ASEAN : Economic Inequality

            ธ.โลก และสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ได้วิเคาะห์แนวโน้มและพัฒนาการด้านความเลหื่อล้ำทางเศราฐกิจ ของบรระดาประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งรายงานในปี 2555 ระบุวง่า กลุ่มประเทศอาเซียนกำลังเผชิญกับแนวโน้มสำคั 2 ประการกล่าวคือ อาเว๊ยนมีความั่งคั่งที่สูงขึ้น และความเหลื่อล้ำทางเศณาฐกิจระหว่างประเทศสมาชิกมีแนวโน้มลดลง แม้ว่าช่องว่างระหว่างกลุ่มประเทศที่มีรายได้ตอหัวประชารในระดับสูงและต่ำ จะยังความระดัยสุง กล่าวคื อกลุ่มประเทศรายได้สูงมีรายได้ต่อหัวประชากรสูงกว่ากลุ่มประเทศรายได้ต่ำถึงปรมาณ 15 เท่า แต่ช่อง่างดังกล่าวได้ทยอยลดความถ่างลงเรื่อยมาในข่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมาอย่างไรก็ตาม แนวโน้มอีกประการที่ต้องตระหนักและหาแนวทางแก้ไขต้อไปคือ ความเหลื่อล้ำภายในประเทศของสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศกลับมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศที่มีรายได้สูงจะประสบกับปัญหามากกว่ากลุ่มประเทศที่มีรายได้ต่ำกว่าสิ่งนี้เป็นนัยแสดงว่า กลุ่มประเทศที่มีรายได้สูงมีการเพ่ิมขึ้นของรายได้ในอัตรเร่งที่สูงกว่าประเทศสมชิกอื่นๆ
            
                 ข้อมูลและสถิติบางส่วนที่เก่ยวข้องได้สะท้อนให้เห็นถึงพื้นฐานและระดับการพัฒนาที่แตกต่างและเหลื่อมล้ำกันของประเทศสมาชิกอาเวียน ดังมีสาระสำคัญเบื้องต้นต่อไปนี้ จากสถิติในตารางพบว่าประเทศสมาชิกมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจนในด้านจำนวนประชากรและพื้นฐานทางเศราฐกิจ กล่าวคือ ประเทศสมาิชิกของปาเวียนสามาชิกมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจนในด้านจำนวนประชากรและพื้นฐานทางเศรษฐกิจ กล่าวคือ ประเทศสมาชิกของอาเวียนสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่
              กลุ่มที่ 1  คือ ประเทศที่มีขนาดเล็กมาก ทั้งในเชิงจำนวนประชากรและขนาดของเศราฐกิจ แตะประชากรมีรายได้เฉลี่ยต่อหัวในระดับสูง ประเทศที่อยู่ในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย สิงคโปร์และบรูไน
              กลุ่มที่ 2 คือ ประเทสที่มีขนาดเล็ก แต่มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากรในระดับปานกลางค่อนไปทางสูง ประเทศที่อยู่ในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย มาเลเซยน และไทย 
             กลุ่มที่ 3 คือ ประเทศที่มีประชากรจำนวนมก แต่ประชากรมีรายได้เบแียยต่อหัวใรระดับปานกลางค่อนไปทางต่ำ เนื่องจากมีประชากรจำนวนมากเข้ามาขอแบ่งส่วนจากรายได้รวมทของระบบเศณาฐกิจ หรือเป็นประเทศที่กำลังปรับบริบทและอยุ่ในช่วงเปลี่ยนผ่านของการพัฒนา ประเทศที่อยุ่ในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์
            กลุ่มที่ 4 คือ ประเทศที่ยังค่อนข้างล้าหลังทางการพัฒนา และมีรายได้ต่อหัวประชากรในระดับต่ำถึงต่ำมาก ประเทศที่อยุ่ในกลุ่มนี้ประกอบด้วย เวียดนาม ลาว เมียนมาร์ และกัมพุชา
            หากพิจารณาความเหลื่อมล้ำภายในของแต่ละประทศ พบว่า สิงคโปร์ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน และไทย ถือเว่าประสบปัญหาค่อนข้างมากประเทศอื่น ๆ ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา และในบรรดาประเทศเหล่านี้ มีเพียงฟิลิปปินส์เท่าน้นมที่มีพัฒนาการที่ดีขึ้น ขณะที่ไทยกับมาเลเซียมีพัฒนาการในชักษรค่อยเป็นค่อยไป ส่วนประเทศ ลาว เวียดนาม และอินโดนีเซีย มีปัญหาความเลหื่อมล้ำทางเศณาฐกิจที่มีความรุนแรงน้อยกล่าวประเทศก่อนหน้านี้ แต่หามองที่พัฒนากรของการแก้ปขปัญหา จะเห็นว่าอนิโดนีเซียนและลาวมีปัญหาความความเหลื่อมล้ำที่สูงขึ้น ขณะที่เวียดนามมีพัฒนากรควที่ แต่ที่น่าสนใจคือ กัมพุชามีพัฒนาการทีชัดเจนมากที่สุด 
           อาเซียนยัวต้องให้ความสำคัญในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อล้ำทางเศราฐฏิจอย่างต่อเนื่องโยอาจพิจารณากรณีศึกษาของบางประเทศ เช่น ฟินแลนด์ สวีเดน เบลเยียนแลนอเวย์ ซึ่งมีนโยบายภาษีและสวัสดิการภาครัฐที่เข้มแข็ง และนโยบายส่งเสริมควาเท่ารเที่ยมในเชิงโอาสด้านการการออม การศึกษา และการสาธารณสุข เพื่อเรียนรู้บทเรียนจากการพัฒนา และสามารถนำมาปรับประยุกต์กับบริบทของอาเวยนตามความเหมาะสมได้ http://www.itd.or.th/th/%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B9%89/


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)