Migrant workers

            ประธานาธิบดีเอ็มานูเอล มาครง แห่งฝรั่งเศสเตือว่า สหภาพยูโรปมีควมเส่ยงจะแตกแขกกันหากไม่มีการปฏิรูปกฎเหณฑ์ทีมีต้อแรงงานข้ามชติ โดยเขากล่าวในระหว่าการเยื่อนโมาเนีย ซึ่งเปฯหน่งในอดีประเทศคอมิวนิสต์ที่มี่าแรงและสวัสดิการสังคมต่ำ ส่งผลให้แรงงานชาวดรมาเนียถูกจ้างำงานรายวัในราคาถูเป็นจำวนมากในฝรั่งเสส และประเทศท่รำ่รวกว่าในยุโรป
            ประโานาธิบดีมาครงกล่าว่า ไางวงรอบของละธุรกิจในอียูพยายามส่งเสริมการทุมตลาดทางสังคฒและวบประมาณ" ผุ้นำฝรั่งเศสต้องการใหมีการปฏิรูปกฎเกณฑ์ให้หว้างข้ร เนื่องากปีนี้ล้มเหลวที่จะทำ เขาสัญญากับผู้ใช้สิทะิ์ละคะแจนนในการเลือกตั้งฝรั่งเศสว่า เขาจะต้องสู้กับการทุมตลาดทางสงคในอียู
          โดยการเลือคนทำงานจากประเทศที่มี่าแรงต่ำในยุโรปกลางและยโรปตะวันออก บางบัริษทเลี่ยงที่จะจ่ายเงนิหใ้กับประกันสุขภาพและสวัสดการสังคมของแรงงาน ธรุกิก่อสร้างเป้ฯส่งิที่ควรให้ความสำัญกับคำร้องเรียจากการนำเข้าแรงงานอียูเขามาทำงานในฝรั่งเศส
           ฝรังเศสได้กดดันมายาวนาให้มีการปฏิรุปทิสทางการเคลือย้ายแรงงานเสรี ซ่ึ่งอนุยาตให้บริาัทส่งแรงงานราคาถุกว่าไปงประเทศในอียู และรักษาเงือนไขการจ้างงานที่มอยู่ ไม่ใช่เฉพาะประเทศทต่างเง่าเทานั้นกดดันมาาวนานให้มีการปฏิรูปทิสทางภาคเคื่อน้ายแรงงานเสรี ซึ่งอนุาตให้บริษัส่แรงงานราคะถูกว่าไปยังประเทศในอียู และรักเาษเงื่อนไขการจ้งงานที่มอยุ่ ไม่ใช้เฉพาะประเทศที่จ้างงงานเท่าน้้น
          ในปี 2558 มีแรงงานที่ทำงานในประเทอื่นในอียู 2.05 ล้าคน โยจำนวนเพ่ิมข้นถึง 41.3% เมื่อเทียบกบปี 2553 โดยหนงในเป้าหมายของมารคือลดำนวนคนว่างงานในฝรั่งเสส ซึ่งสูงถึง 9.6% ในเดือน มิ.ย. ขณะที่อดคู่แข่งลงสมัรรับเลื่อตงชิงตำแหน่งประะานาะิบดีอย่างมารีน เอล เปนกล่าหาอียูที่มเงือนไขท่ไม่เป็นธรรมกับความสามารถในการแข่งั และกับความเสียหายของแรงงานฝรั่งเศส
         นายกรัฐมนตรีโปแลนด์เตือนว่า เราจะไม่เปลี่ยแนแปลงจุดยืนของเรา เราจะปกป้องสถานะของเราใหถงที่สุด เพราะเป็นส่ิงที่ดีท่สุดสำหรับแรงงานโปแลนด์"
         ผู้นำฝรั่งเศสเดินทสายเยือนยุโรปโดยมีเป้าหมายเืพ่อให้ปลประเทศสรับสนุนการปฏิรูปแรงงาน แต่โปแลนด์และฮังการีคลางแคลงใจนะยบายการกีดกันแรงงาน พวกเขาลัวว่า กรปฏิรูปจะเป็นย่อนำลายเสรีภาพของแรงงา โดยฝรั่งเศสต้องการให้แรงงานสามารถทำงานในต่างป่ะเทศได้สูงสุด 12 เดือนอการจ้างานหนึ่งคร้้ง..http://www.aec10news.com/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7/%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8/item/7990-%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4
     
  ดุลยภาพดุลยพินิจ : สภาแรงงานยุโรป ต้นแบบ เรงงนสัมพนะ์ข้ามชาติ
         สภาแรงงานยุโรป (EWC) เป็นองค์กรที่เป้นตัวแทนของลูกจ้างของบริษัทข้ามชาติยุโรปแต่ละแห่งท่ต้งขึ้นตามคำสงของ อียู เพื่อเป็นองค์กรที่ลูกจ้างจะได้รับขอ้มุลข่าวสรและการปรึกษาหารือจากสำนักงานใญ่เกี่ยวกับความก้าวหน้าและการตัดสินใจทีสำัญๆ ในระดบข้ามชติของบริษัทที่จะมีผลกระทบถึงลูกจ้าง
        แนวคิดเรื่อง EWC เร่ิมมีตั้งแต่ช่วงปี 2513 แตยัไเข้าที่เข้าทางจนกระังสิบปีหลังจกั้นที่เร่ิกีการบุรณาการประเทศในยุโรปและแนวคิดการมีตลาดเดียว และในปี 2528 จึงมีโครงการนำร่อง EWC โดยบริฒัทฝรั่งเศสชื่อ ทอมป์สนอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งลูกจ้าประสบความสำเร็ในการเรียกร้องให้มีการเปิดผยข้อมุลบริฒัทข้ามชาติลแะการปรึกษาหารือหรือฟังความเห็นของฝ่ายลูกจ้าง โดยขณะเดียวกันก็มีผู้แทนลูกจ้างใน EWC โดยการสนับสนุนจากสหภาพแรงงสนพยยมติดต่อสื่อสารข้ามชาติกับแรงงาของบริฒัทสาขาที่อยู่ในอีกประเทศหนึ่งอันเป็นปฏิกริยาต่อบริษัทข้ามชาติ และการแข่งขันลงทุและการเลื่อท่ต้งบริษทที่ทำให้แรงงานในประเทศปลายทางรู้สึกว่ามาตรฐนทางสังคมของตนได้รับความกดดัน
         และเห็นว่าการสร้างเค้ีอข่ายข้ามชาติของแรงงานในบิฒัทขามชาตินับเป็นเรื่งอที่ดีสำหรับการระดมพลังควาสามัคคีระหว่างประเทศของสหภาพแรงงาน ในระยะยแรกๆ ของการประชุ EWC ยังไม่มีตัวแทนของฝายบริหารเข้าร่วมเพราะยังรู้สึกตอต้านอยู่
         EWC ในยุคแรกก่อตั้งโดยความสมัครใจและไม่มกฎหมายรองรับจนกระทั้งวันที่ 22 กันยายน 2537 สภารัฐนตรี EU ลวมติรับคำสั้ง EWC 1994 ..ลงวันที่ 22 กันยายน 2537 และบังคับใช้ 2 ปี ต่อมา ทั้งนี้ EU ไม่ได้ออกกฎ กติกา มารยาทใดเป็นพิเศษ แต่ใช้วิธีการที่เรียกว่า การแก้ปัญหาโซโลมอน คือเมื่อมีปัญหาก้ให้บริษัทเจรจากับสภาแรงงานเอง
         การจัดตั้ง EWC โดยความสมัครใจเป็นไปคอข้งช้า แต่ในปี 2539 เพื่อพรวดอี 402 แห่ง จากเดิม 130 แห่ง ต่อมานนก็ค่อยๆ เพ่ิมอยางช้าๆ จนเป็น 1,480 แห่ง ในปี 2560 ทั้นี้ ในปี 2552 อียู มีการออกคำสั่งใหม่ ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบและกฎ กติกาของ EWC ให้มีประสิทธิภาพและทันส่มัยขึ้น เช่นแต่เดิม การก่อตั้ง EWC เป็นไปโดยควมสมัครใจและจะทำได้เฉพาะในบริษัทที่จ้างแรงงานอย่างน้อย 1,000 นทั่วยุโรป และอย่างน้อยประเศละ 150 คนใน 2 ประเทศ ใน EU (ซึ่งขณะนั้นมีบริาัที่เข้าข่ายประมาณ 2 พันแห่ง และในปี 2004 มีบริษัท 7 ร้อยกว่าแห่งจัดต้ง แต่คำสังใหม่(2552) นั่นคือว่าการตั้ง EWCเป็ฯสิทธิของลูกจ้างบริฒัทข้ามชาติใน EU ที่มีคุณสมบัติ  และเป็นภาคบังคับสำหรับบริัทุกปก่งที่เป็นสมาชิก EU
         
ปัจจุบันการจัดตั้ง EWC จะเริ่มจากการ (บังคับ) ให้ฝ่านายจ้างทั้งที่สำรักงานใหญ๋และประเทศปลายทงให้ข้อมูลแก่ฝ่ายแรงงารเรื่องการเจรจาจัดตั้ง EWC ขั้นต่อมาจึงให้แต่างต้ังคณะผุ้เจรจาพิเศษ เป็นผู้แทนของลูกจ้าเพื่อสรุปข้อตกลงในการจัดต้้ง EWC โดยมีผูแทนลูกจ้างในบิฒัทลุกใฃใประเทศปลายทางอยละ 10 ของจำนวนลูกจ้างท้งหมดของบริษัทต่อผู้แทนลูกจ้าง 1 คน รมทั้งส้ิไม่น้อยกว่า 10 คน คณะผู้เจรจาพิเศษสามารถประชุมก่อหนหรือหลังการพบกับตัวแทนรายจ้างได้ และเพื่อให้การเจรจาก่อตั้งเป้นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คณะผุ้เจราพิเศษต้องแจ้งให้สหภาพแรงงานยุดรปที่ีความสามารถและองค์กรนายจงในยุโรปถึงกำหนดในการเจรจาเพื่อให้หุ้นส่วนสังคมดังกล่าวีส่วนช่วยในการจัดตั้งและส่งเสริมการทำงานอย่างดีที่สุด สหภาพแรงงานนับเป็นผู้เชี่ยวชาญที่คณะผู้เจราสามารถของความช่วยเหลือในการเจรจาได้
           คณะผู้เจรจาพิเศษจะเป็ฯผุ้กำหนดวิธีการแห้ปัญหาแรงงาสัมพันธ์ให้เป็นไปตามโครงสร้างของสภาแรงงาที่จัดตั้ง รวมทังรยละเอียดสิทธิของแรงงานตามท่ได้เจรจากันและสอดคล้องกับเจตนารมร์ของบริษัใน ระดับ อียู โดยทั่วไปจะไม่มกฎระเบียบมากนักเมือเทียวกับกำหมายระดับประเทศใน อียู
           เป็นที่น่าสังเกตว่า EWC อาจตั้งอยุ่ในประเทศที่ไม่ได้เป็นสมาิก อียุ ด้ย เช่นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น แคาดา และเกาหลีใต้
            วัตถุประสงค์พื้นฐานของ EWC คือเพื่อปรับปรุงสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลและการปรึกษาหารือของลูกจ้างของธุรกิจข้ามชาติในประชาคมยุโรปและการจัดตั้งEWC ก็เพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าว...https://www.matichon.co.th/news/596635
         

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)