Cause of inqaulity

          ตั้งแต่หนังสือ Capital วางแผงไปก็ได้ มการถกเถียงและแลกเปลี่่ยนความคิดเห็นกันอย่างมาก ปัจจัยที่หลายคนคิดว่าเป็นต้นตอของความเหลื่อล้ำนั้นมีตั้งแต่ความล้มเหลวของนสมาคมแรงงานในยุคหลังๆ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนดลยีซึงทำให้เกิดความต้องการแรงงานที่มีทักษระสูงและเกิดการ "โละ" แรงงานทักษะต่ำ ไปจนถึงความเหลื่อมล้ำทางโอกาสศึกษา ซึงทั้งหมดนี้นักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็น่าเป็นปัจจัยสำคัญ แต่ไม่สามารถอธิบายระดับคาวามเหลื่อมล้ำที่เราเห็นอย่างในกรณี"รวยกระจุกตัวแล้วแยกวง" บทความความจึงขอนำ แนวคิดที่เกี่ยวเนื่องกับตัตอของปัญหานี้....เช่น
          แนวคิดของ Stiglitz ในบทความนีใช้คำว่า "ปัญหา" คูกับ "ความเหลื่อล้ำ"  แต่จากการสนทนากับผุ้คนที่หลากหลายแล้วพบ่่ามีจนจำนวนไม่น้อยที่ไม่คิดว่่าความเหลื่อมล้ำเป้นปัญหารและคิดวย่าสังคมควรเลิกเสียเวลาด้วยซ้ำ
           งานวิจัย จาก Economic Policy Institute พบว่าผุ้บริหารระดับสุงในสหรัฐฯ มีรายได้มากกว่าลูกจ้าทั่วไป 303 เท่าในปี ค.ศ. 2914 (เทียบกัยราวๆ แค่ 20 เท่าในปี ค.ศ. 1965) หากแปลงสัดส่นนี้เป็นเงินดอลลาร์แล้วผุ้บริหารระดับสูงเหล่านี้มีรายได้โดยเฉลี่ยราว 16 ล้านดอลลาร์ต่อปีเทียบกับแค่ 5 หมื่นดอลลาร์ที่ลูกจ้างทั่วไปได้รับ
           บางคนคิดว่า การที่ผุ้บริหารระดับสูงเหล่านี้มีรายได้มากกว่าหลายเท่านั้นเป็นเรื่องธรรมชาิตที่เป็นไปตามหลักเศรษฐศาสตร์ทีตลาดแรงงานจะให้ค่าตอบแทนที่สุงกว่ากับแรงงานที่มีวามสามารถสูงกว่าและมีผลิตภาพมากกว่าแรงงานท่วไป และอาจมองได้อีกว่ารายได้และโบนคัสเหล่านี้เป็น "รางวัล" มีผุ้ประกอบสมควรได้รับ หารเป็นเช่นนี้จริงการไปลงโทษพวกเขาก้วยการไล่เก็บภาษีมากขึึ้นมากขึ้นนั้นเท่ากับเป็นการลแรงจูงใจนให้พวกเขาทำให้ทั้งบริษัทและเศรษฐฏิจมีการพัฒนาเติบโตขึ้น แต่ทว่าตัวเลข 300 เท่นนี้มีเหมาะสมกับสิ่งที่ผุ้บริหารระดับสุงทำให้กบบริษัทและเศณษฐกิจจริงๆ หรือไม่ หนื่องจากเศรษฐกจในปัจจุบันมีความซับซ้อนสูง จึงขอนำไปสู่เศรษฐกิจแบบง่ายๆ ก่อน
          สมมติว่าเศรษฐฏิจนี้มีคนอยุ่แค 3 คน นาย ก. นายข. และนาย ค. ทุกวันทุกคนมีหน้าที่ออกไปล่าไก่ป่าซึ่งเป็นสินค้าชนิดเดียวในเศณาฐกิจนี้เพื่อเอามาเป็นอาหารประทังชีวิต ตอนเริ่มแรกไม่มีใครมีเครื่องมือใดๆ ต้องลาไก่ด้วยมือเปล่า ทั้บวันได้ไก่ป่าแค่คนละตัวเดียวเท่านั้น จากเช้าจรดเย็น 3 คนนี้จึงไม่ได้ทำอะไรเลยนอกจากล่าไก่ป่ามาเป็นอาหารเพียงเพื่อที่จะได้อยู่รอดไปถึงวันถัดไป สรุปคือเศณาฐกิจนี้ผลิตไก่ไปได้ 3 ตัวต่อวันด้วยคน 3 คน
          ต่อมา นาย ก. เกิดมีไอเดียบรรเจิรขึ้นมาว่าจะทำกับดักหลุมพรางด้วยกิ่งไม้และการขุดดิน ปรากฎว่า "นวัตำรรม" หรือ "เทคโนโลยี" ที่นาย ก. คิดค้านขึ้นมานั้นสามารถทำให้นาย ก. จับไก่ได้วันละ 3  ตัว แทนที่จะเป็นแค่วันละตัวเดียว เที่ยบกัยเมืองวานกลายเป็นว่าเศราฐฏิจนี้สามารถผลิตไก่ป่าได้วันละ 5 ตัวด้วยคน 3 คนแล้ว (นาย ก.ส จับได้ 3 นาย ข. และนาย ค. จับได้คนละ 1) วัดถัดๆ ไปนาย ก. ก็จะเริ่มีเวลาว่างเอาไปทำอย่างอื่นได้โยไม่อดตายเพราะมีไก่เหลือจากเมื่อว่าและบางที่ไก่ป่าไก่ป่าก็เดินมตหลุ่มพรางเอง นาย ก. ซึ่งแต่เดิมเป็นผู้ชื่นชอบความงดงามของบทกวีอยุ่แล้วจึงสามารถใช้เวลาบางส่วนของวันไปเพื่อการแต่งกวี ทำให้เศราฐกิจชาวป่านี้นอกจากจะมีไก่เพิ่มขึ้นทวีคูณแล้วยังมีบทกวีเพิ่มขึ้นวันละบทอีกด้วย ไปเรื่องย นายก . อาจเสนอให้นาย ข. และนาย ค. เลิกจับไก่แล้วไปผลิตอย่างอื่น เช่น ไปหากล้าวมาแลกกับไก่ เป็นต้น พอเวลาผ่านไปหลายพันปี เศรษฐกิจก็จะซับซ้อนขึ้นเป็นแบบที่เห็ฯกันอยู่ทุกวันนี้
         นี้คือคำอธิบายแบบสั้นๆ ว่าเศณาฐฏิจเติบโตได้อย่างไร
          หากเหล่าผู้บริหารระดับสุงที่มีรายได้มากกวาลูกจ้างะรรมดา 300 เท่าสามาถทำให้ "พายเศรษฐกิจ" ก้อนนี้ขยายใหญ่ขึ้นหลายต่อหลายเท่าด้วยความสามาถของคนอยางที่ นาย ก. นำมาสู่เศราฐฏิจชาวป่า ทำไม่สังคมจึงจะมาประฌามเหล่าผุ้บริหารระดับสูงทั้งๆ ที่หลายคนในกลุ่มนี้ไม่เคยทำตัวให้เป็นภาระสังคมา แต่สังคมกลับไปแบกอุ้มคนที่ฐานะไม่ดีบางคนที่มีพฤติกรมเสี่ยง..
           แต่ในทางกลับกันหากเราพิสูจน์ได้ว่าเหล่าผู้บริหารระดับสูงไม่ได้มีผลิตภาพมากว่าแรงงานปกติทั่วไป เป็นเพีงแรงงานธรรมดาๆ อย่างเช่น นาย ข. และนายค. แล้วเงินตอบแทนที่มากว่า 300 เท่ามัมาได้อย่างไรกัน
           จุดสำคัญจึงอยุ่ตรงที่ว่ามันเป็นกรณี 1) ผู้บริหารระดับสุงเหล่านี้ได้รับรายได้สูงเพราะว่าตลาดแรงงานยอมจ่ายเพื่อแลกกับความสามารถของพวกเขาหรือว่าเป้นกรณี 2) ผู้บริหารระดับสุงเหล่านี้ใช้อำนาจของตำแหน่งของตนในการนำมาซึ่งรายได้อันมหศาลเกินกว่าที่เป้็นมุลค่าของความสามารถของเขา
            กรณีที่ 2 นั้น Stiglitz เรียกมันเป้นพฤติกรรม "เร้นท์ ซีคกิ้ง" ซึ่ง "เร้นท์" ในที่นี้ไม่ได้จำกัดความไว้แค่ค่าเช่าอพาร์ตเมนต์หรือค่าเช่น แต่ "เร้นท์" เป้นคำที่นักเศรษฐศาสตร์ใย้แบบกว้างๆ เพื่อเรยกวถึงเวิน่วนเกินที่บริษัทหรือบุคคลได้รับเพียงเพราะว่าตลาดขาดความแขงขันอยางในตลาดที่มีผุ้ผลิตอยุ่ไม่กี่รย เช่น ตลาดการเงิน ตลาดยา ตลาดประกันสุขภาพ และตลาดโทรคมนาคม เป็นต้น เขายังมองว่ ในสังคมสมัยใหม่แทนที่คนเตาจะเอาเวลาและทรัพยากรไปพัฒนาเศราฐกิจทำพายทังก้อนให้โตขึ้นแบบที่ นาย ก. ทำให้เศรษฐกิจชาวป่าเติบโต กลับกลายเป็นว่าคนสมัยใหม่กำลังหมกมุ่นกับการแย่งชิงไต่เต้าขึ้นไปเป้นผุ้บริหารระดับสุงเพื่อขูดรีดแบ่งพายชิ้นใหญ่ขึ้นให้ตัวเองจากก้อนพายขนาดเท่าเดิม
            บิล เกตส์ เองเคยออกมาปกป้องเหล่าผุ้บริหารระดับสุงที่ติด แรคกิ้ง ฟอร์บ 400 และเตือนว่าอย่าลืมไปว่าครึ่งหนึ่งในนั้นเป็นผุ้ประกอบการทีประสบความสำเร็จอย่างสูงด้วยตัวเองและได้นำมาซึ่งสินค้าและบริการที่โลก็ต้องการแต่จากกราฟด้านบนเราจะห้นวา่มันก็พอที่หลักฐานที่นาเชื่อถือได้พอประมาณที่บ่งบอกว่าสถานการณืในกรณีที่ 2 นั้นโดยเฉลี่ยแล้วอาจเป้นคำอธิบายที่น่าเชื่อถือว่ากรณีที่ 1 ในสหรัฐฯ เหตุผลก็คือ รายได้ของผุ้ประกอบการของบริษัททอป 350 เหล่านี้สุงกว่ารายได้ของกลุ่มคนทอป 0.1% นี้ได้มันมาเพราะความสามารถและผลิตภาพที่สูงกว่าคนปกติ แล้วอีก 6 เหล่าเท่าที่เกินมาสำหรับพวกผู้บริหาระดับสูงล่ะ มันจะมาจากไหนได้อีก นักวิเคราะห์ของ " สถาบัน เศรษฐศาสตร์ นโยบาย" มองว่าคนเหล่านี้ได้มาเพียงเพราะได้ครองตำแหน่งที่สามารถทำให้พวกเขาสูบ "เร้นท์" ออกมาได้สะดวกขึ้น..https://thaipublica.org/2015/12/settakid-16/

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)