Cause of inqaulity II

            ปัจจัยที่หลายคนคิดว่าเป็นต้นตอของความเหลื่อล้ำนั้นมีตั้งแต่ความบ้ำมเหลวงของสมาคึมแรงงานในยุคหลังๆ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนลโยีซึ่งทำให้เกิดความต้องการแรงงานที่มีลทักษะสุงและกิดการ "โละ" แรงงานทักษระต่ำ ไปจนถึงความเหลื่อล้ำทางโอกาสการศึกษา ซึ่งวทั้งหมดนี้นักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห้นว่าเป้นปัจจัยสำคัญ แต่ไม่สามารถอธิบายระดับความเหลื่อล้ำที่เราเห้นอย่างในกรณี "รวยกระจุกแล้วแยกวง" ที่ ปิเคทตี้ นำเสนอใน หนังสือ "แคปปิตอล"
          แนวคิดของ Piketty ทีเกี่ยวข้องเหนื่อกับต้นตอของปัญหานี้ โดยกล่งถึงบทยาทของความสัมพันธืระหว่างอัตราผลตอบแทนจากทุนกับอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจในการทำให้เกิดป็ญหาความเหลื่อล้ำ
          Piketty คิดว่าบทบาทของอัตราผลตอบแทนของทุนและอัตราเติบโตของเศราฐกิจมีส่วนสำคญในการก่อให้เกิดความเหลื่อล้ำ เขาเขียน 3 fundamental laws ไว้ในหนังสือ Capital ดังนี้
          1. a _ r x β —– ซึ่งแปลเป็นภาษาคนว่าส่วนแบ่งของรายได้ประชาชาติในเศราฐกิจที่ตกเป้นของผุ้ถือครองทุน (a) นั้นจะเท่ากับอัตราผลตอบแทนจากทุน (r) คุนกับอัตราส่วนระหว่างปริมาณทุนต่อปริมาณรายได้ (β )
          2. ในระยะยาว β s/g —–  นั่นคือ อัตราส่วนระหว่างปริมารทุนต่อปริมาณรายได้ (β) จะต้องเท่ากับอัตราการออกม (s) หารด้วยอัตราเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจ (g) ในระยะยาว
          3. หาก r > g เมื่อไหร่ ผุ้ที่ถือครองทุนจะค่อยๆ ได้รับสัดสวนรายได้ท้งหมดของเศราฐกจที่เพ่ิมขึ้นโดยไม่่รุ้จบและจะก่อให้เกิดความเลื่อล้ำมากขึ้นเรื่อยๆ
          Piketty เร่ิมต้นด้วยการใช้ข้อมุลที่ชี้ให้เห็นวา อัตราส่วนระหวางประมาณทุนต่อประิมาณรายได้ (β) ในหลายประเทศ เช่น สหรัฐฯ และฝรั่งเศสนั้นเพ่มิขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1050 จนเกือบเท่ากับในสมัยศตวรรษที่ 19 และคาดว่าจะขึ้นจาก 4.5 ในปี ค.ศ. 2010 ไปถึง 6.5 เมื่อสิ้นศตวรรษนี้
          ลองสมมติว่ามีเศณาฐฏจที่ดตปีละ 5% (g) และมีการออม (s) 10% ของรายได้ทั้งหมดของประเทศ หากเศราฐฏิจปีนี้มีรายได้ประชาชาติ หนึ่งร้อยบาท แสดงวาเราจะได้ออม 10 บาท(ซึ่ง ปีเคทตี้ เรียกแบบหลวมๆ ว่า "แคปปิทอล" หรือทุน) การที่อัตราสวนระหว่างปริมาณทุนต่อปริมาณรายได้ (β) จะคงที่ไปตลอดกาลตามกฎข้อสองได้นั้นทุนที่ออมไว้จะต้องมีปริมาณเท่ากับ 200 บาท ปีนี้ β จึงจะเท่ากับ 2 (นำมาหารกัน) เมื่อเราได้เข็มนาฬิกาเดิน ปีหน้ารายได้ประชาชาติจะเป็น 105  (โต 5%) และทุนจะเป็น 210  (เพ่ิมขึ้นมาด้วยเงินที่ออกมาจากรายได้ประชาชาติ 100 บาท) β จึงจะคงที่ที่ 2 ไปเร่อยๆ ตลอดกาล ทั้งนี้ เขามองว่าดลกข้างหนาน่าจะมีอัตราออมเฉลียประมาณ 10% และอัตรเจิรญเติบโตทางเศณาฐฏิจน่าจะลดลงไปเหลือราวๆ 1 ถึง 2% จนทำให้ β บีขึ้นไปเกือบึง 7
           ชั้นถัดไปคือ ตามกฎข้อแรกหากคุณเอาอัตราผลตอบแทนจากทุน (r) ในเศณาฐกิจมาคุณกับ β ที่เราคำนวณไว้เมื่อครู่ก็จะได้สิ่งที่เรียกว่า "ส่วนแบ่งของทุนจากรายได้ประชาชาติ (a)" จากตัวอย่าง β  = 2 จะเห็นว่าหากคุณคาดว่า r จะมีค่าประมาณ 4% ต่อปี ส่วนแบ่งของทุนจะเป็น 9$( 2*4%) ของรายได้ประชาชาติ แต่ในตัวอย่าง คาดว่า β จะสูงขึ้นไปเฉียด7 ในอนาคต ส่วนแบ่งของทุนจะพุ่งขึ้ไปถึง 28% (7*4%) ของรายได้ประชาชาติ และจะขึ้นไปมากกว่านี้อีกหาก r สูงกว่า 4% ด้าคิดเล่นๆ ว่  r จะขึ้นไปถึง 6% ขึ้นมา ส่วนแบ่งของทุนจะขึ้นไปถึง 42% (7*6%)  ของรายได้ประชาชาติเลยที่เีดยว ส่วนที่เหลื่อ 58% คือส่วนแบ่วของรายได้ที่มาจากการทำงาน (ที่มนุษย์เงินเดือนและแรงงานปกติเป็นผุ้ถือครอง)
         นี้คอกรรีที่ชี้ให้เห็นถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นเมืออัตราผลตอบแทนจากทุนมากกว่าอัตราเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจ (r>g) ใน กรณีที่ β = 7 และ r = 6% > g หากมีคนแค่ไม่กีคนถือครองทุนส่วนมาก ก้จะแปลว่าคนกลุ่มเล็กๆ นี้จะได้รับส่วนแบ่งจากการที่เศราฐกิจเติบโตทุกปีไปเต้ฒๆ 42% ของรายได้ประชาชาติ คนกลุ่มนี้อาจรวนกลุ่มเล็กๆ นี้จะได้รับส่วนแบ่งจากการที่เศณาฐกิจเติบโตททุกปีไปเต็มๆ 42% ของรายได้ปรชาชาติ คนกลุ่มนี้อาจรวยมากไม่ต้องทำงานเลยก็จะยังเห้ฯรยได้จากทุนโตขึ้นราว r = 6% ต่อปี ซึ่งสูงกว่อัตราที่รายได้จากหยาดเวื่อในการทำมาหากินโดยคนส่วนใหย่ที่จะโตได้แค่อย่างมากเท่ากับอัตราเติบโตของเศราฐกิจ ซึ่งหลายคนคาดว่าจะต่ำลงเรื่อยๆ
         หนังสือ Capitalไม่ได้เน้นเรื่องพฤติกรรมการออมมากนัก มันเป้นไปได้ที่คงามเหลื่อล้ำที่กฎข้อสามทำนายไว้จะไม่เกิดขึ้นหากชนชั้นกลางออมเก่งเพื่อไเอาประดยชน์จาก r > gและพวกทอป 1% กลับไม่ยอมออมเลย อย่างไรก็ตาม สิ่งนี้คงเกิขึ้นยากมาก ในชีวิตจริงคนที่ร่ำรวยมากๆ มักจะมอัตราการออมที่สุงกว่าคนส่วนมาก เพราะว่า พวกเขามีรายได้สุงเกินพอให้เหลื่อใช้ และพวกเขาเลื่อทีจะออมภาพที่ "ปิเคทตี้ เห็นจึงเหมือนเป็นการกลับมาของทุนนิยมมรดกท่จะเข้ามามีบทบาทแทนที่การขยันทำงานขยันประดิษญ์อะไรใหม่ๆ เพื่อหาเงินจากรายได้ที่มีอัตราเติบดตน้อยกว่าอัตราผลตอบแทนจากทุน
          "ปิเคทตี้" พบว่า r>g เป็นจริง ยกเว้นในช่วงสงครามโล กตแ่จะเป้นจริงไปเรื่อยๆ หรือไม่คงไม่มีใครทราบได้ แม้ว่ามุมมองของ "ปิเคทตี้" ฟังดูเหมือนว่าต้นตอของปัญหาอยู่ทีระบบทุนนิยม แต่ผุ้เขียนไม่คิดว่าทุนนิยมคือผุ้ร้ายตัวจริง ทุนในที่นี้เป็นเพียงพาหนะของความเหลื่อล้ำในระบบเศราฐกิจที่พัฒนาไปในทางที่สามารถรองรับปริมาณที่มากขึนพร้อมๆ กับทำให้อัตราตอบแทนของทุนไม่ตกลง...https://thaipublica.org/2015/12/settakid-16/

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)