Tax structure

          โดยทั่วไปแล้วภาษีเป็นเครื่องมือของรัฐบาลเพื่อบรรลุเป้าหมายหลากหายประการ เช่น เพื่อการายได้ให้แก่รัฐบาล เพื่อส่งเสริมและจำกัดกิจกรรมทงเศราฐกิจบางประเภท เืพ่อรักษาเสถียรภาพของระบบเศราฐกิจเพื่อลดความเหลื่อล้ำในการกระจายรายได้อีกด้วย อย่างไรก็ตามความสำคัยของแต่ละเป้าหมายมีพัฒนาการและเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละช่วงเวลา โดยความสำคัยของเป้ากมายในการดำเนินนโยบายภาษีถูกเปลี่ยนไปจากขช่วงแรกที่เน้นการสร้างความเท่าเที่ยมกนไปเน้นที่การสร้างความเจริญเติบโตทางเศราบกิจ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากแรงกดดันที่มาควบคู่กับกระบวนการโลกาภิวัตน์ึ่งทำให้การเคลื่อนย้ายทรัพยากรมีลักษณะไร้พรมแรนมากขึ้น 
         ศักยภาพของการใช้ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเพื่อเป็นเครื่งอมือในการลดความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้มีความแตกต่างกันไปนแต่ละประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศกำลังพัฒนาจะมีข้อจำกัดมาก  และสำหรับกรณีของไทนนั้น คึวามสามารถ ของภาาีเงินได้บุคคลธรรมดาในการแก้ไขปัญหากระจายรายได้ยังคงมีข้อจำกัดมาก การมีภาครัฐที่มีขนาดเล็ก ทำให้รัฐบาลไทยไม่สามารถใช้เครื่องมือทางด้านรายจ่ายเพ่อลดวามเหลื่อมล้ำในสงคมได้มากนัก การมีภาครัฐที่มีขนาดเล็ก ทำให้รัฐบลไทยไม่าสามถใช้เคื่องมือทางด้านรายจ่ายเพื่อลดความเหลื่อล้ำในังคมได้มากนัก
       
ระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของไทยนอกจากจะมีผุ้มีงานทำจำนวนมากที่ไม่อยู่ในระบบภาษีแล้วการกระจายภาระภาษีระหว่งผุ้มีเงินได้สุทธิในชั้นเงินได้ต่างๆ มักมีความเหลื่อมล้ำกันอยู่มาก และภาระภาษีมีการกระจุกตัวอยุ่ที่คนส่วนน้อย ทั้งนี้ การใช้มาตรการทางภาษีเงินได้บุคคลธรรมดเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสงคมจะสามารถทำได้ก็ต่อเมือระบบการจัดเก็บภาษีมีประสิทธิภาพและผุ้มีงานทำส่วนใหญ่ในสังอยู่ในระบบภาษีแต่ด้วยเหตุที่เงื่อนไขดังกล่าวมิได้เกิดขึ้นกับกรณีของประเทสไทย ดังนั้น กรใช้มาตรการภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคมและช่วยเหลือผู้มีรายไ้ด้น้อยจึงควรใช้ควบคู่ไปกับมาตรการทางด้านรายจ่ายด้วย
             นักเศรษฐศาสตร์ได้ให้ความสนใจมาเป้นเวลาช้านานเกี่ยวกับบทบาทของเครื่องมือทางภาษีอากรในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้ของไทย ซึ่งแม้ว่าแต่ละประเทศจะมีส่วนปสมขององค์ประกอบระหว่างภาษีชิดต่างๆ แตกต่างกันไป และในปัจจุบันก็ยังคงไม่มีทษฎีเกี่ยวกับส่วนผสมของภาษีที่เหมาะสม ใดที่เป็นที่ยอมรับกันแพร่หลาย แต่อาจกล่าวได้ว่่า ในทางทฤษฎีแล้ว ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็เนครืองมือสำคัญที่สุดในการทำนห้าที่ลดควมเลหื่อมล้ำดังกล่วในสวนนี้จึงมุ่งตรวจสอบว่่า ในทางทฤษฎีแล้ว ภาาีเงินได้บุคคลธรรมดเป็เนครื่องมือสำคัญที่สุดในการทำหน้าที่ลดความเหลื่อมล้ำดังกล่าว ในส่วนนี้จึงมุ่งตรวจอบว่า ในกรณีของประเทศไทยนั้นการใช้ภาษีเงินได้บุคคล
ธรรมดาเพื่อทำหน้าที่กระจายรายไ้ดได้มากน้อยเพียงใดโดยทั่วไปแล้วภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป้นองค์ประกอบที่สำคัญัของระบอบประชาธิปไตยและทุนนิยม ซึ่งแม้ว่าภาษีดังกล่วจะมีข้อจำกัดอยูมาก แต่ก็ถือได้ว่าเป็น "สัญลักษณ์" ที่สำคัญของความใส่ใจในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายรยไ้อนเกิดจกระบบเศราฐกิจแบบตลาด อย่างไรก็ตามผุ้วิจัยมีข้อสังเกตต่อภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอย่างน้อย 2 ประการ คือ
            ภาษีเงินได้บุคคลธรรดาของไทยช่วยบลดความเลหื่อมล้ำในการกระจายรายไ้ได้น้อยมา ทั้งนี้เพราะฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดามิได้มีความครอบคลุมผุ้เสียภาษีไ้ด้มากเท่าที่ควรและมิได้มีความก้าวหน้ามากนัก โดยเฉพาะิย่างิย่ง ภาษีดังกล่าวักจำกัดอยุ่ที่การหักภาษี ณ ที่จ่ายจากลูกจ้าง ี่อยู่ในระบบการทำงานที่เป้ทางการ ซึ่งบทบาทอันจำกัดของภาษีดังกล่าวสะท้อนออกมาทั้งในรูปของสัดส่วนของรายได้จากภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อรายได้ภาษีทั้งหมด และสัดส่วนของรายไ้ดภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อ GDP
         
และ จากงานศึกษาในกรณีของประเทศไทยเกี่ยวกับผลของการใช้เครื่องมือทางการคลังต่อากรกระจายรายได้นั้ เกือบทั้งหมดมัจะเน้นไปที่การศึกษาเี่ยวกับระบบภาษี ซึ่งงานเหล่านั้นมัตั้งคภถามว่า ระบบภาษีของไทยเป็นระบบก้าวหน้าหรือถดถอย ซึ่ง "ปีเตอร์ วาว์(2003) ได้ให้ความเห้นว่าการตั้งคำถามในลักษระดังกล่าวเป้นเรื่องที่น่าประหลาดมาก กล่าวคือ รายได้ภาษีของไทยส่วนใหญ่มาจากภาษีทางอ้อม ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นที่คาดหมายได้อยู่แล้วว่า เป็นไปไม่ได้ที่ระบบภาษีของไทยจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อการกระจายรายได้ ซึ่งผลการศึกษาต่างๆ ก็ยนยันปรากฎการณ์ดังกล่ว ด้วยเหตุนี้ผุ้วิจัยเห็นว่า การใช้มาตการทางด้านรายจ่ายเป็นส่ิงสำคัญในการส่งเสริมให้เกิดการกระจายรายได้ โดยรัฐบบาลไทยควรต้องพัฒนาระบบประกันสังคมและพัฒนาสวัสดิการ เช่น การนำระบบการเครดิตภาาีเงินได้เนพื่องจากการทำงาน มาใช้ ซึ่งเป็นการใช้ระบบภาษีควบคู่กับการโอนเงิน อันจะสามารถรบุตัวผุ้รับประโยชน์ ไดอ้ยอ่างมี
ประสิทธิผล เช่น สามารถกำหฟนดรายได้ของครอบครัวจำนวนเด็กในครอบครัว หรือคุณลักษระอื่นๆ
           สำหรับประเทศไทย แม้ว่จะมีการปรับโครงส้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรมดหลายครั้ง แต่ก้ยังคงเป็นโครงสร้างอัตราแบบก้ายหนา มาโดยตลอด เพรียงแต่เป็นการปรับช่วงเงินได้ในแต่ละชั้นให้กว้างขึ้น และลดจำนวนชั้นของเงินได้พร้อมทั้งปรับลดอัตราภาษีในแต่ละขึ้นลง การที่ความก้าวหน้าของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาลดต่ำลงเรื่อยๆ ในด้านหนึ่งย่อมเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพ
ของระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เพราะเป้นการจูงใจให้ผุ้มีรายได้สุงทำงานมากขึ้น ในทางตรงกันข้ามก้ทำให้ความเลหือล้ำในการกระจายรายได้สูงขึ้น ทั้งนี้เพราะผุ้มีรายได้สุงจะได้รับประโยชน์จาการลดความก้าวหน้าของภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดมากกว่าผุ้มีรายได้ต่ำ
           ตลอด 30 ปีที่ผ่านม ประเทศไทยปรับโครงสร้างภาษีอัตราภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดามาแล้ว 4 ครั้ง โดยสามารถแบ่งเป็นช่วงต่างๆ ดังนี้
            - ตั้งแต่ปี พ.ศ.2525 ในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ข่วงนั้นโรงร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเน้นหนักไปที่เรื่องการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม โครงสรางอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจึงเป็นระบบภาษีอัตราก้าวหน้าแบบขั้นบันได มีทั้งหมด 13 ขั้นอัตรา โดยเร่ิมเก็บภาษีจากคนจนที่มีรายได้สุทธิไม่เกิน 30,000 บาท เสียภาษีอัตรา 7% จนกระทั่งถึงคนรวยที่มีรายไ้ดสทุธิเกิน 2 ล้านบาทขึ้นไป เสียภาษีที่อัตรา 65%
            - ช่วงปี พ.ศ. 2529 - 2531 ได้มีการปรับคึวามหว้างของแต่ละขั้นเงินได้ให้กว้างขึ้น และปับลดขั้นเงินได้สุทธิจาก 13 ขึ้นอัตราเหลือเพียง 11 ชั้น โดยชั้นอัตราภาษีอยู่ระหวาง 7-55%
             - ปี พ.ศ. 2529 ช่วงปลายสมัยรัฐบาลพลเอกปรม มีการปรับโครงสร้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรดาอีกครั้ง จากเดิม 13 ขันอัตรา ปรับลดลงมาเหลือ 11 อัตรา โดยผุ้ที่ได้รับประโยชน์สูงสุดจากโครงสร้างภาษีใหม่ เป็นกลุ่มคนที่มีรายได้สูงลงมาจนถึงกลุ่มคนที่มีรายได้ปานกลางได้รับส่วนลดภาษีไป 10% เช่น ผุ้ที่มีรายได้สุทธิเกิน 2 ล้านบาทขึ้นไป เดิมเสียภาษีที่อัตราลดลงจากโครงสร้งางเดิม 10% ขณะที่กลุ่มผู้มีรายได้ไม่เกิน 30,000 บาท ไ่ได้ประโยชน์จากการปรับคร้งนี้ ยังคงเสียภาษีในอัรา 7% เท่าเดิม
         
 - ปี พ.ศ. 2532 ในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัฒ เป็นนายกรัฐมนตรี มีการปรับโครงร้า
อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครั้งใหญ่ โดยผุ้ที่ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการปรับโครงสร้างภาษีครั้งนี้ยังคงเป็นกลุ่มคนที่มีรายได้สูง เช่น (ุ้ที่มีรายได้เกิน 2 ล้านบาทขึ้นไ เดิมเสียภาาีทีอัตรา 55 % ลดเหลือ 50% ผุ้ที่มีรายได้อยู่ในช่วง 1-2 ล้านบาท จาก 50% ลดเหลือ 40% รายได้ 7.5 แสนบาท - 1 ล้านบ้า จาก 45% ลดเหลือ 30% รายได้ 5.5 แสนบาท -7.5 แสนบาท จาก 40% ลดเหลือ30%1 ...
          - ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2535 ในสมัยรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน ประเทศไทยมีการนำระบบภาษีมูลค่าเพิ่มมาใช้แทนภาษีการต้า พร้อมกับปรับโครงสร้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเหลือเพียง 5 ขั้นอัตรา โดยกลุ่มที่ได้รับอานิสงส์มากสุดยังตกอยุ่กับกลุ่มคนที่มีรายได้ดี เช่น มีรายได้ เกิน 4 ล้านบาทขึ้นไป จาก 50% ลดเหลือ่ 37% ...
           หลังจากปี พ.ศ. 2535 แม้ว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี หรือช่ว
ของเงินได้สุทธิในแต่ละชั้น แต่ก็ยังมีการออกมาตรการภาษีเพื่อบรรเท่าภาระภาษีของกลุ่มผุ้มีารยได้น้อย และมีการปรับเพ่ิมช่วงเงินได้สุทธิที่ไม่ต้องเสียภาาีมาอย่างต่อเนื่องตามลำดับ..ซึ่งลักษณะดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่า ในกรณีของไทยนั้น ภาษีนอกจากจะเป็นเครื่องมือในการหารายได้ให้แก่รัฐแล้ว ยังเป็นเครื่องือที่สำคัญในการกำหนดนโยบายทางังคมอีกด้วย...http://v-reform.org/u-knowledges/taxreform/

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)