So what ? Inequality


         แต่ที่ผุ้เขียนคิดว่าน่าวิตกยิ่งกว่าภัยต่อเศราฐกิจคือ ภัยต่อการอยุ่ร่วมกันในสัคมอย่งสงบสุข


รูปภาพที่เกี่ยวข้อง         ตัวอย่างการ "เฟรม" แบบน้คือสิ่งที่ OECD พยามจะผลักดัน รายงาน จาก OECD ชี้นนี้ชี้ว่า เราควรลดความมเหลื่อล้ำเพราะความเหลื่อ้ล้ำทำให้เศรษฐกิจโตด้วยอัตราที่ต่ำลง (ถึงแม้ว่านักวิจัยจะยังไม่สามารถตกลงกันด้วยหลักานได้ว่าเป็นเพราะเหตุใด...) โดยผ่านแนวทางที่นักเศราฐกศาสตร์ตั้งสมมติฐานไว้เช่น 1.ความเหลื่อล้ที่มากขึ้นทำให้ประชาชนเรียกร้องให้ขึ้นภาษีธุรกิจ ขอให้ทำการกำกับดูแลที่รัดกุมขึ้น หรือประท้วงไม่เอานดยบายที่เป้นการช่วยเหลือกกลุ่มธุรกิจ 2" ความเหลื่อมล้ำที่มากข้นในังคมที่มี "ไฟแนลเชียล มาร์เก็ต อิมเพอร์เฟคชั่น" อยุ่แต่เดิมแล้วจะทำให้คนที่ฐานะไม่ดีไม่สามารถลงทุนในส่ิงที่ควรลงทุนเพื่อก่อให้เกิดผลตอบแทนอันมหาศาลต่อทั้งผุ้ลงทุนและผลผลิตของชาติ (ิช่นการลงทุนในการศึกาที่มีคุณภาพ)


          อย่างไรก็ตาม ผุ้เขียนก็เข้าใจว่าทำไมหลายองค์กรค์ที่ต้องการลดระดับความเหลื่อล้ำถึงมักตีกรอบ ปัญหาความเหลื่อล้ำให้เป็นปัญหาเศราฐกิจ การframe ปัญหาความเหลื่อมล้ำในมุมองของการเติบโตของเศรษบกิจทำให้หลายคนเลิกกังวลว่าการที่ภาครัฐดำเนินนโยบยเพื่อลดความเหลื่อมล้ำที่เข้มขนขึ้นนัน ถึงแม้อาจเป็นการลดแรงจูใจในการทำงานแต่บวกลบออกมาแล้วมีผลป้นบวกต่อัตรการเติบดตของเศราฐกิจ และมันคงจะเป็นวิธี "เฟมส์" ที่เป็นไปในทางปฏิบัติ ที่สุดแล้วในการมัใจผุ้คน (และผุ้มีอิทธิพล) ให้หันมาเหลี่ยวแลปัญหานี้ได้


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ความเหลื่อมล้ำใน อเมริกา
          ขระที่หลายฝ่ายกำลังให้ความสนใจกับภัยจากระดับความเหลื่อล้ำสุงใน 2 ด้านหลักๆ คือ ภัยต่อเศรษฐกิจ และภัยต่อสังคม ในอีกมุมองหนึ่ง (ผู้เขียน) คิดว่าการเจิรญเติบโตของเศรษฐกิจเป็นเรื่องสำคัญ แต่ในขณะเดียวกันเราไม่ควรคิดจะแ ก้ปัญหาความเหลื่อล้ำเพียงแค่เพราะว่ามันจะทำให้เศราฐกิจโตเร็วขึ้นหรือต่อเนื่องขึ้น โดยมองว่า หนึง เศราบกิจที่โตวันดตคืน คือจุดหมายที่แท้จริงของการแก้ไขปัญหาความเหลื่อล้ำ และ สอง หากวันดีคืนดีเราเกิดไปเจอวิะีเพ่ิมอัตราเติบโตของเศรษฐฏิจที่ทำได้ง่ายกว่าการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำคภถามที่น่าคิดคือ จะยังมีใครยอมเหน็นดเหนื่อยเพื่อแก้ปัญหานี้อีกหรือไม่ และสาม คือ ผุ้เขยนเป็นห่วงย่าเรายังไม่เข้าใจความเหลื่อมล้ำดีพอที่จะตอบคำถามว่า แล้วเมื่อเศราฐกิจเติบโตขึ้นแล้วจะเกิดอะไรขึ้นกับความเหลื่อมล้ำในอนาคต งานวิจัยทางเศราฐกศาสตร์ด้านความเหลื่อมล้ำที่ใช้ข้อมูลคุณภาอย่างที่ทีมวิจัยของ ปีเคตตี ใช้นั้นยังมีไม่มาก แม้ว่าพักหลังนี้เร่ิมมีงานวิจัยที่นำเสนอหลักฐานจากการหาความสัมพันธ์ทางสถิติระหวางมาตรการเพื่อลดความเหลื่อล้ำกับความต่อเนื่องในอัตราเติบโตของเศรษกบิจ เราคงยังต้องรอดุกันต่อไเพราะว่าการหาความสัมพันะ์กับการเป็นเหตุเป็นผลกันมันไม่ใช่อย่างเดียวกัน

          ตัวอย่างการ "เฟรม" ปัญหาควมเลหื่อล้ำในมุมองของการเติบโตของเศราฐกิจทำให้หลายคนเลิกกังวบลว่าการที่ภาครัฐดำเนินนโยบายเพื่อลดความเหลื่อล้ำที่เข้ามข้นขึ้นนั้น ถึงแม้อาจเป้นการลดแรงจูงใจในการทำงานแต่บวกลบออกมาแล้วมีผลเป็นบวกต่ออัตรการเติบโตของเศราฐฏิจ และมันคงจะเปป้นวิธี "เฟรม" ที่เป้นไปในทางปฏิบัติ ที่สุดแล้นวในการมัใจผู้คน (และผุ้มีอิทธิพล) ให้หันมาเหลียวและปัญหานี้ได้
         ที่จริงแล้วการที่ใครบางคนร่ำรวยกว่าคนส่วนมากมันก็ไม่้ได้เปนปัญหาในัวมันเองมากนักตรอบใดที่คนส่วนมากยงมีรายได้พอกินพอใช้ แต่สิ่งนี้จะเป้นปัญหาได้ก็เพราะว่ามัมีความเป้นปได้สูงที่คนกลุ่มอภิมหารวยกลุ่มนี้จะสามารถยึดคองสิ่งอื่นๆ ในสังคมนอกจกแค่เม็ดเงินได้ด้วย
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ความเหลื่อมล้ำใน อเมริกา
          มุมมองนี้เป้น มุมมองที่ "โจเซฟ อี. สทิจลิทซ์" เขียนเอาไว้ในหนังสื่อของเขา สองเล่ม โดยมองว่า การที่ความมั่งคั้งเกินครึ่งไปกระจุกอยู่บนยอดปลายแหลมของพีระมิดสังคมจะมีผลทำให้ระบอบประชาธิปไตยขัดข้องและถดถอยจากระบบ "วัน เพอร์เซน วัน โหวต" ไปเป็น วัน ดอลล่าร์ วัน โหวต" ที่กลุ่มธุรกิจหรืกลุ่มที่มั่งคั่งกว่าสามารถล็อบบี้หรือแม้กระทั่วกดดันรัฐบาลเพื่อให้ออกกฎหมายที่สามารถดยกย้ายทรัพยากรเพื่อผลประโยชน์ของตัวเอง แทนที่ว่าการกรำทำของรัฐบาลจะสะท้อนความต้องการของประชากรอมู่มาก และสุดท้ายความเลหื่อล้ำนี้จะทำให้ความแค้นสั่งสมในหมู่ประชาชนจนกลางเป้นชนวนก่อให้เกิดวิกฤติความขัดแย้งกทางการเมืองได้ในที่สุด
          ในสังคมอเมริกันทุกวันนี้ "สติจลิทซ์" ยกตัวอย่างทีเ่ห็นได้ชัดคือแม้ว่าประชาชนจะห็นวาระบบการเก็บภาษีเงินได้นั้นไม่แฟร์แต่ไปๆ มาๆ บุคคลที่ร่ำรวยที่สุด 400 คนกลับจ่ายภาษีเงินได้น้อยกว่า 20% ของรายได้ทั้งๆ ที่จริงๆ แล้วควรจะจ่ายเป็นเปอร์เซ็นต์ที่สูงกว่านั้นตามระบบภาษีแบบ ก้าวหน้าที่สหรัฐฯ เป็นประเทศแรกๆ ที่ริเริ่มมัน อีกทั้งลริษัทยักษ์ใหญ่มากมาย เช่นบริษัท เจอรืเนอรอล อีเลกทริก นั้นลททุนไปกับการหาช่วงโหว่ของกฎหมายภาษีถึงขั้นที่ว่าในสิบปีระหว่างปี เจอร์เนอรัล อีเล็ทริก จ่ายภาษีไปแค่เฉลี่ยแล้วปีละ 1.8%ผุ้เขียนไม่แน่ใจจริงๆ ว่าควรจะชมว่าเก่งหรือโกงดี เพราะว่าเขาไม่ได้ทำผิดกฎหมาย (คงทั้งคู่)
          ในสายตาของ สติจลิทซ์ สังคมในอุดมคิที่ชาวอเมริกันเคยภาคภูมิใจนั้นกลับหลายเป็นสังคมที่คนรวยมีโอกาสได้เข้าถึงการศึกษาคุณภาพที่ดีกว่าคนจนเป้นสังคที่คนจนมีอุปสรรคเมื่อต้องกาเข้ารักษาสุขภาพ เป็นสังคมที่ถึงแม้คนรวยจะฉีกตัวห่างจากคนจนไปจนไม่เห็นฝุ่นแต่ค่าแรงขึ้นต่ำขณะนี้ดันน้อยกว่าสมัยเมื่อ 50 ปีที่แล้ว ทั้งๆ ที่เศรษฐกิจปัจจุบนก็โตช้ากว่าและคนก็ไม่ได้ว่างงานน้อยกว่าด้ยเท่านี้ยังไม่พอคน่วนมากยังจ่ายภาษี เป็นเปอร์เซ็นต์มากกว่คนที่ฐานะดีอีกด้วย
           ทั้งหมดนี้บ่งบยองว่าอุดมการ์ของชาติอเมริกันกำลังเพี้ยนไปอย่งรุนแรง จริงอยู่ที่สหรัฐฯ เป็นชาติที่ให้ควาสำคัญกับการแข่งขัน แต่ทุกวันนี้ อเมริกัน ดรีม กลับกายเป้นฝันร้ายแห่งความเลหื่อมล้ำที่ผิดเพี้ยนไปเป้ฯว่าชาวอเมริกันไม่มีทางเลือก ไม่มีความเป็นธรรมในโอกาศทางสังคม แต่ยังจำเป็นนต้องชิงดีชิงเด่นไต่บันไดฝันอย่างเอาเป็นเอาตายเพื่อขึ้นไปตัดพายชิ้นใหญ่ให้กับตัวเอง กลายเป็นสัังคมที่เอาตัวรอดแบบสุดขั้วเพราะว่าหากปล่อยให้คนอื่นไต่บันไดฝันแซงเราไปหรือเราลพลั้งพลาดหล่าลวาหน่อยก็จะอดตายหรือป่วยตายได้
          สิ่งที่หนังสื่อ "แคปปิตอล" กำลังเตือนเราก็คือ หลายสังคมบนโลกโดยเฉพาะอยางยิ่งสังคมอเมิรกัน หรือสังคมที่พยายามทำตัวให้คล้ายสังคอเมริกัน คล้ายกับว่าระดับความเหลื่อมล้ำที่สูงนั้นทำให้ยิ่งคนเราอยู่ใกล้เชิงบันได อเมริกัน ดรีม เท่าไร แต่ละขั้นบันไดมันย่ิงห่างกันมากขึ้น นั้นก็คือ การเราเกิดร่วงลงไป หรือโชคไม่ดีเกิดมาแถวๆ เชิงบันไดขึ้นมา มันจะทำให้เราปีนกลับขึ้นมาได้ยากมาก ส่วนเด็กๆ ที่โชคดีนั้นเกิดมาอยุ่บนปลายบันไดเลย ต่อให้ไ่ปีนป่ายเลยสักขั้นเดียวก็คงจะไม่เป็นไรนัก
          บางคนอาจมาอง่าแบบนี้ก็ดีแล้วสัคมจะได้รีดเค้นเอาหัวกะทิออกมาจากกองมนุษย์ะรรมดา ๆ ทังหลาย ไ่ต่างจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ที่จะทำให้มนุษย์ที่เหลือยุ่มีแต่พวกที่ "สมควรอยู่กว่า" ...https://thaipublica.org/2015/12/settakid-16/

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)