Brexit ซึ่งมาจากคำว่า Britain+Exit คือความเสี่ยงที่สหรัชอณาจักร หรือ "อังฏฤ" อาจจะออกจาสหภาพยุโรป
สหภาพยุโรป เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ที่ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิกในยุโรป 28 ประเทศ มีขนาดของตลาอในแง่ GDP ใหญ่ที่่สุดในโลก (พอกับสหรัฐอเมริกา) แต่กมีลางประเทศในยุดรปี่ไม่ได้เป็นสมาชิกสหภาพยุโรป เช่น นอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์ และสหภาพยุโรปเปนมากว่าเขตการค้าเสรีหรื "custom union" เพราะไม่เพียงสินค้าและบิรการจะสามาถเข้าออกประเทศสมาชิกไ้อย่างเสรีแล้ว แรงงานและทุนก็สามารถเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศได้อย่างเสรี แปลว่าคนในประเทศสมาชิก สามารถเดินทางไปหางานในอีกประเทศได้ และทุนสามารถเคลื่อนย้ายกนได้อย่างเสรี
เพื่อทำให้เกิดสิ่งเหล่านี้ได้ สหภาพยุโรปจึงต้องมีอำนาจเหนือรัฐสมาชิกในการออกกฎหมายและระเบยบต่างๆ เพื่อควบคุมบางเรื่องให้สอดคล้องกันทั่ยสหภาพยุดรป และบัคับใช้ได้ในทุกประเทศสมาชิก และสหภาพยุโรปมีสถานบันที่มีลักษณะเหมือนรัฐเหนือรัฐ เช่น มีรัฐสภาพยุโรป และศาลยุติธรรมยุโรป เพื่อออกกฎหมายแลแก้ไขข้อพิพาทที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายของสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่คล้ายการคลังของรัฐเหนือรัฐ ในการเก็บเงินจากประเทศต่าๆงๆ แล้วเอาไปกระจายให้กบประเทศสมาชิก

ประเด็นเหล่านี้มีการพูดถึงกันตลอด แต่เริ่มเป็นประเด็นใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีปัญหารผู้อพยพในยุโรป หลายคนที่อยากให้รัฐบาลออกกฎหมายควบคุมเขตแดนเพื่อลดจำรวนผุ้อพยพ แต่ก็ทำไม่ได้เต็มที่เรพาะไปขัดกับกฎของสหภาพยุโรป
ประเ็นเหล่านี้กลายเป็นประเด็นสำคญทางการเมืองในสหราชอาณาจักมากขึ้นเรื่อยๆ จนพรรคการเมืองพรรคหนึ่งทีมีนโยบายสนับสนุนให้สหราชอาณาจักรออกจากสหภาพยุดรป เร่ิมได้คะแนนเสียงมากขึ้นเรื่อยๆ จนพรรคการเมืองหลักอย่งพรรคอนุรักษ์นิยม และพรรคแรงงาน เร่ิมจะเก็บประเด็นนี้ไว้ใต้พรมไม่ได้
ในการเลือกตั้ง เดวิด คาเมรอน จึงประกาศว่า ถ้าชนะการเลือกตั้ง จะเอกประเด็นนี้มาให้ประชาชนโหวตตัดสินกัน และจะเจรจากับสหภพยุโรป เพื่อปฏิรูปข้อกำหนดสหภาพยุโรป และขอเงื่อนไขที่ดีขึ้นต่อสหราชอาณาจักร

โดยเหตุผลของฝ่ายสนับสนุนให้ออกดูจะเป็นเหตุผลด้านการเมืองมากกว่ ฝั่งนับสนนุมองว่า การอยู่ในสหภาพยุโรปมีโทษมากว่าประโยชน์โดยเฉฑาะประเด็นอธิปไตย และการออกกฎหมย (โดยเฉพาะจากกรณีผู้อพยพ) และเห็นว่ากฎระเบียบต่างๆ จากสหภาพยุโรปเป็นตัวฉุดรั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร ต้นทุนทางการคลังก็เสียไปเปล่าๆ
นอกจากนี้ ฝ่ายสนับสนุนเชื่อว่าต้นทุนการออกจากสหภาพยุโรปน่าจะมาอก เพราะยังไงน่าจะเจรจากันได้ และยุโรปก็ต้องพึงพาสหราชอาณาจักรเหมือนกัน

นอกจากนนี้ สหราชอาณาจักรยังเป็นศูนย์กลางการลงทุนและศุนยกลางทางการเงินของยุโรป เพราะได้ประโยชน์จากเงือ่นไขและกฎระเบีบที่ใช้เหมือนกัน ถ้าวันหนึ่งสหราชอาณาจักรออกจากการเป็นสหภาพยุโรป แล้วสหภาพยุโรปไม่ยอมรับระเบียบการดูแลสภาบันการเงินของสหราชอาณาจักขึ้นม จะเกิดอะไรขึ้นกับสถาบันการเงินที่ใชลอนดอนเป็นศูนย์กลาง
นอกจากนี้ ยังมีความเสี่ยงว่าสหราชอาณาจักรอาจจะแตกเป็นเสี่ยงๆ ถ้าออกจากสหภาพยุโรป เพราะไอร์แลนด์เหนือและสกอตแลนด์ที่มีทีท่าอยากแยกตัวจากสหราชอาณาจักรอยู่แล้ว อาจใชเป็นเงื่อนไขในการทำประชามติอีกรอบ เพื่อจะอยู่ต่อกับสหภาพยุโรป
ผลกระทบจริงๆ ต่อเศรษฐกิจค่อนข้ายากท่จะประเมิน เรพาะมีความไม่แน่นอนค่อนข้าสุงเีกยวกับเงื่อนไขหลังจากการโหวตไปแล้ว และนักวิเคราะห์หลายคนมีประมาณการที่ต่างกันค่อนข้างมาก ตั้งแต่บวดยันลบ(อาจจะขึ้นอยู่กับความเห็นทางการเมือง) แต่ฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยกับการออกจากสหภาพยุโรปออกมาเตือนกันค่อนข้างเยอะ ท้งรัฐบาลสหราชอาณาจักรเอง ผุ้นำยุโรป และผุ้นำสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ IMF และ OECD ยังออกมาเตือนว่า ถ้าสหราชอาณาจักรออกจากสหภาพยุโรปจริงๆ อาจจะเกิดผลกระทบทางเศราฐกิจโลกอยางร้ายแรงได้ และประเด็นนี้กลายเป็นประเด็นความเสี่ยงสำคัญที่ผุ้จัดการกองทุนทั่วโลกยกขึ้นมาเป็นลำดับต้นๆ แม้แต่ธนคารกลางอังกฤษ ยังบอกว่าจะต้องเตียมมาตรการรับมือกรณีที่ต้องออกจากสหภาพยุโรปจริง ๆ หรือกรรมการนโยบายการเงินสหรัฐฯ ยังบอกว่าการลงประชามติอาจจะมผลต่อการตัดสินใจ...thaipublica.org/2016/05/pipat-46/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น