดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่องสมาชิกอาเวียนทั้ง 10 ประเทศ ได้ร่วมกันพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกันอย่งจริงจัง นอกจากข้อตกบลงต่างๆ ที่ได้มีการลงนามร่วมกันแล้วยังได้มีการวางหลักสูตรเพื่อพัฒนาบุคลากรในสายการท่องเที่ยวให้เป็นมตรฐานเดี่ยวกัน หลักสูตรการท่องเที่ยวแห่งอาเซียน หรือ นี้จะช่วยให้บุคลากรในสายการท่องเที่ยวมีศักยภาพที่ทัดเที่ยมกันและมีความสามารถสูงทีจะแข้งขันกับภุมิภาคอื่นต่อไป...www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1394189306
       

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...