โดยให้รื้อฟื้นการมีปฏิสัมพันธ์ทุกระดับกับประเทศไทย รวมทั้งให้คณะกรรมาธิการยุโรปดูความเป็นไดได้ที่จะกลับมาหารือ FTA ไทย อียู ด้วย ซึ่งถือเป็นข่าวดีสำหรับความสัมพันะ์ระหว่งไทยกับ อียู เรพาะจะทำให้ประเทศสมาชิกของอียูได้พูดคุยกับไทยในเรื่องความร่วมมือด้านสำคัญต่างๆ ซึ่งเป็นเรื่องที่สมประโยชน์ทุกฝ่าย
พัฒนาการสำคัญๆ ในปี 2017
- การเจรจาเรื่อการถอนตัวออกจากการเป็นามาชิกอียูของสหราชอาณาจักร หรือ Brexit ซึ่งเร่ิมขึ้นภายหลังจากที่รัฐบาสหราชอาณาจักแจ้งอียูอย่างเป้นทางการว่าต้องการถอนตัวออกจาการเป็นสมาชิกเมื่อเอือนมีนาคม และได้เริ่มการเจรจาระยะที่หนึ่ง ซึ่งเป็นเรื่องของ "กาถอนตัว" มีเรื่องสำคัญได้แก่ เรื่องเงินงบประมาณอียูที่สหราชอาณาจักรต้องรับผิดชอบ เรื่อง สิทธิประโยชน์ของพลเมืองทั้งสองฝ่ายซึงเป็นสมาชิกอียู ในการอาศัยและทำงานหลังการถอนตัว และเรื่องด่านทางบกระหว่างอไอร์แลนด์เหนือซึ่งเป็น่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรกับสาธารณรัฐไอร์แลนด์
แม้การเจรจาดูเหมือนจะเป็นไปด้วยความยากลำบาก แต่ในทีุ่ด ที่ประชุมระดับผุ้นำอียูเมื่อเดือนธันวาคมก็ได้มีมติยอมรับว่า การเจรจาระยะที่หนึ่งมีควาคือหน้า "เพียงอพ" ที่จะเร่ิมการเจรจาในระยะที่สองต่อไปได้ ซึงกสรเจรจาในระยะที่สอง ก็จะเป็นเรื่อง "รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสหราชอาณาจักรกับอียูภายหลังการถอนตัว" นอกจากนี้ ผุ้นำอียูยังเห็นชอบข้อเสนอของสหราชอาณาจักรที่จะให้มี "ช่วงเปลี่ยนผ่าน" ประมาณ 2 ปี หลังจากที่สหราชอาณาจักรออกจากการเป็นสมาชิกแล้ว ถือว่าความคืบหน้าในเรื่องการเจรจาที่กล่าวถึง ทให้หลายฝ่ายคลายความกังวลไปได้ระดับหนึ่ง ส่วนหน้าตาและผลของการเจรจาระยะที่สอง รวมทั้งช่วงเลปี่ยนฝ่านจะเป็นอย่างไร ก็คงต้องรอติดตามต่อไปในปี 2561
- เศรษฐกิจของอียู โดยปี 2560 นับเป็นช่วงปีแห่งการฟื้นตัวของเศรกิจยุโรปทั้งอียู และยูโรโซน โดยเศรษฐกิจยูโรโซนปิดฉากปี 2560 ด้วยสถิติการขยายตัวทางเศณาฐกิจที่สูงที่สุดในรอบ 7 ปี โดยกรรมาธิการด้านเศรษฐกิจและการเงิน ได้รายงานว่า ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา อียู สร้างงานใหม่กว่า 8 ล้านตำแหน่ง ทำให้อัตราการว่างงานในอียูลดจาก 10.9 % ในปี2556 ลงมาที่ 7.8 ในปี 2560 ซึ่งส่สยหนึ่งมาจากแรงกระตุ้นทางเศราฐกิจที่สอดรับประสานกันระหว่างประเทศหลักของยูโรโซน สะท้อนให้เห็นว่าปัจจัยทางการเมือง (การเลื่อกตั้งในประเทศหลัก คือ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ ออสเตรีย และเยอรมนี) ไม่ได้ส่งผลกระทบทางลบต่อเศรษฐกิจในอียูเท่าใดนัก
- ผลการเลื่อกตั้งในประเทศอียูสำคัญๆ คือ เนเธอแลนด์ ฝรั่งเศส ออสเตรีย และเยอรมนี กระแสที่เกิดขึ้นในช่วงหาเสียงเลือกต้ง คือ ความหวาดเกรงว่า พรรคการเมือง "สายประชานิยม" และ "ต่อต้านอียู" จะได้รับความนิยมขนาดชนะการเลือกตั้งได้ ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นแล้ว ก็จะทำให้อนาคตของอียูย่ิงมีความไม่แน่นอนมากขึ้นหลักงจากที่ประสบ "ช็อก" จาการที่อังกฤษโหวตถอนตัวออกจาอียู มาแล้ว แต่ในที่สุด ผลการเลื่อกตั้งที่ออการมานััน ปรากฎวา พรรค/ผู้นำฝ่ายกลาง-ขวา สาย "โปรอียู" ต่างได้ับเลือกต้เข้ามาบริหารประเทศทั้งส้ิน
กล่าวคือ เนเธอร์แลนด์ได้เลือกนายรัตเตจากพรรคกลาง-ขวา ฝรั่งเสสเลือกประโานาธิบดีมาครงที่ต้องการสร้างความเข้มแข็งให้กับอียู ออสเตรียได้รัฐบาลฝ่ายขวา ที่มีท่าที่สนับสนนุอียู ส่วนเยอมนีก็ได้เลือกนางแมร์เคิลกลับมาเป็นนายกรัฐมนตีอีกครั้ง ดังนั้น ในปี 2560 การเมืองในอียูจึงน่าจะถือได้ว่า กลับมามีบรรยากาศสดใสและมีความมั่นใจมากขึ้นเมื่อเที่ยวกับภาวะที่ค่อนข้งอึมครึมในช่วงปลายปี 2559
สถานการอียู ในปี 2561
บัลแกเรียรับตำแหน่งปรธานคณมนตรีในช่วงครึ่งแรกของปี 22561 ซึ่งถือเป็นครั้งแรกที่ประเทศนี้รับตำปน่งปรธานหมุนเวียนของอียู โดยบัลแกเรียได้กำหนดวาระงานสำคัญ คือ อนาคตของยุโรปและเยาวชน, ความสัมพันธ์กับประเทศบอลข่านตะวันตก, ความมั่นคงและเสถียรภาพในยุโรป และ การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิตอล
แต่นอกจาประเด็นเหล่านี้แล้ว อียูต้องให้ความสำคัญกับเรื่องนโยบายการโยกย้ายถ่ินฐาน (การรับคนอพยพด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจหรือลี้ภัยสงคราม) และการขับเคลื่อนการรวมตัวทางเศราฐฏิจและการเงิน ซึ่งความลักลั่นระหวางนโยบายการเงินกับการคลังมีส่วนทให้เกิดวิกฤติสภาพหนี้ในประเทศยุดรปตอนใต้ ตลอจนการรวมตัวของภาคการเงินและการธนาคาร ซึ่งกำหนดว่าต้องได้รับการตัดสินใจภายในเดือนมิถุนายน
ที่น่าจับตา คือ ประธานาธิดบีมาครงกับนางแมร์เคิลนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ได้ตกลงกันที่จะแถลงกำหนดท่าที่รวมกัน ในเรื่อง EMU ในเดือนมีนาคม
การเจรจา Brexit คงเข้าสุ่ช่วงเข้มข้น เพราะจะต้องเร่งเจรจาระยะที่ 1 ในครบทุกประเด็น และเริ่มการเจรจาระยะยที่ 2 ซึ่งยังขาดความชัเจนในเรื่องสิทธิประโยชน์ในการเข้าถึงตลาดร่วมอียู และรูปการเจรจาระยะที่ 2 ซึ่งยังขาดความชัดเจนในเรื่องสิทธิประโยชน์ในการเข้าถึงตลาดร่วมอียู และรูปแบบความสัมพันะ์กับอียูในอนาคตทั้งหมดนี้ จะต้องเจรจาให้เสร็จออกมาเป็นเกสารข้อตกลงทางการ(หรือสนธิสัญญา) ภายในเดือนตุลาคม เพื่อที่ประเทศสมาชิกอียูจะไปผ่านกระบวนการให้สัตยาบัน เพื่อให้การออกจากสมาชิกอียูของสหราชอาณาจักรเสร็จสิ้นสมบูรณ์ภายในสิ้นเดือนมีนาคม 2562
ทางด้านเศรษฐกิจนั้น คณะกรรมาธิการยุดรปคาว่า เศราฐกิจอียู น่าจะเติบโตในอัตราเฉลี่ยประมาณ 2.1% ซึ่งถือเป็นแนวโน้มที่ดี เป็นการฟื้นตัวอย่งช้าๆ ต่อเนื่องจากปี 2560 ขณะที่อัตราเงินเฟ้อยังอยุ่ที่ 1.7% เท่าเดิม
http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/643763