วันพุธที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Tax structure

          โดยทั่วไปแล้วภาษีเป็นเครื่องมือของรัฐบาลเพื่อบรรลุเป้าหมายหลากหายประการ เช่น เพื่อการายได้ให้แก่รัฐบาล เพื่อส่งเสริมและจำกัดกิจกรรมทงเศราฐกิจบางประเภท เืพ่อรักษาเสถียรภาพของระบบเศราฐกิจเพื่อลดความเหลื่อล้ำในการกระจายรายได้อีกด้วย อย่างไรก็ตามความสำคัยของแต่ละเป้าหมายมีพัฒนาการและเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละช่วงเวลา โดยความสำคัยของเป้ากมายในการดำเนินนโยบายภาษีถูกเปลี่ยนไปจากขช่วงแรกที่เน้นการสร้างความเท่าเที่ยมกนไปเน้นที่การสร้างความเจริญเติบโตทางเศราบกิจ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากแรงกดดันที่มาควบคู่กับกระบวนการโลกาภิวัตน์ึ่งทำให้การเคลื่อนย้ายทรัพยากรมีลักษณะไร้พรมแรนมากขึ้น 
         ศักยภาพของการใช้ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเพื่อเป็นเครื่งอมือในการลดความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้มีความแตกต่างกันไปนแต่ละประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศกำลังพัฒนาจะมีข้อจำกัดมาก  และสำหรับกรณีของไทนนั้น คึวามสามารถ ของภาาีเงินได้บุคคลธรรมดาในการแก้ไขปัญหากระจายรายได้ยังคงมีข้อจำกัดมาก การมีภาครัฐที่มีขนาดเล็ก ทำให้รัฐบาลไทยไม่สามารถใช้เครื่องมือทางด้านรายจ่ายเพ่อลดวามเหลื่อมล้ำในสงคมได้มากนัก การมีภาครัฐที่มีขนาดเล็ก ทำให้รัฐบลไทยไม่าสามถใช้เคื่องมือทางด้านรายจ่ายเพื่อลดความเหลื่อล้ำในังคมได้มากนัก
       
ระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของไทยนอกจากจะมีผุ้มีงานทำจำนวนมากที่ไม่อยู่ในระบบภาษีแล้วการกระจายภาระภาษีระหว่งผุ้มีเงินได้สุทธิในชั้นเงินได้ต่างๆ มักมีความเหลื่อมล้ำกันอยู่มาก และภาระภาษีมีการกระจุกตัวอยุ่ที่คนส่วนน้อย ทั้งนี้ การใช้มาตรการทางภาษีเงินได้บุคคลธรรมดเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสงคมจะสามารถทำได้ก็ต่อเมือระบบการจัดเก็บภาษีมีประสิทธิภาพและผุ้มีงานทำส่วนใหญ่ในสังอยู่ในระบบภาษีแต่ด้วยเหตุที่เงื่อนไขดังกล่าวมิได้เกิดขึ้นกับกรณีของประเทสไทย ดังนั้น กรใช้มาตรการภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคมและช่วยเหลือผู้มีรายไ้ด้น้อยจึงควรใช้ควบคู่ไปกับมาตรการทางด้านรายจ่ายด้วย
             นักเศรษฐศาสตร์ได้ให้ความสนใจมาเป้นเวลาช้านานเกี่ยวกับบทบาทของเครื่องมือทางภาษีอากรในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้ของไทย ซึ่งแม้ว่าแต่ละประเทศจะมีส่วนปสมขององค์ประกอบระหว่างภาษีชิดต่างๆ แตกต่างกันไป และในปัจจุบันก็ยังคงไม่มีทษฎีเกี่ยวกับส่วนผสมของภาษีที่เหมาะสม ใดที่เป็นที่ยอมรับกันแพร่หลาย แต่อาจกล่าวได้ว่่า ในทางทฤษฎีแล้ว ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็เนครืองมือสำคัญที่สุดในการทำนห้าที่ลดควมเลหื่อมล้ำดังกล่วในสวนนี้จึงมุ่งตรวจสอบว่่า ในทางทฤษฎีแล้ว ภาาีเงินได้บุคคลธรรมดเป็เนครื่องมือสำคัญที่สุดในการทำหน้าที่ลดความเหลื่อมล้ำดังกล่าว ในส่วนนี้จึงมุ่งตรวจอบว่า ในกรณีของประเทศไทยนั้นการใช้ภาษีเงินได้บุคคล
ธรรมดาเพื่อทำหน้าที่กระจายรายไ้ดได้มากน้อยเพียงใดโดยทั่วไปแล้วภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป้นองค์ประกอบที่สำคัญัของระบอบประชาธิปไตยและทุนนิยม ซึ่งแม้ว่าภาษีดังกล่วจะมีข้อจำกัดอยูมาก แต่ก็ถือได้ว่าเป็น "สัญลักษณ์" ที่สำคัญของความใส่ใจในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายรยไ้อนเกิดจกระบบเศราฐกิจแบบตลาด อย่างไรก็ตามผุ้วิจัยมีข้อสังเกตต่อภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอย่างน้อย 2 ประการ คือ
            ภาษีเงินได้บุคคลธรรดาของไทยช่วยบลดความเลหื่อมล้ำในการกระจายรายไ้ได้น้อยมา ทั้งนี้เพราะฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดามิได้มีความครอบคลุมผุ้เสียภาษีไ้ด้มากเท่าที่ควรและมิได้มีความก้าวหน้ามากนัก โดยเฉพาะิย่างิย่ง ภาษีดังกล่าวักจำกัดอยุ่ที่การหักภาษี ณ ที่จ่ายจากลูกจ้าง ี่อยู่ในระบบการทำงานที่เป้ทางการ ซึ่งบทบาทอันจำกัดของภาษีดังกล่าวสะท้อนออกมาทั้งในรูปของสัดส่วนของรายได้จากภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อรายได้ภาษีทั้งหมด และสัดส่วนของรายไ้ดภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อ GDP
         
และ จากงานศึกษาในกรณีของประเทศไทยเกี่ยวกับผลของการใช้เครื่องมือทางการคลังต่อากรกระจายรายได้นั้ เกือบทั้งหมดมัจะเน้นไปที่การศึกษาเี่ยวกับระบบภาษี ซึ่งงานเหล่านั้นมัตั้งคภถามว่า ระบบภาษีของไทยเป็นระบบก้าวหน้าหรือถดถอย ซึ่ง "ปีเตอร์ วาว์(2003) ได้ให้ความเห้นว่าการตั้งคำถามในลักษระดังกล่าวเป้นเรื่องที่น่าประหลาดมาก กล่าวคือ รายได้ภาษีของไทยส่วนใหญ่มาจากภาษีทางอ้อม ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นที่คาดหมายได้อยู่แล้วว่า เป็นไปไม่ได้ที่ระบบภาษีของไทยจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อการกระจายรายได้ ซึ่งผลการศึกษาต่างๆ ก็ยนยันปรากฎการณ์ดังกล่ว ด้วยเหตุนี้ผุ้วิจัยเห็นว่า การใช้มาตการทางด้านรายจ่ายเป็นส่ิงสำคัญในการส่งเสริมให้เกิดการกระจายรายได้ โดยรัฐบบาลไทยควรต้องพัฒนาระบบประกันสังคมและพัฒนาสวัสดิการ เช่น การนำระบบการเครดิตภาาีเงินได้เนพื่องจากการทำงาน มาใช้ ซึ่งเป็นการใช้ระบบภาษีควบคู่กับการโอนเงิน อันจะสามารถรบุตัวผุ้รับประโยชน์ ไดอ้ยอ่างมี
ประสิทธิผล เช่น สามารถกำหฟนดรายได้ของครอบครัวจำนวนเด็กในครอบครัว หรือคุณลักษระอื่นๆ
           สำหรับประเทศไทย แม้ว่จะมีการปรับโครงส้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรมดหลายครั้ง แต่ก้ยังคงเป็นโครงสร้างอัตราแบบก้ายหนา มาโดยตลอด เพรียงแต่เป็นการปรับช่วงเงินได้ในแต่ละชั้นให้กว้างขึ้น และลดจำนวนชั้นของเงินได้พร้อมทั้งปรับลดอัตราภาษีในแต่ละขึ้นลง การที่ความก้าวหน้าของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาลดต่ำลงเรื่อยๆ ในด้านหนึ่งย่อมเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพ
ของระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เพราะเป้นการจูงใจให้ผุ้มีรายได้สุงทำงานมากขึ้น ในทางตรงกันข้ามก้ทำให้ความเลหือล้ำในการกระจายรายได้สูงขึ้น ทั้งนี้เพราะผุ้มีรายได้สุงจะได้รับประโยชน์จาการลดความก้าวหน้าของภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดมากกว่าผุ้มีรายได้ต่ำ
           ตลอด 30 ปีที่ผ่านม ประเทศไทยปรับโครงสร้างภาษีอัตราภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดามาแล้ว 4 ครั้ง โดยสามารถแบ่งเป็นช่วงต่างๆ ดังนี้
            - ตั้งแต่ปี พ.ศ.2525 ในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ข่วงนั้นโรงร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเน้นหนักไปที่เรื่องการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม โครงสรางอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจึงเป็นระบบภาษีอัตราก้าวหน้าแบบขั้นบันได มีทั้งหมด 13 ขั้นอัตรา โดยเร่ิมเก็บภาษีจากคนจนที่มีรายได้สุทธิไม่เกิน 30,000 บาท เสียภาษีอัตรา 7% จนกระทั่งถึงคนรวยที่มีรายไ้ดสทุธิเกิน 2 ล้านบาทขึ้นไป เสียภาษีที่อัตรา 65%
            - ช่วงปี พ.ศ. 2529 - 2531 ได้มีการปรับคึวามหว้างของแต่ละขั้นเงินได้ให้กว้างขึ้น และปับลดขั้นเงินได้สุทธิจาก 13 ขึ้นอัตราเหลือเพียง 11 ชั้น โดยชั้นอัตราภาษีอยู่ระหวาง 7-55%
             - ปี พ.ศ. 2529 ช่วงปลายสมัยรัฐบาลพลเอกปรม มีการปรับโครงสร้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรดาอีกครั้ง จากเดิม 13 ขันอัตรา ปรับลดลงมาเหลือ 11 อัตรา โดยผุ้ที่ได้รับประโยชน์สูงสุดจากโครงสร้างภาษีใหม่ เป็นกลุ่มคนที่มีรายได้สูงลงมาจนถึงกลุ่มคนที่มีรายได้ปานกลางได้รับส่วนลดภาษีไป 10% เช่น ผุ้ที่มีรายได้สุทธิเกิน 2 ล้านบาทขึ้นไป เดิมเสียภาษีที่อัตราลดลงจากโครงสร้งางเดิม 10% ขณะที่กลุ่มผู้มีรายได้ไม่เกิน 30,000 บาท ไ่ได้ประโยชน์จากการปรับคร้งนี้ ยังคงเสียภาษีในอัรา 7% เท่าเดิม
         
 - ปี พ.ศ. 2532 ในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัฒ เป็นนายกรัฐมนตรี มีการปรับโครงร้า
อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครั้งใหญ่ โดยผุ้ที่ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการปรับโครงสร้างภาษีครั้งนี้ยังคงเป็นกลุ่มคนที่มีรายได้สูง เช่น (ุ้ที่มีรายได้เกิน 2 ล้านบาทขึ้นไ เดิมเสียภาาีทีอัตรา 55 % ลดเหลือ 50% ผุ้ที่มีรายได้อยู่ในช่วง 1-2 ล้านบาท จาก 50% ลดเหลือ 40% รายได้ 7.5 แสนบาท - 1 ล้านบ้า จาก 45% ลดเหลือ 30% รายได้ 5.5 แสนบาท -7.5 แสนบาท จาก 40% ลดเหลือ30%1 ...
          - ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2535 ในสมัยรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน ประเทศไทยมีการนำระบบภาษีมูลค่าเพิ่มมาใช้แทนภาษีการต้า พร้อมกับปรับโครงสร้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเหลือเพียง 5 ขั้นอัตรา โดยกลุ่มที่ได้รับอานิสงส์มากสุดยังตกอยุ่กับกลุ่มคนที่มีรายได้ดี เช่น มีรายได้ เกิน 4 ล้านบาทขึ้นไป จาก 50% ลดเหลือ่ 37% ...
           หลังจากปี พ.ศ. 2535 แม้ว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี หรือช่ว
ของเงินได้สุทธิในแต่ละชั้น แต่ก็ยังมีการออกมาตรการภาษีเพื่อบรรเท่าภาระภาษีของกลุ่มผุ้มีารยได้น้อย และมีการปรับเพ่ิมช่วงเงินได้สุทธิที่ไม่ต้องเสียภาาีมาอย่างต่อเนื่องตามลำดับ..ซึ่งลักษณะดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่า ในกรณีของไทยนั้น ภาษีนอกจากจะเป็นเครื่องมือในการหารายได้ให้แก่รัฐแล้ว ยังเป็นเครื่องือที่สำคัญในการกำหนดนโยบายทางังคมอีกด้วย...http://v-reform.org/u-knowledges/taxreform/

วันจันทร์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2560

So what ? Inequality


         แต่ที่ผุ้เขียนคิดว่าน่าวิตกยิ่งกว่าภัยต่อเศราฐกิจคือ ภัยต่อการอยุ่ร่วมกันในสัคมอย่งสงบสุข


รูปภาพที่เกี่ยวข้อง         ตัวอย่างการ "เฟรม" แบบน้คือสิ่งที่ OECD พยามจะผลักดัน รายงาน จาก OECD ชี้นนี้ชี้ว่า เราควรลดความมเหลื่อล้ำเพราะความเหลื่อ้ล้ำทำให้เศรษฐกิจโตด้วยอัตราที่ต่ำลง (ถึงแม้ว่านักวิจัยจะยังไม่สามารถตกลงกันด้วยหลักานได้ว่าเป็นเพราะเหตุใด...) โดยผ่านแนวทางที่นักเศราฐกศาสตร์ตั้งสมมติฐานไว้เช่น 1.ความเหลื่อล้ที่มากขึ้นทำให้ประชาชนเรียกร้องให้ขึ้นภาษีธุรกิจ ขอให้ทำการกำกับดูแลที่รัดกุมขึ้น หรือประท้วงไม่เอานดยบายที่เป้นการช่วยเหลือกกลุ่มธุรกิจ 2" ความเหลื่อมล้ำที่มากข้นในังคมที่มี "ไฟแนลเชียล มาร์เก็ต อิมเพอร์เฟคชั่น" อยุ่แต่เดิมแล้วจะทำให้คนที่ฐานะไม่ดีไม่สามารถลงทุนในส่ิงที่ควรลงทุนเพื่อก่อให้เกิดผลตอบแทนอันมหาศาลต่อทั้งผุ้ลงทุนและผลผลิตของชาติ (ิช่นการลงทุนในการศึกาที่มีคุณภาพ)


          อย่างไรก็ตาม ผุ้เขียนก็เข้าใจว่าทำไมหลายองค์กรค์ที่ต้องการลดระดับความเหลื่อล้ำถึงมักตีกรอบ ปัญหาความเหลื่อล้ำให้เป็นปัญหาเศราฐกิจ การframe ปัญหาความเหลื่อมล้ำในมุมองของการเติบโตของเศรษบกิจทำให้หลายคนเลิกกังวลว่าการที่ภาครัฐดำเนินนโยบยเพื่อลดความเหลื่อมล้ำที่เข้มขนขึ้นนัน ถึงแม้อาจเป็นการลดแรงจูใจในการทำงานแต่บวกลบออกมาแล้วมีผลป้นบวกต่อัตรการเติบดตของเศราฐกิจ และมันคงจะเป็นวิธี "เฟมส์" ที่เป็นไปในทางปฏิบัติ ที่สุดแล้วในการมัใจผุ้คน (และผุ้มีอิทธิพล) ให้หันมาเหลี่ยวแลปัญหานี้ได้


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ความเหลื่อมล้ำใน อเมริกา
          ขระที่หลายฝ่ายกำลังให้ความสนใจกับภัยจากระดับความเหลื่อล้ำสุงใน 2 ด้านหลักๆ คือ ภัยต่อเศรษฐกิจ และภัยต่อสังคม ในอีกมุมองหนึ่ง (ผู้เขียน) คิดว่าการเจิรญเติบโตของเศรษฐกิจเป็นเรื่องสำคัญ แต่ในขณะเดียวกันเราไม่ควรคิดจะแ ก้ปัญหาความเหลื่อล้ำเพียงแค่เพราะว่ามันจะทำให้เศราฐกิจโตเร็วขึ้นหรือต่อเนื่องขึ้น โดยมองว่า หนึง เศราบกิจที่โตวันดตคืน คือจุดหมายที่แท้จริงของการแก้ไขปัญหาความเหลื่อล้ำ และ สอง หากวันดีคืนดีเราเกิดไปเจอวิะีเพ่ิมอัตราเติบโตของเศรษฐฏิจที่ทำได้ง่ายกว่าการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำคภถามที่น่าคิดคือ จะยังมีใครยอมเหน็นดเหนื่อยเพื่อแก้ปัญหานี้อีกหรือไม่ และสาม คือ ผุ้เขยนเป็นห่วงย่าเรายังไม่เข้าใจความเหลื่อมล้ำดีพอที่จะตอบคำถามว่า แล้วเมื่อเศราฐกิจเติบโตขึ้นแล้วจะเกิดอะไรขึ้นกับความเหลื่อมล้ำในอนาคต งานวิจัยทางเศราฐกศาสตร์ด้านความเหลื่อมล้ำที่ใช้ข้อมูลคุณภาอย่างที่ทีมวิจัยของ ปีเคตตี ใช้นั้นยังมีไม่มาก แม้ว่าพักหลังนี้เร่ิมมีงานวิจัยที่นำเสนอหลักฐานจากการหาความสัมพันธ์ทางสถิติระหวางมาตรการเพื่อลดความเหลื่อล้ำกับความต่อเนื่องในอัตราเติบโตของเศรษกบิจ เราคงยังต้องรอดุกันต่อไเพราะว่าการหาความสัมพันะ์กับการเป็นเหตุเป็นผลกันมันไม่ใช่อย่างเดียวกัน

          ตัวอย่างการ "เฟรม" ปัญหาควมเลหื่อล้ำในมุมองของการเติบโตของเศราฐกิจทำให้หลายคนเลิกกังวบลว่าการที่ภาครัฐดำเนินนโยบายเพื่อลดความเหลื่อล้ำที่เข้ามข้นขึ้นนั้น ถึงแม้อาจเป้นการลดแรงจูงใจในการทำงานแต่บวกลบออกมาแล้วมีผลเป็นบวกต่ออัตรการเติบโตของเศราฐฏิจ และมันคงจะเปป้นวิธี "เฟรม" ที่เป้นไปในทางปฏิบัติ ที่สุดแล้นวในการมัใจผู้คน (และผุ้มีอิทธิพล) ให้หันมาเหลียวและปัญหานี้ได้
         ที่จริงแล้วการที่ใครบางคนร่ำรวยกว่าคนส่วนมากมันก็ไม่้ได้เปนปัญหาในัวมันเองมากนักตรอบใดที่คนส่วนมากยงมีรายได้พอกินพอใช้ แต่สิ่งนี้จะเป้นปัญหาได้ก็เพราะว่ามัมีความเป้นปได้สูงที่คนกลุ่มอภิมหารวยกลุ่มนี้จะสามารถยึดคองสิ่งอื่นๆ ในสังคมนอกจกแค่เม็ดเงินได้ด้วย
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ความเหลื่อมล้ำใน อเมริกา
          มุมมองนี้เป้น มุมมองที่ "โจเซฟ อี. สทิจลิทซ์" เขียนเอาไว้ในหนังสื่อของเขา สองเล่ม โดยมองว่า การที่ความมั่งคั้งเกินครึ่งไปกระจุกอยู่บนยอดปลายแหลมของพีระมิดสังคมจะมีผลทำให้ระบอบประชาธิปไตยขัดข้องและถดถอยจากระบบ "วัน เพอร์เซน วัน โหวต" ไปเป็น วัน ดอลล่าร์ วัน โหวต" ที่กลุ่มธุรกิจหรืกลุ่มที่มั่งคั่งกว่าสามารถล็อบบี้หรือแม้กระทั่วกดดันรัฐบาลเพื่อให้ออกกฎหมายที่สามารถดยกย้ายทรัพยากรเพื่อผลประโยชน์ของตัวเอง แทนที่ว่าการกรำทำของรัฐบาลจะสะท้อนความต้องการของประชากรอมู่มาก และสุดท้ายความเลหื่อล้ำนี้จะทำให้ความแค้นสั่งสมในหมู่ประชาชนจนกลางเป้นชนวนก่อให้เกิดวิกฤติความขัดแย้งกทางการเมืองได้ในที่สุด
          ในสังคมอเมริกันทุกวันนี้ "สติจลิทซ์" ยกตัวอย่างทีเ่ห็นได้ชัดคือแม้ว่าประชาชนจะห็นวาระบบการเก็บภาษีเงินได้นั้นไม่แฟร์แต่ไปๆ มาๆ บุคคลที่ร่ำรวยที่สุด 400 คนกลับจ่ายภาษีเงินได้น้อยกว่า 20% ของรายได้ทั้งๆ ที่จริงๆ แล้วควรจะจ่ายเป็นเปอร์เซ็นต์ที่สูงกว่านั้นตามระบบภาษีแบบ ก้าวหน้าที่สหรัฐฯ เป็นประเทศแรกๆ ที่ริเริ่มมัน อีกทั้งลริษัทยักษ์ใหญ่มากมาย เช่นบริษัท เจอรืเนอรอล อีเลกทริก นั้นลททุนไปกับการหาช่วงโหว่ของกฎหมายภาษีถึงขั้นที่ว่าในสิบปีระหว่างปี เจอร์เนอรัล อีเล็ทริก จ่ายภาษีไปแค่เฉลี่ยแล้วปีละ 1.8%ผุ้เขียนไม่แน่ใจจริงๆ ว่าควรจะชมว่าเก่งหรือโกงดี เพราะว่าเขาไม่ได้ทำผิดกฎหมาย (คงทั้งคู่)
          ในสายตาของ สติจลิทซ์ สังคมในอุดมคิที่ชาวอเมริกันเคยภาคภูมิใจนั้นกลับหลายเป็นสังคมที่คนรวยมีโอกาสได้เข้าถึงการศึกษาคุณภาพที่ดีกว่าคนจนเป้นสังคที่คนจนมีอุปสรรคเมื่อต้องกาเข้ารักษาสุขภาพ เป็นสังคมที่ถึงแม้คนรวยจะฉีกตัวห่างจากคนจนไปจนไม่เห็นฝุ่นแต่ค่าแรงขึ้นต่ำขณะนี้ดันน้อยกว่าสมัยเมื่อ 50 ปีที่แล้ว ทั้งๆ ที่เศรษฐกิจปัจจุบนก็โตช้ากว่าและคนก็ไม่ได้ว่างงานน้อยกว่าด้ยเท่านี้ยังไม่พอคน่วนมากยังจ่ายภาษี เป็นเปอร์เซ็นต์มากกว่คนที่ฐานะดีอีกด้วย
           ทั้งหมดนี้บ่งบยองว่าอุดมการ์ของชาติอเมริกันกำลังเพี้ยนไปอย่งรุนแรง จริงอยู่ที่สหรัฐฯ เป็นชาติที่ให้ควาสำคัญกับการแข่งขัน แต่ทุกวันนี้ อเมริกัน ดรีม กลับกายเป้นฝันร้ายแห่งความเลหื่อมล้ำที่ผิดเพี้ยนไปเป้ฯว่าชาวอเมริกันไม่มีทางเลือก ไม่มีความเป็นธรรมในโอกาศทางสังคม แต่ยังจำเป็นนต้องชิงดีชิงเด่นไต่บันไดฝันอย่างเอาเป็นเอาตายเพื่อขึ้นไปตัดพายชิ้นใหญ่ให้กับตัวเอง กลายเป็นสัังคมที่เอาตัวรอดแบบสุดขั้วเพราะว่าหากปล่อยให้คนอื่นไต่บันไดฝันแซงเราไปหรือเราลพลั้งพลาดหล่าลวาหน่อยก็จะอดตายหรือป่วยตายได้
          สิ่งที่หนังสื่อ "แคปปิตอล" กำลังเตือนเราก็คือ หลายสังคมบนโลกโดยเฉพาะอยางยิ่งสังคมอเมิรกัน หรือสังคมที่พยายามทำตัวให้คล้ายสังคอเมริกัน คล้ายกับว่าระดับความเหลื่อมล้ำที่สูงนั้นทำให้ยิ่งคนเราอยู่ใกล้เชิงบันได อเมริกัน ดรีม เท่าไร แต่ละขั้นบันไดมันย่ิงห่างกันมากขึ้น นั้นก็คือ การเราเกิดร่วงลงไป หรือโชคไม่ดีเกิดมาแถวๆ เชิงบันไดขึ้นมา มันจะทำให้เราปีนกลับขึ้นมาได้ยากมาก ส่วนเด็กๆ ที่โชคดีนั้นเกิดมาอยุ่บนปลายบันไดเลย ต่อให้ไ่ปีนป่ายเลยสักขั้นเดียวก็คงจะไม่เป็นไรนัก
          บางคนอาจมาอง่าแบบนี้ก็ดีแล้วสัคมจะได้รีดเค้นเอาหัวกะทิออกมาจากกองมนุษย์ะรรมดา ๆ ทังหลาย ไ่ต่างจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ที่จะทำให้มนุษย์ที่เหลือยุ่มีแต่พวกที่ "สมควรอยู่กว่า" ...https://thaipublica.org/2015/12/settakid-16/

วันอาทิตย์ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Cause of inqaulity II

            ปัจจัยที่หลายคนคิดว่าเป็นต้นตอของความเหลื่อล้ำนั้นมีตั้งแต่ความบ้ำมเหลวงของสมาคึมแรงงานในยุคหลังๆ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนลโยีซึ่งทำให้เกิดความต้องการแรงงานที่มีลทักษะสุงและกิดการ "โละ" แรงงานทักษระต่ำ ไปจนถึงความเหลื่อล้ำทางโอกาสการศึกษา ซึ่งวทั้งหมดนี้นักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห้นว่าเป้นปัจจัยสำคัญ แต่ไม่สามารถอธิบายระดับความเหลื่อล้ำที่เราเห้นอย่างในกรณี "รวยกระจุกแล้วแยกวง" ที่ ปิเคทตี้ นำเสนอใน หนังสือ "แคปปิตอล"
          แนวคิดของ Piketty ทีเกี่ยวข้องเหนื่อกับต้นตอของปัญหานี้ โดยกล่งถึงบทยาทของความสัมพันธืระหว่างอัตราผลตอบแทนจากทุนกับอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจในการทำให้เกิดป็ญหาความเหลื่อล้ำ
          Piketty คิดว่าบทบาทของอัตราผลตอบแทนของทุนและอัตราเติบโตของเศราฐกิจมีส่วนสำคญในการก่อให้เกิดความเหลื่อล้ำ เขาเขียน 3 fundamental laws ไว้ในหนังสือ Capital ดังนี้
          1. a _ r x β —– ซึ่งแปลเป็นภาษาคนว่าส่วนแบ่งของรายได้ประชาชาติในเศราฐกิจที่ตกเป้นของผุ้ถือครองทุน (a) นั้นจะเท่ากับอัตราผลตอบแทนจากทุน (r) คุนกับอัตราส่วนระหว่างปริมาณทุนต่อปริมาณรายได้ (β )
          2. ในระยะยาว β s/g —–  นั่นคือ อัตราส่วนระหว่างปริมารทุนต่อปริมาณรายได้ (β) จะต้องเท่ากับอัตราการออกม (s) หารด้วยอัตราเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจ (g) ในระยะยาว
          3. หาก r > g เมื่อไหร่ ผุ้ที่ถือครองทุนจะค่อยๆ ได้รับสัดสวนรายได้ท้งหมดของเศราฐกจที่เพ่ิมขึ้นโดยไม่่รุ้จบและจะก่อให้เกิดความเลื่อล้ำมากขึ้นเรื่อยๆ
          Piketty เร่ิมต้นด้วยการใช้ข้อมุลที่ชี้ให้เห็นวา อัตราส่วนระหวางประมาณทุนต่อประิมาณรายได้ (β) ในหลายประเทศ เช่น สหรัฐฯ และฝรั่งเศสนั้นเพ่มิขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1050 จนเกือบเท่ากับในสมัยศตวรรษที่ 19 และคาดว่าจะขึ้นจาก 4.5 ในปี ค.ศ. 2010 ไปถึง 6.5 เมื่อสิ้นศตวรรษนี้
          ลองสมมติว่ามีเศณาฐฏจที่ดตปีละ 5% (g) และมีการออม (s) 10% ของรายได้ทั้งหมดของประเทศ หากเศราฐฏิจปีนี้มีรายได้ประชาชาติ หนึ่งร้อยบาท แสดงวาเราจะได้ออม 10 บาท(ซึ่ง ปีเคทตี้ เรียกแบบหลวมๆ ว่า "แคปปิทอล" หรือทุน) การที่อัตราสวนระหว่างปริมาณทุนต่อปริมาณรายได้ (β) จะคงที่ไปตลอดกาลตามกฎข้อสองได้นั้นทุนที่ออมไว้จะต้องมีปริมาณเท่ากับ 200 บาท ปีนี้ β จึงจะเท่ากับ 2 (นำมาหารกัน) เมื่อเราได้เข็มนาฬิกาเดิน ปีหน้ารายได้ประชาชาติจะเป็น 105  (โต 5%) และทุนจะเป็น 210  (เพ่ิมขึ้นมาด้วยเงินที่ออกมาจากรายได้ประชาชาติ 100 บาท) β จึงจะคงที่ที่ 2 ไปเร่อยๆ ตลอดกาล ทั้งนี้ เขามองว่าดลกข้างหนาน่าจะมีอัตราออมเฉลียประมาณ 10% และอัตรเจิรญเติบโตทางเศณาฐฏิจน่าจะลดลงไปเหลือราวๆ 1 ถึง 2% จนทำให้ β บีขึ้นไปเกือบึง 7
           ชั้นถัดไปคือ ตามกฎข้อแรกหากคุณเอาอัตราผลตอบแทนจากทุน (r) ในเศณาฐกิจมาคุณกับ β ที่เราคำนวณไว้เมื่อครู่ก็จะได้สิ่งที่เรียกว่า "ส่วนแบ่งของทุนจากรายได้ประชาชาติ (a)" จากตัวอย่าง β  = 2 จะเห็นว่าหากคุณคาดว่า r จะมีค่าประมาณ 4% ต่อปี ส่วนแบ่งของทุนจะเป็น 9$( 2*4%) ของรายได้ประชาชาติ แต่ในตัวอย่าง คาดว่า β จะสูงขึ้นไปเฉียด7 ในอนาคต ส่วนแบ่งของทุนจะพุ่งขึ้ไปถึง 28% (7*4%) ของรายได้ประชาชาติ และจะขึ้นไปมากกว่านี้อีกหาก r สูงกว่า 4% ด้าคิดเล่นๆ ว่  r จะขึ้นไปถึง 6% ขึ้นมา ส่วนแบ่งของทุนจะขึ้นไปถึง 42% (7*6%)  ของรายได้ประชาชาติเลยที่เีดยว ส่วนที่เหลื่อ 58% คือส่วนแบ่วของรายได้ที่มาจากการทำงาน (ที่มนุษย์เงินเดือนและแรงงานปกติเป็นผุ้ถือครอง)
         นี้คอกรรีที่ชี้ให้เห็นถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นเมืออัตราผลตอบแทนจากทุนมากกว่าอัตราเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจ (r>g) ใน กรณีที่ β = 7 และ r = 6% > g หากมีคนแค่ไม่กีคนถือครองทุนส่วนมาก ก้จะแปลว่าคนกลุ่มเล็กๆ นี้จะได้รับส่วนแบ่งจากการที่เศราฐกิจเติบโตทุกปีไปเต้ฒๆ 42% ของรายได้ประชาชาติ คนกลุ่มนี้อาจรวนกลุ่มเล็กๆ นี้จะได้รับส่วนแบ่งจากการที่เศณาฐกิจเติบโตททุกปีไปเต็มๆ 42% ของรายได้ปรชาชาติ คนกลุ่มนี้อาจรวยมากไม่ต้องทำงานเลยก็จะยังเห้ฯรยได้จากทุนโตขึ้นราว r = 6% ต่อปี ซึ่งสูงกว่อัตราที่รายได้จากหยาดเวื่อในการทำมาหากินโดยคนส่วนใหย่ที่จะโตได้แค่อย่างมากเท่ากับอัตราเติบโตของเศราฐกิจ ซึ่งหลายคนคาดว่าจะต่ำลงเรื่อยๆ
         หนังสือ Capitalไม่ได้เน้นเรื่องพฤติกรรมการออมมากนัก มันเป้นไปได้ที่คงามเหลื่อล้ำที่กฎข้อสามทำนายไว้จะไม่เกิดขึ้นหากชนชั้นกลางออมเก่งเพื่อไเอาประดยชน์จาก r > gและพวกทอป 1% กลับไม่ยอมออมเลย อย่างไรก็ตาม สิ่งนี้คงเกิขึ้นยากมาก ในชีวิตจริงคนที่ร่ำรวยมากๆ มักจะมอัตราการออมที่สุงกว่าคนส่วนมาก เพราะว่า พวกเขามีรายได้สุงเกินพอให้เหลื่อใช้ และพวกเขาเลื่อทีจะออมภาพที่ "ปิเคทตี้ เห็นจึงเหมือนเป็นการกลับมาของทุนนิยมมรดกท่จะเข้ามามีบทบาทแทนที่การขยันทำงานขยันประดิษญ์อะไรใหม่ๆ เพื่อหาเงินจากรายได้ที่มีอัตราเติบดตน้อยกว่าอัตราผลตอบแทนจากทุน
          "ปิเคทตี้" พบว่า r>g เป็นจริง ยกเว้นในช่วงสงครามโล กตแ่จะเป้นจริงไปเรื่อยๆ หรือไม่คงไม่มีใครทราบได้ แม้ว่ามุมมองของ "ปิเคทตี้" ฟังดูเหมือนว่าต้นตอของปัญหาอยู่ทีระบบทุนนิยม แต่ผุ้เขียนไม่คิดว่าทุนนิยมคือผุ้ร้ายตัวจริง ทุนในที่นี้เป็นเพียงพาหนะของความเหลื่อล้ำในระบบเศราฐกิจที่พัฒนาไปในทางที่สามารถรองรับปริมาณที่มากขึนพร้อมๆ กับทำให้อัตราตอบแทนของทุนไม่ตกลง...https://thaipublica.org/2015/12/settakid-16/

วันเสาร์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Cause of inqaulity

          ตั้งแต่หนังสือ Capital วางแผงไปก็ได้ มการถกเถียงและแลกเปลี่่ยนความคิดเห็นกันอย่างมาก ปัจจัยที่หลายคนคิดว่าเป็นต้นตอของความเหลื่อล้ำนั้นมีตั้งแต่ความล้มเหลวของนสมาคมแรงงานในยุคหลังๆ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนดลยีซึงทำให้เกิดความต้องการแรงงานที่มีทักษระสูงและเกิดการ "โละ" แรงงานทักษะต่ำ ไปจนถึงความเหลื่อมล้ำทางโอกาสศึกษา ซึงทั้งหมดนี้นักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็น่าเป็นปัจจัยสำคัญ แต่ไม่สามารถอธิบายระดับคาวามเหลื่อมล้ำที่เราเห็นอย่างในกรณี"รวยกระจุกตัวแล้วแยกวง" บทความความจึงขอนำ แนวคิดที่เกี่ยวเนื่องกับตัตอของปัญหานี้....เช่น
          แนวคิดของ Stiglitz ในบทความนีใช้คำว่า "ปัญหา" คูกับ "ความเหลื่อล้ำ"  แต่จากการสนทนากับผุ้คนที่หลากหลายแล้วพบ่่ามีจนจำนวนไม่น้อยที่ไม่คิดว่่าความเหลื่อมล้ำเป้นปัญหารและคิดวย่าสังคมควรเลิกเสียเวลาด้วยซ้ำ
           งานวิจัย จาก Economic Policy Institute พบว่าผุ้บริหารระดับสุงในสหรัฐฯ มีรายได้มากกว่าลูกจ้าทั่วไป 303 เท่าในปี ค.ศ. 2914 (เทียบกัยราวๆ แค่ 20 เท่าในปี ค.ศ. 1965) หากแปลงสัดส่นนี้เป็นเงินดอลลาร์แล้วผุ้บริหารระดับสูงเหล่านี้มีรายได้โดยเฉลี่ยราว 16 ล้านดอลลาร์ต่อปีเทียบกับแค่ 5 หมื่นดอลลาร์ที่ลูกจ้างทั่วไปได้รับ
           บางคนคิดว่า การที่ผุ้บริหารระดับสูงเหล่านี้มีรายได้มากกว่าหลายเท่านั้นเป็นเรื่องธรรมชาิตที่เป็นไปตามหลักเศรษฐศาสตร์ทีตลาดแรงงานจะให้ค่าตอบแทนที่สุงกว่ากับแรงงานที่มีวามสามารถสูงกว่าและมีผลิตภาพมากกว่าแรงงานท่วไป และอาจมองได้อีกว่ารายได้และโบนคัสเหล่านี้เป็น "รางวัล" มีผุ้ประกอบสมควรได้รับ หารเป็นเช่นนี้จริงการไปลงโทษพวกเขาก้วยการไล่เก็บภาษีมากขึึ้นมากขึ้นนั้นเท่ากับเป็นการลแรงจูงใจนให้พวกเขาทำให้ทั้งบริษัทและเศรษฐฏิจมีการพัฒนาเติบโตขึ้น แต่ทว่าตัวเลข 300 เท่นนี้มีเหมาะสมกับสิ่งที่ผุ้บริหารระดับสุงทำให้กบบริษัทและเศณษฐกิจจริงๆ หรือไม่ หนื่องจากเศรษฐกจในปัจจุบันมีความซับซ้อนสูง จึงขอนำไปสู่เศรษฐกิจแบบง่ายๆ ก่อน
          สมมติว่าเศรษฐฏิจนี้มีคนอยุ่แค 3 คน นาย ก. นายข. และนาย ค. ทุกวันทุกคนมีหน้าที่ออกไปล่าไก่ป่าซึ่งเป็นสินค้าชนิดเดียวในเศณาฐกิจนี้เพื่อเอามาเป็นอาหารประทังชีวิต ตอนเริ่มแรกไม่มีใครมีเครื่องมือใดๆ ต้องลาไก่ด้วยมือเปล่า ทั้บวันได้ไก่ป่าแค่คนละตัวเดียวเท่านั้น จากเช้าจรดเย็น 3 คนนี้จึงไม่ได้ทำอะไรเลยนอกจากล่าไก่ป่ามาเป็นอาหารเพียงเพื่อที่จะได้อยู่รอดไปถึงวันถัดไป สรุปคือเศณาฐกิจนี้ผลิตไก่ไปได้ 3 ตัวต่อวันด้วยคน 3 คน
          ต่อมา นาย ก. เกิดมีไอเดียบรรเจิรขึ้นมาว่าจะทำกับดักหลุมพรางด้วยกิ่งไม้และการขุดดิน ปรากฎว่า "นวัตำรรม" หรือ "เทคโนโลยี" ที่นาย ก. คิดค้านขึ้นมานั้นสามารถทำให้นาย ก. จับไก่ได้วันละ 3  ตัว แทนที่จะเป็นแค่วันละตัวเดียว เที่ยบกัยเมืองวานกลายเป็นว่าเศราฐฏิจนี้สามารถผลิตไก่ป่าได้วันละ 5 ตัวด้วยคน 3 คนแล้ว (นาย ก.ส จับได้ 3 นาย ข. และนาย ค. จับได้คนละ 1) วัดถัดๆ ไปนาย ก. ก็จะเริ่มีเวลาว่างเอาไปทำอย่างอื่นได้โยไม่อดตายเพราะมีไก่เหลือจากเมื่อว่าและบางที่ไก่ป่าไก่ป่าก็เดินมตหลุ่มพรางเอง นาย ก. ซึ่งแต่เดิมเป็นผู้ชื่นชอบความงดงามของบทกวีอยุ่แล้วจึงสามารถใช้เวลาบางส่วนของวันไปเพื่อการแต่งกวี ทำให้เศราฐกิจชาวป่านี้นอกจากจะมีไก่เพิ่มขึ้นทวีคูณแล้วยังมีบทกวีเพิ่มขึ้นวันละบทอีกด้วย ไปเรื่องย นายก . อาจเสนอให้นาย ข. และนาย ค. เลิกจับไก่แล้วไปผลิตอย่างอื่น เช่น ไปหากล้าวมาแลกกับไก่ เป็นต้น พอเวลาผ่านไปหลายพันปี เศรษฐกิจก็จะซับซ้อนขึ้นเป็นแบบที่เห็ฯกันอยู่ทุกวันนี้
         นี้คือคำอธิบายแบบสั้นๆ ว่าเศณาฐฏิจเติบโตได้อย่างไร
          หากเหล่าผู้บริหารระดับสุงที่มีรายได้มากกวาลูกจ้างะรรมดา 300 เท่าสามาถทำให้ "พายเศรษฐกิจ" ก้อนนี้ขยายใหญ่ขึ้นหลายต่อหลายเท่าด้วยความสามาถของคนอยางที่ นาย ก. นำมาสู่เศราฐฏิจชาวป่า ทำไม่สังคมจึงจะมาประฌามเหล่าผุ้บริหารระดับสูงทั้งๆ ที่หลายคนในกลุ่มนี้ไม่เคยทำตัวให้เป็นภาระสังคมา แต่สังคมกลับไปแบกอุ้มคนที่ฐานะไม่ดีบางคนที่มีพฤติกรมเสี่ยง..
           แต่ในทางกลับกันหากเราพิสูจน์ได้ว่าเหล่าผู้บริหารระดับสูงไม่ได้มีผลิตภาพมากว่าแรงงานปกติทั่วไป เป็นเพีงแรงงานธรรมดาๆ อย่างเช่น นาย ข. และนายค. แล้วเงินตอบแทนที่มากว่า 300 เท่ามัมาได้อย่างไรกัน
           จุดสำคัญจึงอยุ่ตรงที่ว่ามันเป็นกรณี 1) ผู้บริหารระดับสุงเหล่านี้ได้รับรายได้สูงเพราะว่าตลาดแรงงานยอมจ่ายเพื่อแลกกับความสามารถของพวกเขาหรือว่าเป้นกรณี 2) ผู้บริหารระดับสุงเหล่านี้ใช้อำนาจของตำแหน่งของตนในการนำมาซึ่งรายได้อันมหศาลเกินกว่าที่เป้็นมุลค่าของความสามารถของเขา
            กรณีที่ 2 นั้น Stiglitz เรียกมันเป้นพฤติกรรม "เร้นท์ ซีคกิ้ง" ซึ่ง "เร้นท์" ในที่นี้ไม่ได้จำกัดความไว้แค่ค่าเช่าอพาร์ตเมนต์หรือค่าเช่น แต่ "เร้นท์" เป้นคำที่นักเศรษฐศาสตร์ใย้แบบกว้างๆ เพื่อเรยกวถึงเวิน่วนเกินที่บริษัทหรือบุคคลได้รับเพียงเพราะว่าตลาดขาดความแขงขันอยางในตลาดที่มีผุ้ผลิตอยุ่ไม่กี่รย เช่น ตลาดการเงิน ตลาดยา ตลาดประกันสุขภาพ และตลาดโทรคมนาคม เป็นต้น เขายังมองว่ ในสังคมสมัยใหม่แทนที่คนเตาจะเอาเวลาและทรัพยากรไปพัฒนาเศราฐกิจทำพายทังก้อนให้โตขึ้นแบบที่ นาย ก. ทำให้เศรษฐกิจชาวป่าเติบโต กลับกลายเป็นว่าคนสมัยใหม่กำลังหมกมุ่นกับการแย่งชิงไต่เต้าขึ้นไปเป้นผุ้บริหารระดับสุงเพื่อขูดรีดแบ่งพายชิ้นใหญ่ขึ้นให้ตัวเองจากก้อนพายขนาดเท่าเดิม
            บิล เกตส์ เองเคยออกมาปกป้องเหล่าผุ้บริหารระดับสุงที่ติด แรคกิ้ง ฟอร์บ 400 และเตือนว่าอย่าลืมไปว่าครึ่งหนึ่งในนั้นเป็นผุ้ประกอบการทีประสบความสำเร็จอย่างสูงด้วยตัวเองและได้นำมาซึ่งสินค้าและบริการที่โลก็ต้องการแต่จากกราฟด้านบนเราจะห้นวา่มันก็พอที่หลักฐานที่นาเชื่อถือได้พอประมาณที่บ่งบอกว่าสถานการณืในกรณีที่ 2 นั้นโดยเฉลี่ยแล้วอาจเป้นคำอธิบายที่น่าเชื่อถือว่ากรณีที่ 1 ในสหรัฐฯ เหตุผลก็คือ รายได้ของผุ้ประกอบการของบริษัททอป 350 เหล่านี้สุงกว่ารายได้ของกลุ่มคนทอป 0.1% นี้ได้มันมาเพราะความสามารถและผลิตภาพที่สูงกว่าคนปกติ แล้วอีก 6 เหล่าเท่าที่เกินมาสำหรับพวกผู้บริหาระดับสูงล่ะ มันจะมาจากไหนได้อีก นักวิเคราะห์ของ " สถาบัน เศรษฐศาสตร์ นโยบาย" มองว่าคนเหล่านี้ได้มาเพียงเพราะได้ครองตำแหน่งที่สามารถทำให้พวกเขาสูบ "เร้นท์" ออกมาได้สะดวกขึ้น..https://thaipublica.org/2015/12/settakid-16/

วันศุกร์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2560

ASEAN : Economic Inequality

            ธ.โลก และสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ได้วิเคาะห์แนวโน้มและพัฒนาการด้านความเลหื่อล้ำทางเศราฐกิจ ของบรระดาประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งรายงานในปี 2555 ระบุวง่า กลุ่มประเทศอาเซียนกำลังเผชิญกับแนวโน้มสำคั 2 ประการกล่าวคือ อาเว๊ยนมีความั่งคั่งที่สูงขึ้น และความเหลื่อล้ำทางเศณาฐกิจระหว่างประเทศสมาชิกมีแนวโน้มลดลง แม้ว่าช่องว่างระหว่างกลุ่มประเทศที่มีรายได้ตอหัวประชารในระดับสูงและต่ำ จะยังความระดัยสุง กล่าวคื อกลุ่มประเทศรายได้สูงมีรายได้ต่อหัวประชากรสูงกว่ากลุ่มประเทศรายได้ต่ำถึงปรมาณ 15 เท่า แต่ช่อง่างดังกล่าวได้ทยอยลดความถ่างลงเรื่อยมาในข่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมาอย่างไรก็ตาม แนวโน้มอีกประการที่ต้องตระหนักและหาแนวทางแก้ไขต้อไปคือ ความเหลื่อล้ำภายในประเทศของสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศกลับมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศที่มีรายได้สูงจะประสบกับปัญหามากกว่ากลุ่มประเทศที่มีรายได้ต่ำกว่าสิ่งนี้เป็นนัยแสดงว่า กลุ่มประเทศที่มีรายได้สูงมีการเพ่ิมขึ้นของรายได้ในอัตรเร่งที่สูงกว่าประเทศสมชิกอื่นๆ
            
                 ข้อมูลและสถิติบางส่วนที่เก่ยวข้องได้สะท้อนให้เห็นถึงพื้นฐานและระดับการพัฒนาที่แตกต่างและเหลื่อมล้ำกันของประเทศสมาชิกอาเวียน ดังมีสาระสำคัญเบื้องต้นต่อไปนี้ จากสถิติในตารางพบว่าประเทศสมาชิกมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจนในด้านจำนวนประชากรและพื้นฐานทางเศราฐกิจ กล่าวคือ ประเทศสมาิชิกของปาเวียนสามาชิกมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจนในด้านจำนวนประชากรและพื้นฐานทางเศรษฐกิจ กล่าวคือ ประเทศสมาชิกของอาเวียนสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่
              กลุ่มที่ 1  คือ ประเทศที่มีขนาดเล็กมาก ทั้งในเชิงจำนวนประชากรและขนาดของเศราฐกิจ แตะประชากรมีรายได้เฉลี่ยต่อหัวในระดับสูง ประเทศที่อยู่ในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย สิงคโปร์และบรูไน
              กลุ่มที่ 2 คือ ประเทสที่มีขนาดเล็ก แต่มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากรในระดับปานกลางค่อนไปทางสูง ประเทศที่อยู่ในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย มาเลเซยน และไทย 
             กลุ่มที่ 3 คือ ประเทศที่มีประชากรจำนวนมก แต่ประชากรมีรายได้เบแียยต่อหัวใรระดับปานกลางค่อนไปทางต่ำ เนื่องจากมีประชากรจำนวนมากเข้ามาขอแบ่งส่วนจากรายได้รวมทของระบบเศณาฐกิจ หรือเป็นประเทศที่กำลังปรับบริบทและอยุ่ในช่วงเปลี่ยนผ่านของการพัฒนา ประเทศที่อยุ่ในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์
            กลุ่มที่ 4 คือ ประเทศที่ยังค่อนข้างล้าหลังทางการพัฒนา และมีรายได้ต่อหัวประชากรในระดับต่ำถึงต่ำมาก ประเทศที่อยุ่ในกลุ่มนี้ประกอบด้วย เวียดนาม ลาว เมียนมาร์ และกัมพุชา
            หากพิจารณาความเหลื่อมล้ำภายในของแต่ละประทศ พบว่า สิงคโปร์ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน และไทย ถือเว่าประสบปัญหาค่อนข้างมากประเทศอื่น ๆ ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา และในบรรดาประเทศเหล่านี้ มีเพียงฟิลิปปินส์เท่าน้นมที่มีพัฒนาการที่ดีขึ้น ขณะที่ไทยกับมาเลเซียมีพัฒนาการในชักษรค่อยเป็นค่อยไป ส่วนประเทศ ลาว เวียดนาม และอินโดนีเซีย มีปัญหาความเลหื่อมล้ำทางเศณาฐกิจที่มีความรุนแรงน้อยกล่าวประเทศก่อนหน้านี้ แต่หามองที่พัฒนากรของการแก้ปขปัญหา จะเห็นว่าอนิโดนีเซียนและลาวมีปัญหาความความเหลื่อมล้ำที่สูงขึ้น ขณะที่เวียดนามมีพัฒนากรควที่ แต่ที่น่าสนใจคือ กัมพุชามีพัฒนาการทีชัดเจนมากที่สุด 
           อาเซียนยัวต้องให้ความสำคัญในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อล้ำทางเศราฐฏิจอย่างต่อเนื่องโยอาจพิจารณากรณีศึกษาของบางประเทศ เช่น ฟินแลนด์ สวีเดน เบลเยียนแลนอเวย์ ซึ่งมีนโยบายภาษีและสวัสดิการภาครัฐที่เข้มแข็ง และนโยบายส่งเสริมควาเท่ารเที่ยมในเชิงโอาสด้านการการออม การศึกษา และการสาธารณสุข เพื่อเรียนรู้บทเรียนจากการพัฒนา และสามารถนำมาปรับประยุกต์กับบริบทของอาเวยนตามความเหมาะสมได้ http://www.itd.or.th/th/%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B9%89/


วันพฤหัสบดีที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Disadvantages and Inequality of ASEAN

             ใต้กระแสอาเซียน (ด้านอ้ยของ AEC และความเหลือมล้ำ
             การเกิดขึ้นของประชาคมเศราฐกิจอาเว๊ยนเป้นแรงผลักดันจากมหาอำนาจทางเสณาฐกิจและกลุ่มทุนภายในประเทศอาเว๊ยนเืพ่อที่จะสร้าง/ขยาย "ตลาด" ให้กว้างขวางมากขึ้น ดดยที่ไม่ได้แยแสผบกระทบต่อผุ้คนส่วนใหญ่ในกลุ่มประเทศอาเวียนแม้แต่น้อย ขณะเดียวกัน กระแสการผลักดันประชาคมเศราฐกิจอาเซียนก็ได้สร้างกระแสการรับรู้างสังคมทีทำให้คิดและรู้สึกไปได้ว่าปัยหาต่างๆ ที่หมักหมดในสังคมอาเซียนจะแก้ไขลุล่วงไป้ดวยการเปิด "ตลาด" อาเซียน
            เราจะมองเห็นแนวโน้มของผลกระทบจาก "ตลาดอาเซียน" ได้ก็ต่อเมื่อเราเข้าใจและมองเห็นปัญหาทางเศรษฐกิจสำคัญของผุ้คนในกลุ่มประเทศอาเวียน ซึ่งจะมองเห็นได้ว่าปัญหาทีหมักหมมนี้จะแก้ไขได้ด้วย "ตลาดอาเซียน" หรือไม่ อย่างไร
         
 ความเปลี่ยนแปลงทางเศราฐกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน โดยเฉาพะในกลุ่มประเทศที่สังกัดโลกเสรีในช่วงสงครามเย็นได้ทำให้เกิดความเหลื่อล้ำทางเศรษฐกิจสูงมาก และในช่วงสองทศวรรษหลบังจากที่สงครามเย็ฯยุตลง การปรับตัวของการดำรงอยู่างเศรษฐกิจของผุ้คน่วนใหย่ในกลุ่มประเทศอาเซียนได้สร้างระบบการผลิตสำคัญขึ้นมา ได้แก่ กาผลิตภาคไม่เป็นทางการ ซึงเป็นฐานทางเศราฐกิจทีสำคัญที่สุดที่รองรับผุ้คนในอาเซียน หากเราพิจารณาความสำคัญของภาคการผลิตไม่เป็นทางกรจากแง่มุมของแรงงา จะพบว่าสัดส่วนของแรงงานที่มีอยุ่ใสภคาการผลิตไม่เป้นทางการในแต่ละประเทศนั้นสูงมากทีเียว ประเทศไทยมีสัดส่วนแรงงานในภาคการผลิตไม่เป้นทากงารประมาณร้อยละ 65 ของกำลังแรงงาน ประเทศมาเลเซียอยุทีประมาณร้อยละ 62 ของกำลังเรงงานประเทศ
           อินโดนีเซียอยู่ทีประมารร้อยละ 60 ของกำลังแรงงาน ประเทศฟิลิปปินส์นั้นมีปัญหาความเตริญเติบโตทางเศณาฐกิจหนักมกหน่อย เพราะสัดส่วนแรงงานภาคไม่เป้นทางการถึงร้อยละ 70 จองกกำลัง
แรงงาน ส่วนในกลุ่มที่เพ่ิงเปิประเทศเข้าสู่ระบบทุนนิยม เข่น เขมร ลาว เวียดนาม พม่าแม้วา ตัวเลขสถิติยังมีไม่ชัดเจนแน่นอนนัก แต่จากการประเมินดูจากข่าวสารทั่วไปก็พอจะเดาได้ว่าแรงงานภาคไม่เป้ฯทางกรในประเทศเหล่านี้น่าจะเกินรอ้ยละ 70 ของกำลัีงทำงานโดยทั่วไป วงจรารดำเนินชีวิตทางเศรษฐกิจของภาคการผลิตไม่เป้ฯทางการนั้นมีขอบเขตของตลาดที่ไม่กว้างขวางมากนักและโดยมากแล้วก็จะเป้นตลาดเล็ก ในพื้นที่ที่จำกัดหนึ่ง ขณะเดียวกันประเภทของสินค้าก็จะตอบสนองความต้องการหรือความจำเป้นในชีวิตประจำวันของผุ้คนในพื้นที่นั้น ศักยภาพจองภาคการผลิตภาคไม่เป็นทางการได้แก่ ความยืดหยุ่นเพื่อการปรับตัวอยางรวดเร้ซเพื่อตอบสนองความต้องการในชีวิตประจำวนในแต่และช่วงฤดูกาล
           การดำรงอยู่ในภาคการผลิตไม่เปนทางการของผุ้คนที่มีสัดส่วนโดยเฉลี่ยร้อยละ 60 ของกำลังแรงงานนกลุ่มประเทศอเาซียนเช่นที่กล่าวใมานี้ จะไม่ไ้รับผลทางด้านดคจากการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแต่อยางใด หากจะได้รับผลดีอยู่่บ้างก็เป็นกลุ่มที่สัมพันะ์อยู่กับการท่องเที่ยว ซึงนักท่องเที่ยวที่จะมารซื้อ-ขายกับภาคการผลิตไม่เป้นทางการก็จะเป้นนักท่องเที่ยวระดับล่างที่ใช้เงินต่อวันไม่มากนัก การได้ประดยชน์จึงมีไม่มากนัก
         
 พร้อมกันน้น การขยายตัวของกลุ่มทุรท่ะเข้าไปในแต่ละประเทศก็ไม่ได้เป้นอุตสาหกรรมท่ใช้แรงงานเข้มข้นทั้งหมด ในบางประเทศที่เพิ่งเปิดประเทศก็มีโอกาสที่จะได้การจ้างงานในอุตสาหกรรมแรงงาเข้มข้น และปรับแรงงานภาคไม่เป้นทางการมาสู่ภาคอุตสาหกรรมสูงขึน ในประเทศที่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมระดับทุนและควมรุ้เข้าข้น ก็จะประสบปัญหาการย้ายฐานการผลิต ึ่งก็จะส่งผลให้การจ้างงานลดน้อยลงทันที่ ตัวอย่าของการปิดโรงงานผลิตรถยนต์ของมาด้า/ฟอร์ด ในประเทศฟิลิปปินส์เพื่อมาเป็นโรงงานในประเทศไทย ก็ย่้อมส่งต่อการจ้างงานในฟิลิปปินส์ทันที่
          ความผันผวนของการจ้างงานในภาคการผลิตทีเ่ป้นทางการจะทวีสูงมากขึ้นการไหลเวียนของแรงงานที่มีทักษะเฉพาะตัวจะเร็วและถี่มากขึ้น คนย้ายถ่ินที่โดนบีบบังคับ ด้วยเหตุผลทางเศณาฐกิจจะมีมากขึ้น และคุณกลุ่มนี้จะเป้นกลุ่มคนไร้ความสุจกลุ่มใหญ่ของอาเซียน
           การขยายตัวของการลงทุนในประเทศที่มีทรัพยกรเหมาะสมกับอุตสาหกรรมของทุนจะมีผลโดยตรงต่อการเก็บภาษีของแต่ละรัฐ รายได้ของแต่ละบริษัทของกลุ่มทุนจะสูงขึ้น และรายได้ของรัฐที่เป้นรากฐานขอวทุนกลุ่มนั้น จะลดลงทัที่ เพราะกลุ่มทุนจะเลือกลงทุนในประเทศที่ระบบภาาีอ่อนแอและมีกาเก็บภาษีน้อยที่สุดเพื่อที่กลุ่ททุนจเก็บกำไรไว้แจกจ่ายผุ้ถือหุ้นกรือผุ้บริหารโดยไม่ต้องหรือหาทางไม่ยอมเสียให้แก่รัฐ
          รัฐแต่ละรัฐในประชาคมอาเวียนจะประสบปัญหารายได้ลดต่ำลงอย่างมากพลเมืองทั่วไปของอาเว๊ยนจะยากจนมากขึ้นแต่ว่านักการเมืองในรัฐบาลของแต่ละประเทศจะร่ำรวยขึนอย่งทันตาเห้น ปัญหาความเลหื่อล้ำของแต่ละประเทศจะสูงมากขึ้นไปอีก พร้อมกันนั้น รัฐบาลก็จะเล่นเกมประชานิยมแบบมักง่ายมากขึ้น เพื่อซื้อเวบาให้แก่กลุ่มตนเองได้กอบโดนได้มากที่สุด
         อนาคตของประชาคมเศรษบกิจอาเซียนจึงเป้นทางคุ่ขนานรหว่าความเจ็บปวดรวดร้าวของคนตัวเล็กตัวน้อยในทุกประเทศกับควารำรวยมหาศาลของกลุ่มทุนและนกการเมือง กลุ่มทุนจะเลื้อกลงทุนในประเทศที่ระบบภาาษีอ่อนแอและมีการเก็บภาษีน้อยที่สุด..http://www.thai-aec.com/423/
         
           

วันพุธที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Concept to Reduce inequality

           แนวคิดในการลดความเหลื่อมล้ำ
           - ด้านเศรษฐกิจ การลดความเหลื่อล้ำด้านเศราฐกิจในระบบเศราฐกิจแบบทุนนิยม ซึ่งต้องเคาระสิทธิและเสรีภาพทางเศณาฐกิจของประชาชนทุกหมู่เหล่าเป็นสำคญ สามารถทได้โดยการลดความเหลื่อล้ำด้านราได้และลดความเหลื่อล้ำด้านโครงสร้างภาษี ควบคู่กันไป
           1. รัฐบาลปล่อยให้ประชาชนทุกภาคส่วนแข่งขันกันเองภายใต้กลไกตลาดที่เป็นโอกาสให้ทุกคนสามารถสะสมความม่งคั่งจาการทำงานและการประกอบธุรกิจ ทว่าวิะีนี้จะสำเร็จได้ก็ต่อเมื่อประชาชนมีรายได้สุทธิหลงจากหักค่าใช้จ่ายต่างๆ แล้ว ที่เพียงพอต่อการออกม ยิ่งไปกว่านั้นโครงสร้างการแข่งขันในตลาดจะต้องเสรีและเป(็นธรรมซึงหมายความว่ารัฐบาลรัฐควรปรับปรุงกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายแข่งขันทางการต้าให้ใช้การได้จริงเพื่อลดโอกาสที่ความมั่งคั่
จะกระจุกตัวอยุ่แต่เฉพาะในหลุ่มผุ้มีอำนาจผุกขาดหรือเหนือตลาด และควรเนน้นการส่งเสริมผุ้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมมากวาผุ้ประกอบการขนาดใหญ่ที่าี "สายป่านยาว" อยุ่แล้ว นอกจากนี้ทุกคนในสังคมก็ควรมีโอากสเข้าถึงปัจจัยต่างๆ ที่จำเป็นต่อการสร้างสเสริมสมรรถภาพในการดำรงชีพหรือแขช่งขนอย่างเท่าเที่ยมกัน
       
2, ส่งเสริมระบบการเงินฐานราก (การเงินชุมชน เช่น กลุ่มสัจจะออมทรัพย์สัจจะสะสมทรัพย์ สหกรณืออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป้นต้น) ที่ชาวบ้านจัดการกันดอง ซึ่งปัจจุบันมีอยู่นับแสนแห่งทั่วประเทศ หลายแห่งสามารถระดมเงินออมและเปผ้นแหล่งทุนให้สมาชิกกู้ไปประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้โดยไม่ต้องอาศัยสถาบันการเงิน
        3, ผลักดันและสงเสริมสถาบัน "การเงินขนาดจิ๋ว" (ไม่โครไฟแนนซ์) ในไทย ซึงอาจใช้หลายวิะีผสมผสามกัน ระหว่างการยกระดับองค์กรการเงินฐานรากที่ชาวบ้านจัดการกันดองและมีความเข้มแข็งแล้วระดับหนึ่ง กับการส่งเสริมให้ธนาคารของรัฐและธนาคารพาณิชย์ริเริ่มธุรกิจไม่โครไฟแนนซ์ ตามแนวทาง" ธุรกิจเพื่อสังคม" ที่มุ่งให้คนยากจนมีโอากสเข้าถึงแหล่งเงินทุน เพื่อนำเงินกุ้ไปปรับปรุงชีวิตความเป้นอยู่ดังตัวอย่าง "ธนาคารกรามีน"ในบงังคลาเทศ ที่ทำให้ มูฮัมหมันยูนุส ผุ้ก่อตั้งธ.ได้รับรางวัลโนเบลเสาขาสันติภาพประจำปี 2549 ร่วมกับธ. จากคำแปบคำอธิบายของยูนุสในเว็บไซต์ ธ.กรามีน ได้ความว่า กรามีนเชื่อว่า "มนุษย์ทุกคน รวมทั้งนที่จนที่สุด ล้วนมีศักยภาพ" นั่นทให้แม้แต่ขอทานก็ยังสามารถเป็ฯลูกค้าของธนาารการมีนได้
        4. ควรมีการขยายฐานภษาีตามหลักความเสมอภาคทางภาษีที่ว่า "ผู้มีฐานะใกล้เคยงกัน สภาพแวดล้อมคล้ายกัน ควรจ่ายภาษีแบบเดียวกัน ในอัตราเท่ากัน และไม่สามารถผลักภาระภาษีไปสู่ผุ้อื่นได้"  เพื่อครอบคุลมกลุ่มผุ้ที่มีความสามารถในการเสียภาษี แต้นะวไ้ม่ได้เสียภาษีด้วยสาเหตุต่างๆ (ไ่ยื่นแบบ
ฟอร์มการเสียภาษี, ยื่นต่ำกว่าความเป็นจริง, หลบเลี่ยงภาษีด้วยวิะีต่าง ๆ เป็นต้น) และเพื่อลดภาระภาษที่กระจุกตัวอยุ่แต่เฉพาะในบางกลุ่ม ในการนี้ สิงที่ต้องพัฒนาควบคู่กนไปก็คือ ระบบการประเมินการเรียกเก็บภาษีทีมีประสิทธิภาพ และควรมีการทบทวนพิจารณาแก้ไขการลดหย่อนภาษีที่มีอยู่ ให้มีความเป็นธรรมมากขึ้น
        5, รัฐควรผลักดันภาษีใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงและปัญหาใหญ่ในสังคมปัจุบัน อาทิ ภาษีมลพิษ (ตามหลัก "ผุก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย") ตลอดจนภาษีก้าวหน้าทีช่วยบลดความเลหื่อล้ำและสร้างแรงจูงใจให้ผุ้มีฐานะดีใช้ทรัพยากรอยาคุ้มค่า อาทิ ภาษีมรดก ภาษีกำหรส่วนเกินทุน หมายถึงภาษีที่เก็บจากกำไรที่ได้รับจากการขายทรัพย์สินหรือหลักทรัพย์) และภาษีที่ดินและทรัพย์สินที่มีโครงสร้างที่เป็นธรรมและเหมาะสม
         - ด้านทรัพยากร การลดความเลื่อล้ำด้านทรัพยากร ควรเริ่มจาการคำนึงถึงความต้องการของผุ้มีส่วนไ้เสียฝ่ายต่างๆ โดยยึดหลักความเสมอภาคและเท่าเที่ยมของสิทะิพลเมืง สิทธิในการประกอบธุรกิจ และสิทธิของชุมชนตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ การภกเถียงกันว่าใครควรเป้น "เจ้าของ" ทรัพยากรต่าๆ ยั่นไม่สำคัญเท่าไรนัก ประเด็นสำคัญอยู่ที่ว่า ใครบ้างที่ควรมีสิทธิ "ใช้ทรัพยากรเหล่านั้น และเราจะมี "วิธีบริหารจัดการ" ทรัพยากรนั้นอยางไรให้เกิดความสมดุลระหวางเศราฐกิจ สิ่งแวดล้อมและสังคม
         
ที่ดินและป่าไม่ การแก้ไขปัญหาที่ดินกระจุกตัว ด้วยกาปฏิรูปการถือครองที่ดิน เพื่อลดความเหลื่อล้ำในการเข้าถึงหรือถือครองที่ดินนั้น นอกจากจะทำให้ประชาชนที่ต้องการที่ดินทำกินสามารถมีที่ดินเป็นของตัวเองแล้ว ยังสามารถช่วยบดความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ (ซึ่งดังที่กล่าวไปแล้วว่า ความเหลื้่อมล้ำด้านรายได้ก็เป็นผลให้กิดความเหลื่อมล้ำด้านการถือครองที่ดินด้วย เพราะทำให้คนบางกลุ่มสามารถซื้อที่ดินสะสมไว้เก็งกำไร ในขณะที่คนอีกมากมายได้อาจซื้อที่ดินเป็นของตัวเองไ้ดแม้แต่เพียงแปลงเดียว) สร้างทางเลือกให้แก่การดำรงชีวิตแทนที่จะต้องย้ายเข้ามาทำงานในเขตเมืองอย่างเดียว ยิงไปกว่านั้น บางวิธีในการปฏิรูปที่ดิน อย่งเช่น "โฉนดชุมชน" และ "ธนาคารที่ดิน" ยังเป้นการกระจายอำนาจการปกคอรงออาจากรัฐส่วนกลาวได้ด้วย
           ภาษี เป็นเครื่องมือหน่งของการปฏิรูปที่ดินที่มีการพูดถึงกนมาก ซึ่งเพื่อให้เกิดการกระจายตัวของการถือครองที่ดินทีเป็นธรรมแล้ว ต้องมีการออกแบบโรงสร้างภาษีที่จะเปลียน "ที่ดินที่ถือครองไว้โดยไม่ได้ใช้ประโยชน์" ให้มีสถานะป้ฯทรพย์สินที่มีภาระต้อนทุนในการถือครองสูงกว่าผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากากรถือครองไว้เพื่อการเก็งกำไร วึ่งในการณ์นี้ต้องกำหนดเกณฑ์ในการพิจารณานิยามความหมายของ "ที่ดินที่ถือครองไวโดยไม่ได้ใช้ประโยชน์" ให้ชัดเจนและมีความเ้ป้ฯธรรมและสร้างระบบการจัดเก็ยภาษีในการณีดังกล่วที่มีประสิทธิภาพนอกจากนี้  ยังควรมีการเก็บภาษีที่ดินในอัตราคงที่ ในอัตราที่สุงมากเพียงพอจะสร้างภาระต่อการถือครองที่ดินจำนวนมาก (การเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้าตามขนาดของการถือครองที่ดินที่ทำให้ใรถือครองมกเสียในอัตรสูงกว่า ใครถือครองน้อยเสียในอัตราต่ำกว่า เป้ฯข้อเสนอหนึงที่ได้รับการพูดถึงแต่ในทางปฏิบัติแล้วตรวจสอบยากมาก)
       
             ความไม่สมมาตรของข้อมูลข่าวสาร เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่ทำให้เกิดความเหลื่อล้ำในการเข้าถื่อครองที่ดิน กลุ่มนักธุรกิจบางกลุ่มเป็น "คนใน" ที่สามาถรู้ล่วงหน้าว่าดครงการสาธารณณูปโภคองรัฐจะเกิดขึ้นที่หน ทำให้สามารถไปซื้อหรือกว้านซื้อที่ดินในบริเวณที่ดครงการรฐเหล่านั้นจะเกิขึ้นได้ก่อนคนอื่น ซึงนอกจากจะทำให้เกิดปัญหาในเรื่องการกระจุกตัวของการถือครองที่ดินแล้วยังเป้ฯการขัดขวางการแข่งขันกันอย่างเสรีในตลาด ทำให้ความเลหื่อบล้ำด้านเศรษฐกิจแย่ลงอีกด้วย การมีเครืองมือที่จะช่ยวยให้เกิดรหือย่างน้อยในช้นเริมต้น คือช่วยเพ่ิมระดับ "ความสามมาตรของข้อมูบข่าวสาร" จึงเป้ฯส่ิงจำเป็น ซึ่งอสตทำใได้ส่วนหนึ่งด้วยการเปิดเผยข้อมูลการถือครองที่ดินให้เป็นข้อมูลสาธารณะ และการยกระดับการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับโครงการของรัฐ...(to be comttnoue..)   http://v-reform.org/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%89%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%9E%E0%B8%81%E0%B8%9E%E0%B8%B2/
         

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...