วันพุธที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Concept to Reduce inequality

           แนวคิดในการลดความเหลื่อมล้ำ
           - ด้านเศรษฐกิจ การลดความเหลื่อล้ำด้านเศราฐกิจในระบบเศราฐกิจแบบทุนนิยม ซึ่งต้องเคาระสิทธิและเสรีภาพทางเศณาฐกิจของประชาชนทุกหมู่เหล่าเป็นสำคญ สามารถทได้โดยการลดความเหลื่อล้ำด้านราได้และลดความเหลื่อล้ำด้านโครงสร้างภาษี ควบคู่กันไป
           1. รัฐบาลปล่อยให้ประชาชนทุกภาคส่วนแข่งขันกันเองภายใต้กลไกตลาดที่เป็นโอกาสให้ทุกคนสามารถสะสมความม่งคั่งจาการทำงานและการประกอบธุรกิจ ทว่าวิะีนี้จะสำเร็จได้ก็ต่อเมื่อประชาชนมีรายได้สุทธิหลงจากหักค่าใช้จ่ายต่างๆ แล้ว ที่เพียงพอต่อการออกม ยิ่งไปกว่านั้นโครงสร้างการแข่งขันในตลาดจะต้องเสรีและเป(็นธรรมซึงหมายความว่ารัฐบาลรัฐควรปรับปรุงกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายแข่งขันทางการต้าให้ใช้การได้จริงเพื่อลดโอกาสที่ความมั่งคั่
จะกระจุกตัวอยุ่แต่เฉพาะในหลุ่มผุ้มีอำนาจผุกขาดหรือเหนือตลาด และควรเนน้นการส่งเสริมผุ้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมมากวาผุ้ประกอบการขนาดใหญ่ที่าี "สายป่านยาว" อยุ่แล้ว นอกจากนี้ทุกคนในสังคมก็ควรมีโอากสเข้าถึงปัจจัยต่างๆ ที่จำเป็นต่อการสร้างสเสริมสมรรถภาพในการดำรงชีพหรือแขช่งขนอย่างเท่าเที่ยมกัน
       
2, ส่งเสริมระบบการเงินฐานราก (การเงินชุมชน เช่น กลุ่มสัจจะออมทรัพย์สัจจะสะสมทรัพย์ สหกรณืออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป้นต้น) ที่ชาวบ้านจัดการกันดอง ซึ่งปัจจุบันมีอยู่นับแสนแห่งทั่วประเทศ หลายแห่งสามารถระดมเงินออมและเปผ้นแหล่งทุนให้สมาชิกกู้ไปประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้โดยไม่ต้องอาศัยสถาบันการเงิน
        3, ผลักดันและสงเสริมสถาบัน "การเงินขนาดจิ๋ว" (ไม่โครไฟแนนซ์) ในไทย ซึงอาจใช้หลายวิะีผสมผสามกัน ระหว่างการยกระดับองค์กรการเงินฐานรากที่ชาวบ้านจัดการกันดองและมีความเข้มแข็งแล้วระดับหนึ่ง กับการส่งเสริมให้ธนาคารของรัฐและธนาคารพาณิชย์ริเริ่มธุรกิจไม่โครไฟแนนซ์ ตามแนวทาง" ธุรกิจเพื่อสังคม" ที่มุ่งให้คนยากจนมีโอากสเข้าถึงแหล่งเงินทุน เพื่อนำเงินกุ้ไปปรับปรุงชีวิตความเป้นอยู่ดังตัวอย่าง "ธนาคารกรามีน"ในบงังคลาเทศ ที่ทำให้ มูฮัมหมันยูนุส ผุ้ก่อตั้งธ.ได้รับรางวัลโนเบลเสาขาสันติภาพประจำปี 2549 ร่วมกับธ. จากคำแปบคำอธิบายของยูนุสในเว็บไซต์ ธ.กรามีน ได้ความว่า กรามีนเชื่อว่า "มนุษย์ทุกคน รวมทั้งนที่จนที่สุด ล้วนมีศักยภาพ" นั่นทให้แม้แต่ขอทานก็ยังสามารถเป็ฯลูกค้าของธนาารการมีนได้
        4. ควรมีการขยายฐานภษาีตามหลักความเสมอภาคทางภาษีที่ว่า "ผู้มีฐานะใกล้เคยงกัน สภาพแวดล้อมคล้ายกัน ควรจ่ายภาษีแบบเดียวกัน ในอัตราเท่ากัน และไม่สามารถผลักภาระภาษีไปสู่ผุ้อื่นได้"  เพื่อครอบคุลมกลุ่มผุ้ที่มีความสามารถในการเสียภาษี แต้นะวไ้ม่ได้เสียภาษีด้วยสาเหตุต่างๆ (ไ่ยื่นแบบ
ฟอร์มการเสียภาษี, ยื่นต่ำกว่าความเป็นจริง, หลบเลี่ยงภาษีด้วยวิะีต่าง ๆ เป็นต้น) และเพื่อลดภาระภาษที่กระจุกตัวอยุ่แต่เฉพาะในบางกลุ่ม ในการนี้ สิงที่ต้องพัฒนาควบคู่กนไปก็คือ ระบบการประเมินการเรียกเก็บภาษีทีมีประสิทธิภาพ และควรมีการทบทวนพิจารณาแก้ไขการลดหย่อนภาษีที่มีอยู่ ให้มีความเป็นธรรมมากขึ้น
        5, รัฐควรผลักดันภาษีใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงและปัญหาใหญ่ในสังคมปัจุบัน อาทิ ภาษีมลพิษ (ตามหลัก "ผุก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย") ตลอดจนภาษีก้าวหน้าทีช่วยบลดความเลหื่อล้ำและสร้างแรงจูงใจให้ผุ้มีฐานะดีใช้ทรัพยากรอยาคุ้มค่า อาทิ ภาษีมรดก ภาษีกำหรส่วนเกินทุน หมายถึงภาษีที่เก็บจากกำไรที่ได้รับจากการขายทรัพย์สินหรือหลักทรัพย์) และภาษีที่ดินและทรัพย์สินที่มีโครงสร้างที่เป็นธรรมและเหมาะสม
         - ด้านทรัพยากร การลดความเลื่อล้ำด้านทรัพยากร ควรเริ่มจาการคำนึงถึงความต้องการของผุ้มีส่วนไ้เสียฝ่ายต่างๆ โดยยึดหลักความเสมอภาคและเท่าเที่ยมของสิทะิพลเมืง สิทธิในการประกอบธุรกิจ และสิทธิของชุมชนตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ การภกเถียงกันว่าใครควรเป้น "เจ้าของ" ทรัพยากรต่าๆ ยั่นไม่สำคัญเท่าไรนัก ประเด็นสำคัญอยู่ที่ว่า ใครบ้างที่ควรมีสิทธิ "ใช้ทรัพยากรเหล่านั้น และเราจะมี "วิธีบริหารจัดการ" ทรัพยากรนั้นอยางไรให้เกิดความสมดุลระหวางเศราฐกิจ สิ่งแวดล้อมและสังคม
         
ที่ดินและป่าไม่ การแก้ไขปัญหาที่ดินกระจุกตัว ด้วยกาปฏิรูปการถือครองที่ดิน เพื่อลดความเหลื่อล้ำในการเข้าถึงหรือถือครองที่ดินนั้น นอกจากจะทำให้ประชาชนที่ต้องการที่ดินทำกินสามารถมีที่ดินเป็นของตัวเองแล้ว ยังสามารถช่วยบดความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ (ซึ่งดังที่กล่าวไปแล้วว่า ความเหลื้่อมล้ำด้านรายได้ก็เป็นผลให้กิดความเหลื่อมล้ำด้านการถือครองที่ดินด้วย เพราะทำให้คนบางกลุ่มสามารถซื้อที่ดินสะสมไว้เก็งกำไร ในขณะที่คนอีกมากมายได้อาจซื้อที่ดินเป็นของตัวเองไ้ดแม้แต่เพียงแปลงเดียว) สร้างทางเลือกให้แก่การดำรงชีวิตแทนที่จะต้องย้ายเข้ามาทำงานในเขตเมืองอย่างเดียว ยิงไปกว่านั้น บางวิธีในการปฏิรูปที่ดิน อย่งเช่น "โฉนดชุมชน" และ "ธนาคารที่ดิน" ยังเป้นการกระจายอำนาจการปกคอรงออาจากรัฐส่วนกลาวได้ด้วย
           ภาษี เป็นเครื่องมือหน่งของการปฏิรูปที่ดินที่มีการพูดถึงกนมาก ซึ่งเพื่อให้เกิดการกระจายตัวของการถือครองที่ดินทีเป็นธรรมแล้ว ต้องมีการออกแบบโรงสร้างภาษีที่จะเปลียน "ที่ดินที่ถือครองไว้โดยไม่ได้ใช้ประโยชน์" ให้มีสถานะป้ฯทรพย์สินที่มีภาระต้อนทุนในการถือครองสูงกว่าผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากากรถือครองไว้เพื่อการเก็งกำไร วึ่งในการณ์นี้ต้องกำหนดเกณฑ์ในการพิจารณานิยามความหมายของ "ที่ดินที่ถือครองไวโดยไม่ได้ใช้ประโยชน์" ให้ชัดเจนและมีความเ้ป้ฯธรรมและสร้างระบบการจัดเก็ยภาษีในการณีดังกล่วที่มีประสิทธิภาพนอกจากนี้  ยังควรมีการเก็บภาษีที่ดินในอัตราคงที่ ในอัตราที่สุงมากเพียงพอจะสร้างภาระต่อการถือครองที่ดินจำนวนมาก (การเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้าตามขนาดของการถือครองที่ดินที่ทำให้ใรถือครองมกเสียในอัตรสูงกว่า ใครถือครองน้อยเสียในอัตราต่ำกว่า เป้ฯข้อเสนอหนึงที่ได้รับการพูดถึงแต่ในทางปฏิบัติแล้วตรวจสอบยากมาก)
       
             ความไม่สมมาตรของข้อมูลข่าวสาร เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่ทำให้เกิดความเหลื่อล้ำในการเข้าถื่อครองที่ดิน กลุ่มนักธุรกิจบางกลุ่มเป็น "คนใน" ที่สามาถรู้ล่วงหน้าว่าดครงการสาธารณณูปโภคองรัฐจะเกิดขึ้นที่หน ทำให้สามารถไปซื้อหรือกว้านซื้อที่ดินในบริเวณที่ดครงการรฐเหล่านั้นจะเกิขึ้นได้ก่อนคนอื่น ซึงนอกจากจะทำให้เกิดปัญหาในเรื่องการกระจุกตัวของการถือครองที่ดินแล้วยังเป้ฯการขัดขวางการแข่งขันกันอย่างเสรีในตลาด ทำให้ความเลหื่อบล้ำด้านเศรษฐกิจแย่ลงอีกด้วย การมีเครืองมือที่จะช่ยวยให้เกิดรหือย่างน้อยในช้นเริมต้น คือช่วยเพ่ิมระดับ "ความสามมาตรของข้อมูบข่าวสาร" จึงเป้ฯส่ิงจำเป็น ซึ่งอสตทำใได้ส่วนหนึ่งด้วยการเปิดเผยข้อมูลการถือครองที่ดินให้เป็นข้อมูลสาธารณะ และการยกระดับการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับโครงการของรัฐ...(to be comttnoue..)   http://v-reform.org/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%89%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%9E%E0%B8%81%E0%B8%9E%E0%B8%B2/
         

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...