27 ก.ค 2554 ชาตินิยมขวาผยองยุโรปเตรียมล้างบาง
"กลุ่มขวาจัดในยุโรป" กลายเป็นประเด็นครึกโครมไปทั่วโลกภายหลังเหตุการณ์สังหารโหดในนอร์เวย์
กลุ่มขวาจัดในยุโรป กลายเป็นประเด็นครึกโครมภายหลัง แอนเดอร์ส เบห์ริก เบรวิก หนุม่นอร์เวย์ มื่อสังหาร 76 ศพ ให้การต่อศาบกรุงออสโล เมื่อวันที่ 25 ก.ค. ที่ผ่านมา ว่าแม้การกระทำของตนจะโหมเหี้ยม แต่ก็นับว่าเป็นสิ่งที่จำเป็นต้องทำเพ่อปลดแอกยุโรปจากอิทธิพลและอำนาจของศาสนาอิสลาม อีกทั้งบันทึกออนไลน์มากว่า 1,5000 หน้าของแบวิก ยังสะท้อนใหเห็นอย่งเด่นชัดว่า หนุ่มนอร์เวย์วัย 32 ปี รายนี้ฝักใฝ่กลุ่มขวาจัดหัวรุนแรง ลุ่มขวาจัดหัวรุนแรงมกมีความเชื่อว่าคนผิวขาวนั้นเหนือกว่าชาติพันธุ์ุอืนๆ อีกทั้งพวกนี้ยังรังเกียจชาวต่างชาติและแรงงานอพยพ โดยมักวิพากวิจารณ์นโยบายของรัฐบาลฝ่ายซ้ายที่เกื้อหนุนชาวต่างชาิทีเข้ามาอาศัยในประเทศ โดยมองว่าแรงงานอพยพยนั้นเข้ามแย่งชิงพืนที่ในประเทศของตน
ความจริงแล้วกลุ่มขวาจัดมีประวต้ิการเคลื่อนหวอยู่ในประเทศยุโรปมาเป็นเวลานานแล้ว โดยเฉาพะในแถบยุโรปเหนือ ทางด้านผุ้เชี่ยวชาญมองว่านับวันกลุ่มนี้ยิ่งจะมีอิทธิพลมากขึ้น เนื่องจากในระยะหลังได้พยายามวาดภาพของมุสลิม่าเป็นศัตรูที่แท้จริงของคนขาว จนชาวยุโรปเร่ิมตื่นตระหนกและหันนมาสนับสนุนแนวทางของกลุ่มนี้มากขึ้น
นอเวย์ มีพรรคการเมืองเอียงขวาอย่าง "พรคก้าวหน้า" วึงได้ต่อต้านนโยบายเปิดประเทศรับผู้อพยพของพรรคแรงงานมาตลอด แต่หลายฝ่ายก็มอง่าการที่พรรคก้าวหน้าไม่มีที่นั่งในสภานั้น ทำให้การต่อต้านแรงงานผุ้อพยพในนอร์เวย์ไม่เข้มข้นเหมือนกับในต่างประเทศ
เดนมาร์ก และ สวีเดน นั้น พรรคฝ่ายขวากับประสบความสำเร็จได้ที่นั่งในสภา และนับวันก็ยิ่งมีความเข้มแข็งมากขึ้น โดยในเดนมาร์กมีการเคลื่อนไหวของกลุ่มขวาจัดอย่างชัดเจน ซึ่งนำโยพรรคเดนนิชพีเพิลปาร์ตี้ พรรคนี้เคยชูนโยบายต่อต้านแรงงานต่างด้าวและเรียกร้องให้มีกายกเลิกมาตการช่วยเหลือประเทศออยพัฒนา อีทังยังเคยเกิดเหตุอื้อฉาวในเดนมาร์กมาแล้วใปี 2005 เมื่อหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งได้ลงภาพล้อเลียนท่านบีมูอัมหมัด ศาสดาของศาสนาอิสลาม ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงอคติที่มีต่อชาวมุสลิม สวิเดนเองก็ขึ้นชื่อว่า มีกลุ่มขวาจัดที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในยุดรปเหนือ โดยเมื่อปี 2553 พรรคสวีเดน เดโมแครต พรรคขวาจัดของสวีเดน สามารถสร้างประวัติศาสตร์ด้วยการไ้รบเลือกเข้าสภาคร้้งแรก ดดยบางพรรคนั้นได้รณรงค์หาเสียงต่อต้านการอพยพเข้าเมืองของชาวมุสลิมมาโดยตลาด และได้กล่าวโทษชาวมุสลิมว่าเป้นสาเหตุของปัญหาต่างๆ ในประเทศ นอกจากนี้ เบรวิกเองยังเคยเป็นสมาชิกกลุ่มเว็บบอร์ด "นีโอนาซี" ของวสีเดน
เนเธอร์แลนด์ ก็มีกลุ่มขวาจัดในรูปของพรรคการเมืองที่ชื่อว่ "พรรคเสรีภาพ" โดยผุ้เชียวชษญมาองว่ากลุ่มนี้นับวันจะยิ่งมีบทยาททางการเมืองมากขึ้นเพราะได้ที่นั่งในสภาถึง 24 ที่นั่งจากการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อปี 2533 อีกทั้งเกิร์ต ไวลเอต์ส ผู้ก่อตั้งพรรคและสมาชิกรัฐสภาพ ยังได้เคยเปรียบท่านนบีมูอัมหมัด ศาสดาของศาสนาอิสลาม ว่าเป็นซาตาม เบรวิกเองก็ได้ยกย่องพรรคเสรีภาพว่าเป็นพรรคอนุรักษณนิยมเพียงแห่งเดียวในยุโรปที่ยังคงยึดมั่นต่ออุดมการณืของกลุ่มทขวาจัก แต่ล่าสุทางพรรคก็ได้อออกมาประณามการกระทำของเบรวิก
เยอมนี ก็มีกลุ่มอนุรักษนิยมหัวรุนแรงอย่างกลุ่ม "นีโอนาซี" โดยสมาชิกกลุ่มนี้เป็นกลุมคนผิวชาวซึ่งมีความเชื่อว่าคนผิวขาวนั้นเป้นใหญ่เหนือเป่าพันธุือื่นอีกทั้งยงยังมีปะวัติเคยทำร้ายชาวต่างชาติับไม่ถ้วน
สำหรับประเทศ อังกฤษนั้น นับว่าเป้นประเทศที่กลุ่มขวามีอิทธิพลอย่างยิ่ง เนื่องจากพรครคอนุรักษนิยมนั้นสมารถชนะการเลือกตั้งและได้จัดตั้งรัฐบาลร่วมกับพรรคเสรีประชาธิปไตย อีกทั้งอังกฤษยังมีพรรคชาตินิยมอังกฤษ ซึ่งเคยออกกฎเหล็กอนุญาตให้เฉพาะคนขาวเท่านั้นเข้ามาเป้นสามาชิกกลุ่ม ทางพรรคนั้นยืนกรานในนโยบายปิดกั้นประเทศจากแรงงานต่างด้าว และเมื่อปี 2552 ก็ประสบความสำเร็จสามาถคว้าที่นังใสภายุโรปได้เป็นครั้งแรก...https://www.posttoday.com/world/101824
27 ก.ค. 2554 ไบรวิก ในการต่อศาลเมื่อวันจันทร์ (25 ก.ค. 2554) ว่า เขาปรารถนาให้การตายของประชาชน 76 คน ส่งสัญญาณไปถึงรัฐบาลนอร์เวย์ให้หยุดทำลายวัฒนธรรมนอร์ติก และหยุดปล่อยชาวมุสลิมจำนวนมากเข้าประเทศ"
"การี เฮเลน" หัวหน้าศูนย์ต่อต้านการเหยี่ยดผวในกรุงออสโล ระบุว่า "ไบรวิก ก่ออาชญากรรมและความรุนแรงสุดโต่งครั้งี้อย่างโดดเดี่ยว แต่ก็น่าสนใจที่ว่า เขาสามาถพัฒนาแนวคิดแบบนี้ขึ้นมาได้ใบริบททางสังคมและการเมืองปัจจุบัน และการกราดยิงประชาชนก็ไม่ใชเ่รือ่งบังเอิญ เพราะเขาไม่เคยแปลกแยกจากสังคม" พรรค นอร์วิเจียน โปรเกรส ปาร์ตี้ ซึ่งยึดแนวทางประชานิยมเอียงขวา "มีพรสวรรค์ในการปลุกปั่นใหเ้กิดการวิพากษืวิจารณ์อย่างกว้างขวาง" โดยเฉพาะการตั้งป้อมรังเกียจชาวมุสลิมและชาวต่างชาติเฮเลน ระบุ
ก่อนทศวรรษที่ 1970 แทบไม่มีชสชาติอื่อาศัยอยู่ในกลุ่มประเทศนอร์ติก นอกจากชาวยุโรป แต่หลังจากนั้นเป็นต้นมา ดินแดนเหล่านี้กลับกลาเป็นบ้านของชาวต่างชาติที่หนีความขัดแย้งมากจากบ้าเกิด เช่น ยูโกสลาเวีย, โซมาเลีย และเคอร์ติสถาน ตัวอย่างที่เห็นชัดได้แก่ สวีเอน ซึ่งเป็นรับผู้ี้ภัยชาวอิรักมากกว่าทุกประเทศในยุโรปรวมกัน หลังจากทีสหรัฐฯ บุกอีรักในปี 2003 ขณะที่ในกรุงออสโลของนอร์เวย์ ชื่อที่ได้รับความนิยมตั้งให้ทารกเกิดหหใษมากที่สุดในปี 2010 คือ มูฮัมหมัด
.. แนวคิดต่อต้านผุ้อพยพและชาตินิยมขวาจัดเกิดขึ้นในเดินมร์กเมือ่ช่วงปลายทาศวรรษที่ 1990 และกำลังแผ่อิทธิพลไกลขึ้นเรื่อยๆ จนยากที่หยุดหยั้ง
" แต่ความเกลี่ยดกลัวชาวต่างชาติ ไม่ได้เพ่ิมขึ้นเลย บางครั้งกลับลดลงด้วยซ้ำ ดังนั้นประเด็นนี้น่าจะถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองมกว่า" อลัฟ บีเจิร์ลด นักรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยโกเทนเบิร์กของสวีเดน ระบุ..
.. นักวิชาการบางคนระบุว่า แนวคิดขวาจัดใหนลุ่มแระเทศนอร์ติกได้หยั่งรากลึกในระบบการเมือง จนไม่สามารถใช้คำว่า "สุดโต่ง" ได้อีกต่อไป " แนวคิดเหล่านี้เร่ิมฝังรากลึก และกลายเป็นส่วนหนึ่งของกระแสหลักไปแล้ว " อันเดอร์ส เฮลล์สโตรม ผุ้เชี่ยวชาญด้านชวยนการชาตินิยมและประชานิยมชาวสวีเดน เผย...http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9540000092586
วันอาทิตย์ที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
วันเสาร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
European elections
ในสภาวการณืที่ยุโรปต้องรับมือกับความท้าทายต่างๆ เมื่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับต่ำ อัตราคนว่างงานสูง การขาดความยุติธรรมในสังคมและปัญหากระแสผู้อพยพที่ได้ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านความมั่นคงและสงคม ประชาชนในหลายประเทศยุโรปอาจจะไม่ได้ตั้งความหวังทางการเมืองผ่านบัตรเลือกตั้งอีก ซึง่การเลือกตั้งใประเทศเหล่านี้ได้แสดงให้เห็นว่า มีความเป็นไปได้สูงที่ลัทธิประชานิยมจะขยายตัวในยุดรปและในความเป็นจริง ทีประเทศต่างๆ เช่น ออสเตรีย เนเธอร์แลนด์ อิตาลีและฝรั่งเศส พรรคการเมืองขนาดเล็กกำลังมีความเ้มแบข็งมากขึ้นจาการมีนโยบายที่เข้ถึคงประชาชน ซคึ่งก้ได้รับกาตตอบรับทีดีจกผุ้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
หลังจากที่อังกฤษถอนตัวออกจาอียู การหยั่งเสียงประชามติเกี่ยวกับปฏิรูปรํบธรรมนูญได้ประสบความล้มเหลวในอิตาลีและการเลือกตั้งรอบแรกในฝรั่เงศส ประชามติดลกำลังพุดถึงแนวโน้มใหม่ที่เรียกว่า "ฤดุใบไม้ผลิแห่งควารักชาติ" แม้ยังเร็วเกินไปที่จะพุดเกี่ยวกับกระแสนี้แต่แน่นอนว่าหลังกระแสโลกาภิวัตนื หากเสียงพุดของประชาชนถุกละเลยและไม่ไดรับความเคารพก็จะทำให้เกิดขบวนการประชานิยมคร้งใหม่พร้อมผลพวงที่ตามมาที่ไม่มีใคราสามารถคาดเดาได้ต่อเวที่การเมืองของโลก..(การเลือกตั้งของประเทศต่างๆ ในยุโรปอาจกำหนดอนาคตของกลุ่ม vovword.vn)
การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ความไม่แน่นอนทางการเมืองที่สำคัญในยุโรป
การเลื่อตั้งประธานาธิบดีฝรังเศสรอบแรดจะจัดขึ้นในวันที่ 23 เม.ย. และนำผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดสองอันดับแรกไปชิงตำแหน่งประธานาธิบดีกันในการเลือกตั้งรอบที่ 2 ในวันที่ 7 พ.ค. โดยผุ้สมัครที่มีโอากาผ่านเข้าไปชิงตำแหน่งประธานาธิดีมี 4 รายดังนี้
นาง อารีน ลี เพน ตัวแทนจากพรรค National Front ซึ่งชูนโยบายการเลิกใช้เงินสกุลยูโรเป็นนโยบายหลักด้านเศรษบกิจและประกาศจะจัดทำประชาตมติเพื่ออกจากสหภาพยุโรปหากชนะการเลือกตั้ง
นาย เอมมานูเอล แมครอน อดีต รมว. กระทรวงเศรษฐกิจ มีความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงเดือน ก.พ.หลังตัวแทนจากพรรค Democratic Moovement ประกาศถอนตัวและสนับสนุนนาย มาครอน
นาย ฟรานเคียส ฟิลลิน ตัวแทนจากพรร่ รีพลับลิแคน ซึ่งเคยเป็นตัวเต็งประธานาธิบดีก่อนที่จะถูกข้อกล่าวหาว่าแต่งตั้งภรรยาและลูกเป็นผู้ช่วยอย่งไม่ถุกต้อง
นาย จีน ลัค เมลีนชอน ตัวแทน พรรค Unsubmissive France ซึ่งเป็นฝ่ายซ้ายจัดได้รับความนิยมตามมาเป็นอันดับ 4
คาดการณ์ผลการเลือกตั้ง
โพลล่าสุดยังชี้ว่านาย มาครอน และนาง ลี เพน จะได้รับคะแนนสูงสุดในการเลือกตั้งรอบแรกและจะไปชิงชัยกันในการเลือกตั้งรอบที่ 2 โยผลสำรวจความนิยมของการเลือกตั้งรอบที่ 2 ยังคงชีว่านาย มาครอน ยังมีคะแนนนำ
อย่างไรก็ดีความไม่แน่นอนจากการเลือกตั้งเริ่มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมาหลังความนิยมของนาย ฟิลลอน และนาย เมลีชอน เพิ่มขึ้นและทำให้ช่องว่างของคะแนนของผุ้ลงสมัครทั้ง 4 แคลลงเรื่อยๆ และทำให้การเลือกตั้งในรอบที่ 2 อาจเป็นการชิงชัยกันระหว่างผูสมัครคูใดก็ได้ใน 4 อันดับแรกmedium.com/@tiscomastery/การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส-ความไม่แน่นอนทางการเมืองที่สำคัญในยุโรป-6ab56d587a84
ยุโรปเฮ โพลชี้ "มาครง" ชนะเลือกตั้ง ปธน.ฝรั่งเศสรอบ 2 ขาดลอย ผลเลือกตั้งประธานาธิดีฝรั่งเศสอย่างไม่เป็นทางการ ชีว่า นายเอมมานูเอล มาครง ผุ้สมัครสายกลาง ขนะ นางมารีน เลอแปน ฝ่ายขวาจัดไปอย่างขาดลอย ดยคะแนนห่างกันกว่า 30%
สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า ผลอย่างไม่เป็นทางการของการเลือกตั้งปรธานาธิดบีฝรี่งเศสรอบ 2 ซึ่งจัดทำโดยโพลสำนักต่างๆ ชี้ว่า นายเอมมานูเอลมาครง ผุ้สมัครสายกลาย ซึ่งมีนโยบายหนุนธุรกิจและการอยู่ร่วมกับสหภาพยุโรปได้รับชัยชนะเหนือ นางมารีน เลอ แปน ผู้สมัครฝ่ายซ้ายจัด ที่ต้องการพอฝรั่งเศสออกจากสหภาพยุโรป ไปอย่างขาดลอยhttps://www.thairath.co.th/content/934417
ยุโรป "โล่งอก" หลังพรรคกีกันคนเข้าเมืองแพ้เลือกตั้งดัตซ์
ผู้นำยุโรปต่างแสดงควายินดีต่อผลการเลือกตั้งทั่วไปประเทศเนเธอร์แลนด์ หลังพรรคทีมีนโยบายกีดกันคนเข้าเมืองประสบความพ่ายแพ้
ผู้นำหลายชาติในสหภาพยุดรปต่างแสดงความยินดีผลการเลือกตั้งทั่วไปของประเทศเนเธอร์แลน์ หลังพรรคการเมืองที่มีนธยบายต่อต้านคนเข้าเมืองอย่างพรรคเสรีภาพ หรือ พีวีวี ซึงนำโดยนายเคียร์ต วิลเดอร์ส ล้มเหล่วที่จะได้รับคะแนนเสียงมาเป็นอันดับหนึ่ง โดยได้ ส.ส.เพียง 20 ที่นั่งน้อยกว่าพรรคประชาชนเพ่อเสรีภาพและประชาธิปไตย หรือวีวีดี ของนายมาร์ก รัตเต นายกรัฐมนตรีเนเธอร์แลนด์ ที่ได้ ส.ส. 33 ที่นั่ง จากทั้งหมด 150 ที่นั่ง
การเลือกตั้งครั้งนี้ถุกจับตามองเป็นอย่างมากจากประชาชนในประเทศฝรั่งเศสและเยรมนี ที่กำลังจะมีการเลื่อกตั้งทั่วไปในปีนี้ เช่นกัน ประะานาธิดบีฟรองซัวส์ โอลองด์ ของฝรั่งเศส บอกว่าผลที่ออกมาเป็น "ชัยชนะอย่างใสสะอาดต่อฝ่ายหัวรุนแรง" ขณะที่ นายกรัฐมนตรีอังเกลา แมร์เคิล ของเยอรมรี ก็สรรเสริญว่าเป็น "วันดีๆ ของระบอบประชาธิปไตย
ซึ่งก็มีผู้นำชาติยุโรปบางรายที่ไม่ยินดีกับผลเลือกตั้งที่เกิดขึ้น อาทิ ประะานาธิดีเรเจป ทายยิป แอร์โดอัน ของตุรกี ที่ปัจจุบันมีข้อพิพาทกับเนเธอร์แลนด์http://www.bbc.com/thai/international-39300551
การเลือกตั้งเยอรมนี กับอนาคตยุโรป
การเลื่อกตั้งที่น่าจับตามากที่สุดในยุโรปในปีนี การเลือกตั้ง Bundestag ของเยอรมนี หมายถึงการเลือกตั้งรัฐสภาของสหพันธ์(รัฐบาลกลาง) ผลการเลือกตังครั้งนี้ไม่ได้พลิกโผไปมากจากที่โพล์ต่างๆ คาดกาณณ์ไว้ คือ นาง แองเจลล่า เมอเคลบ จากพรรคขวา-กลางได้รับคะแนนเสียงมากทีสุด 33%
นั่นหมายถึง นาง แองเจลล่า เมอเคล หรือที่รุ้จักกันในาม "มุททิ" หรือ "คุณแม่" ของเยอรมนี จะเป็นพรรคผุ้นำการจัดตั้งรัฐบาล และเธอจะเป็นนายกรัญมนตรีของเยอรมนีเป็นสมัยที่ 4 ซึ่งเป็นผู้นำหญิงที่ที่อยุ่ในตำแหน่งนายกฯ นานที่สุดในประวัติศาสตร์ยุโรป
จริงๆ แล้ว คนเยอมนีส่วนใหญ่ก็พอจะเดา ได้ว่านาง แองเจลล่า เมอเคิล จะกลับมาเป็นนายกรัฐญมนตรีอีก แต่การขึ้นมาของพรรคขวาจัด นั่นทำให้ลายคนตกใจ แต่ก็ต้องยอมรับว่านโยบายต่อต้านอิสลาม ต่อต้านการรับผู้อพยพ และต่อต้าน EU ของพรรค AFD กวาดคะแนนเสียงไปได้จำนวนมากจริงๆ ในยุคที่ยุโรปกำลังประสบปัญหาวิกฤตแบบนี้...http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/642773
หลังจากที่อังกฤษถอนตัวออกจาอียู การหยั่งเสียงประชามติเกี่ยวกับปฏิรูปรํบธรรมนูญได้ประสบความล้มเหลวในอิตาลีและการเลือกตั้งรอบแรกในฝรั่เงศส ประชามติดลกำลังพุดถึงแนวโน้มใหม่ที่เรียกว่า "ฤดุใบไม้ผลิแห่งควารักชาติ" แม้ยังเร็วเกินไปที่จะพุดเกี่ยวกับกระแสนี้แต่แน่นอนว่าหลังกระแสโลกาภิวัตนื หากเสียงพุดของประชาชนถุกละเลยและไม่ไดรับความเคารพก็จะทำให้เกิดขบวนการประชานิยมคร้งใหม่พร้อมผลพวงที่ตามมาที่ไม่มีใคราสามารถคาดเดาได้ต่อเวที่การเมืองของโลก..(การเลือกตั้งของประเทศต่างๆ ในยุโรปอาจกำหนดอนาคตของกลุ่ม vovword.vn)
การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ความไม่แน่นอนทางการเมืองที่สำคัญในยุโรป
การเลื่อตั้งประธานาธิบดีฝรังเศสรอบแรดจะจัดขึ้นในวันที่ 23 เม.ย. และนำผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดสองอันดับแรกไปชิงตำแหน่งประธานาธิบดีกันในการเลือกตั้งรอบที่ 2 ในวันที่ 7 พ.ค. โดยผุ้สมัครที่มีโอากาผ่านเข้าไปชิงตำแหน่งประธานาธิดีมี 4 รายดังนี้
นาง อารีน ลี เพน ตัวแทนจากพรรค National Front ซึ่งชูนโยบายการเลิกใช้เงินสกุลยูโรเป็นนโยบายหลักด้านเศรษบกิจและประกาศจะจัดทำประชาตมติเพื่ออกจากสหภาพยุโรปหากชนะการเลือกตั้ง
นาย เอมมานูเอล แมครอน อดีต รมว. กระทรวงเศรษฐกิจ มีความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงเดือน ก.พ.หลังตัวแทนจากพรรค Democratic Moovement ประกาศถอนตัวและสนับสนุนนาย มาครอน
นาย ฟรานเคียส ฟิลลิน ตัวแทนจากพรร่ รีพลับลิแคน ซึ่งเคยเป็นตัวเต็งประธานาธิบดีก่อนที่จะถูกข้อกล่าวหาว่าแต่งตั้งภรรยาและลูกเป็นผู้ช่วยอย่งไม่ถุกต้อง
นาย จีน ลัค เมลีนชอน ตัวแทน พรรค Unsubmissive France ซึ่งเป็นฝ่ายซ้ายจัดได้รับความนิยมตามมาเป็นอันดับ 4
คาดการณ์ผลการเลือกตั้ง
โพลล่าสุดยังชี้ว่านาย มาครอน และนาง ลี เพน จะได้รับคะแนนสูงสุดในการเลือกตั้งรอบแรกและจะไปชิงชัยกันในการเลือกตั้งรอบที่ 2 โยผลสำรวจความนิยมของการเลือกตั้งรอบที่ 2 ยังคงชีว่านาย มาครอน ยังมีคะแนนนำ
อย่างไรก็ดีความไม่แน่นอนจากการเลือกตั้งเริ่มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมาหลังความนิยมของนาย ฟิลลอน และนาย เมลีชอน เพิ่มขึ้นและทำให้ช่องว่างของคะแนนของผุ้ลงสมัครทั้ง 4 แคลลงเรื่อยๆ และทำให้การเลือกตั้งในรอบที่ 2 อาจเป็นการชิงชัยกันระหว่างผูสมัครคูใดก็ได้ใน 4 อันดับแรกmedium.com/@tiscomastery/การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส-ความไม่แน่นอนทางการเมืองที่สำคัญในยุโรป-6ab56d587a84
ยุโรปเฮ โพลชี้ "มาครง" ชนะเลือกตั้ง ปธน.ฝรั่งเศสรอบ 2 ขาดลอย ผลเลือกตั้งประธานาธิดีฝรั่งเศสอย่างไม่เป็นทางการ ชีว่า นายเอมมานูเอล มาครง ผุ้สมัครสายกลาง ขนะ นางมารีน เลอแปน ฝ่ายขวาจัดไปอย่างขาดลอย ดยคะแนนห่างกันกว่า 30%
สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า ผลอย่างไม่เป็นทางการของการเลือกตั้งปรธานาธิดบีฝรี่งเศสรอบ 2 ซึ่งจัดทำโดยโพลสำนักต่างๆ ชี้ว่า นายเอมมานูเอลมาครง ผุ้สมัครสายกลาย ซึ่งมีนโยบายหนุนธุรกิจและการอยู่ร่วมกับสหภาพยุโรปได้รับชัยชนะเหนือ นางมารีน เลอ แปน ผู้สมัครฝ่ายซ้ายจัด ที่ต้องการพอฝรั่งเศสออกจากสหภาพยุโรป ไปอย่างขาดลอยhttps://www.thairath.co.th/content/934417
ยุโรป "โล่งอก" หลังพรรคกีกันคนเข้าเมืองแพ้เลือกตั้งดัตซ์
ผู้นำยุโรปต่างแสดงควายินดีต่อผลการเลือกตั้งทั่วไปประเทศเนเธอร์แลนด์ หลังพรรคทีมีนโยบายกีดกันคนเข้าเมืองประสบความพ่ายแพ้
ผู้นำหลายชาติในสหภาพยุดรปต่างแสดงความยินดีผลการเลือกตั้งทั่วไปของประเทศเนเธอร์แลน์ หลังพรรคการเมืองที่มีนธยบายต่อต้านคนเข้าเมืองอย่างพรรคเสรีภาพ หรือ พีวีวี ซึงนำโดยนายเคียร์ต วิลเดอร์ส ล้มเหล่วที่จะได้รับคะแนนเสียงมาเป็นอันดับหนึ่ง โดยได้ ส.ส.เพียง 20 ที่นั่งน้อยกว่าพรรคประชาชนเพ่อเสรีภาพและประชาธิปไตย หรือวีวีดี ของนายมาร์ก รัตเต นายกรัฐมนตรีเนเธอร์แลนด์ ที่ได้ ส.ส. 33 ที่นั่ง จากทั้งหมด 150 ที่นั่ง
การเลือกตั้งครั้งนี้ถุกจับตามองเป็นอย่างมากจากประชาชนในประเทศฝรั่งเศสและเยรมนี ที่กำลังจะมีการเลื่อกตั้งทั่วไปในปีนี้ เช่นกัน ประะานาธิดบีฟรองซัวส์ โอลองด์ ของฝรั่งเศส บอกว่าผลที่ออกมาเป็น "ชัยชนะอย่างใสสะอาดต่อฝ่ายหัวรุนแรง" ขณะที่ นายกรัฐมนตรีอังเกลา แมร์เคิล ของเยอรมรี ก็สรรเสริญว่าเป็น "วันดีๆ ของระบอบประชาธิปไตย
ซึ่งก็มีผู้นำชาติยุโรปบางรายที่ไม่ยินดีกับผลเลือกตั้งที่เกิดขึ้น อาทิ ประะานาธิดีเรเจป ทายยิป แอร์โดอัน ของตุรกี ที่ปัจจุบันมีข้อพิพาทกับเนเธอร์แลนด์http://www.bbc.com/thai/international-39300551
การเลือกตั้งเยอรมนี กับอนาคตยุโรป
การเลื่อกตั้งที่น่าจับตามากที่สุดในยุโรปในปีนี การเลือกตั้ง Bundestag ของเยอรมนี หมายถึงการเลือกตั้งรัฐสภาของสหพันธ์(รัฐบาลกลาง) ผลการเลือกตังครั้งนี้ไม่ได้พลิกโผไปมากจากที่โพล์ต่างๆ คาดกาณณ์ไว้ คือ นาง แองเจลล่า เมอเคลบ จากพรรคขวา-กลางได้รับคะแนนเสียงมากทีสุด 33%
นั่นหมายถึง นาง แองเจลล่า เมอเคล หรือที่รุ้จักกันในาม "มุททิ" หรือ "คุณแม่" ของเยอรมนี จะเป็นพรรคผุ้นำการจัดตั้งรัฐบาล และเธอจะเป็นนายกรัญมนตรีของเยอรมนีเป็นสมัยที่ 4 ซึ่งเป็นผู้นำหญิงที่ที่อยุ่ในตำแหน่งนายกฯ นานที่สุดในประวัติศาสตร์ยุโรป
จริงๆ แล้ว คนเยอมนีส่วนใหญ่ก็พอจะเดา ได้ว่านาง แองเจลล่า เมอเคิล จะกลับมาเป็นนายกรัฐญมนตรีอีก แต่การขึ้นมาของพรรคขวาจัด นั่นทำให้ลายคนตกใจ แต่ก็ต้องยอมรับว่านโยบายต่อต้านอิสลาม ต่อต้านการรับผู้อพยพ และต่อต้าน EU ของพรรค AFD กวาดคะแนนเสียงไปได้จำนวนมากจริงๆ ในยุคที่ยุโรปกำลังประสบปัญหาวิกฤตแบบนี้...http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/642773
วันศุกร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
Trends EU
คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป มีมติวันที่ 11 ธ.ค. ที่ผ่านมา ปรับท่าที
โดยให้รื้อฟื้นการมีปฏิสัมพันธ์ทุกระดับกับประเทศไทย รวมทั้งให้คณะกรรมาธิการยุโรปดูความเป็นไดได้ที่จะกลับมาหารือ FTA ไทย อียู ด้วย ซึ่งถือเป็นข่าวดีสำหรับความสัมพันะ์ระหว่งไทยกับ อียู เรพาะจะทำให้ประเทศสมาชิกของอียูได้พูดคุยกับไทยในเรื่องความร่วมมือด้านสำคัญต่างๆ ซึ่งเป็นเรื่องที่สมประโยชน์ทุกฝ่าย
พัฒนาการสำคัญๆ ในปี 2017
- การเจรจาเรื่อการถอนตัวออกจากการเป็นามาชิกอียูของสหราชอาณาจักร หรือ Brexit ซึ่งเร่ิมขึ้นภายหลังจากที่รัฐบาสหราชอาณาจักแจ้งอียูอย่างเป้นทางการว่าต้องการถอนตัวออกจาการเป็นสมาชิกเมื่อเอือนมีนาคม และได้เริ่มการเจรจาระยะที่หนึ่ง ซึ่งเป็นเรื่องของ "กาถอนตัว" มีเรื่องสำคัญได้แก่ เรื่องเงินงบประมาณอียูที่สหราชอาณาจักรต้องรับผิดชอบ เรื่อง สิทธิประโยชน์ของพลเมืองทั้งสองฝ่ายซึงเป็นสมาชิกอียู ในการอาศัยและทำงานหลังการถอนตัว และเรื่องด่านทางบกระหว่างอไอร์แลนด์เหนือซึ่งเป็น่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรกับสาธารณรัฐไอร์แลนด์
แม้การเจรจาดูเหมือนจะเป็นไปด้วยความยากลำบาก แต่ในทีุ่ด ที่ประชุมระดับผุ้นำอียูเมื่อเดือนธันวาคมก็ได้มีมติยอมรับว่า การเจรจาระยะที่หนึ่งมีควาคือหน้า "เพียงอพ" ที่จะเร่ิมการเจรจาในระยะที่สองต่อไปได้ ซึงกสรเจรจาในระยะที่สอง ก็จะเป็นเรื่อง "รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสหราชอาณาจักรกับอียูภายหลังการถอนตัว" นอกจากนี้ ผุ้นำอียูยังเห็นชอบข้อเสนอของสหราชอาณาจักรที่จะให้มี "ช่วงเปลี่ยนผ่าน" ประมาณ 2 ปี หลังจากที่สหราชอาณาจักรออกจากการเป็นสมาชิกแล้ว ถือว่าความคืบหน้าในเรื่องการเจรจาที่กล่าวถึง ทให้หลายฝ่ายคลายความกังวลไปได้ระดับหนึ่ง ส่วนหน้าตาและผลของการเจรจาระยะที่สอง รวมทั้งช่วงเลปี่ยนฝ่านจะเป็นอย่างไร ก็คงต้องรอติดตามต่อไปในปี 2561
- เศรษฐกิจของอียู โดยปี 2560 นับเป็นช่วงปีแห่งการฟื้นตัวของเศรกิจยุโรปทั้งอียู และยูโรโซน โดยเศรษฐกิจยูโรโซนปิดฉากปี 2560 ด้วยสถิติการขยายตัวทางเศณาฐกิจที่สูงที่สุดในรอบ 7 ปี โดยกรรมาธิการด้านเศรษฐกิจและการเงิน ได้รายงานว่า ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา อียู สร้างงานใหม่กว่า 8 ล้านตำแหน่ง ทำให้อัตราการว่างงานในอียูลดจาก 10.9 % ในปี2556 ลงมาที่ 7.8 ในปี 2560 ซึ่งส่สยหนึ่งมาจากแรงกระตุ้นทางเศราฐกิจที่สอดรับประสานกันระหว่างประเทศหลักของยูโรโซน สะท้อนให้เห็นว่าปัจจัยทางการเมือง (การเลื่อกตั้งในประเทศหลัก คือ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ ออสเตรีย และเยอรมนี) ไม่ได้ส่งผลกระทบทางลบต่อเศรษฐกิจในอียูเท่าใดนัก
- ผลการเลื่อกตั้งในประเทศอียูสำคัญๆ คือ เนเธอแลนด์ ฝรั่งเศส ออสเตรีย และเยอรมนี กระแสที่เกิดขึ้นในช่วงหาเสียงเลือกต้ง คือ ความหวาดเกรงว่า พรรคการเมือง "สายประชานิยม" และ "ต่อต้านอียู" จะได้รับความนิยมขนาดชนะการเลือกตั้งได้ ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นแล้ว ก็จะทำให้อนาคตของอียูย่ิงมีความไม่แน่นอนมากขึ้นหลักงจากที่ประสบ "ช็อก" จาการที่อังกฤษโหวตถอนตัวออกจาอียู มาแล้ว แต่ในที่สุด ผลการเลื่อกตั้งที่ออการมานััน ปรากฎวา พรรค/ผู้นำฝ่ายกลาง-ขวา สาย "โปรอียู" ต่างได้ับเลือกต้เข้ามาบริหารประเทศทั้งส้ิน
กล่าวคือ เนเธอร์แลนด์ได้เลือกนายรัตเตจากพรรคกลาง-ขวา ฝรั่งเสสเลือกประโานาธิบดีมาครงที่ต้องการสร้างความเข้มแข็งให้กับอียู ออสเตรียได้รัฐบาลฝ่ายขวา ที่มีท่าที่สนับสนนุอียู ส่วนเยอมนีก็ได้เลือกนางแมร์เคิลกลับมาเป็นนายกรัฐมนตีอีกครั้ง ดังนั้น ในปี 2560 การเมืองในอียูจึงน่าจะถือได้ว่า กลับมามีบรรยากาศสดใสและมีความมั่นใจมากขึ้นเมื่อเที่ยวกับภาวะที่ค่อนข้งอึมครึมในช่วงปลายปี 2559
สถานการอียู ในปี 2561
บัลแกเรียรับตำแหน่งปรธานคณมนตรีในช่วงครึ่งแรกของปี 22561 ซึ่งถือเป็นครั้งแรกที่ประเทศนี้รับตำปน่งปรธานหมุนเวียนของอียู โดยบัลแกเรียได้กำหนดวาระงานสำคัญ คือ อนาคตของยุโรปและเยาวชน, ความสัมพันธ์กับประเทศบอลข่านตะวันตก, ความมั่นคงและเสถียรภาพในยุโรป และ การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิตอล
แต่นอกจาประเด็นเหล่านี้แล้ว อียูต้องให้ความสำคัญกับเรื่องนโยบายการโยกย้ายถ่ินฐาน (การรับคนอพยพด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจหรือลี้ภัยสงคราม) และการขับเคลื่อนการรวมตัวทางเศราฐฏิจและการเงิน ซึ่งความลักลั่นระหวางนโยบายการเงินกับการคลังมีส่วนทให้เกิดวิกฤติสภาพหนี้ในประเทศยุดรปตอนใต้ ตลอจนการรวมตัวของภาคการเงินและการธนาคาร ซึ่งกำหนดว่าต้องได้รับการตัดสินใจภายในเดือนมิถุนายน
จากผลการเลือกตั้งในประเทศสำคัญ คือ ฝรั่งเศสกับเยอรมนี ได้ผุ้นำฝ่ายกลาง-ขวา จึงทำให้มีความคาดหมายว่า ความสัมพันธ์ระหว่างทั้เงสองจะแนบแน่นเหมือนเช่นในอดีต และจะนำไปสู่การขับเคลื่อนให้อียูมีนธยบายใหม่ๆ ด้วย
ที่น่าจับตา คือ ประธานาธิดบีมาครงกับนางแมร์เคิลนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ได้ตกลงกันที่จะแถลงกำหนดท่าที่รวมกัน ในเรื่อง EMU ในเดือนมีนาคม
การเจรจา Brexit คงเข้าสุ่ช่วงเข้มข้น เพราะจะต้องเร่งเจรจาระยะที่ 1 ในครบทุกประเด็น และเริ่มการเจรจาระยะยที่ 2 ซึ่งยังขาดความชัเจนในเรื่องสิทธิประโยชน์ในการเข้าถึงตลาดร่วมอียู และรูปการเจรจาระยะที่ 2 ซึ่งยังขาดความชัดเจนในเรื่องสิทธิประโยชน์ในการเข้าถึงตลาดร่วมอียู และรูปแบบความสัมพันะ์กับอียูในอนาคตทั้งหมดนี้ จะต้องเจรจาให้เสร็จออกมาเป็นเกสารข้อตกลงทางการ(หรือสนธิสัญญา) ภายในเดือนตุลาคม เพื่อที่ประเทศสมาชิกอียูจะไปผ่านกระบวนการให้สัตยาบัน เพื่อให้การออกจากสมาชิกอียูของสหราชอาณาจักรเสร็จสิ้นสมบูรณ์ภายในสิ้นเดือนมีนาคม 2562
ทางด้านเศรษฐกิจนั้น คณะกรรมาธิการยุดรปคาว่า เศราฐกิจอียู น่าจะเติบโตในอัตราเฉลี่ยประมาณ 2.1% ซึ่งถือเป็นแนวโน้มที่ดี เป็นการฟื้นตัวอย่งช้าๆ ต่อเนื่องจากปี 2560 ขณะที่อัตราเงินเฟ้อยังอยุ่ที่ 1.7% เท่าเดิม
http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/643763
โดยให้รื้อฟื้นการมีปฏิสัมพันธ์ทุกระดับกับประเทศไทย รวมทั้งให้คณะกรรมาธิการยุโรปดูความเป็นไดได้ที่จะกลับมาหารือ FTA ไทย อียู ด้วย ซึ่งถือเป็นข่าวดีสำหรับความสัมพันะ์ระหว่งไทยกับ อียู เรพาะจะทำให้ประเทศสมาชิกของอียูได้พูดคุยกับไทยในเรื่องความร่วมมือด้านสำคัญต่างๆ ซึ่งเป็นเรื่องที่สมประโยชน์ทุกฝ่าย
พัฒนาการสำคัญๆ ในปี 2017
- การเจรจาเรื่อการถอนตัวออกจากการเป็นามาชิกอียูของสหราชอาณาจักร หรือ Brexit ซึ่งเร่ิมขึ้นภายหลังจากที่รัฐบาสหราชอาณาจักแจ้งอียูอย่างเป้นทางการว่าต้องการถอนตัวออกจาการเป็นสมาชิกเมื่อเอือนมีนาคม และได้เริ่มการเจรจาระยะที่หนึ่ง ซึ่งเป็นเรื่องของ "กาถอนตัว" มีเรื่องสำคัญได้แก่ เรื่องเงินงบประมาณอียูที่สหราชอาณาจักรต้องรับผิดชอบ เรื่อง สิทธิประโยชน์ของพลเมืองทั้งสองฝ่ายซึงเป็นสมาชิกอียู ในการอาศัยและทำงานหลังการถอนตัว และเรื่องด่านทางบกระหว่างอไอร์แลนด์เหนือซึ่งเป็น่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรกับสาธารณรัฐไอร์แลนด์
แม้การเจรจาดูเหมือนจะเป็นไปด้วยความยากลำบาก แต่ในทีุ่ด ที่ประชุมระดับผุ้นำอียูเมื่อเดือนธันวาคมก็ได้มีมติยอมรับว่า การเจรจาระยะที่หนึ่งมีควาคือหน้า "เพียงอพ" ที่จะเร่ิมการเจรจาในระยะที่สองต่อไปได้ ซึงกสรเจรจาในระยะที่สอง ก็จะเป็นเรื่อง "รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสหราชอาณาจักรกับอียูภายหลังการถอนตัว" นอกจากนี้ ผุ้นำอียูยังเห็นชอบข้อเสนอของสหราชอาณาจักรที่จะให้มี "ช่วงเปลี่ยนผ่าน" ประมาณ 2 ปี หลังจากที่สหราชอาณาจักรออกจากการเป็นสมาชิกแล้ว ถือว่าความคืบหน้าในเรื่องการเจรจาที่กล่าวถึง ทให้หลายฝ่ายคลายความกังวลไปได้ระดับหนึ่ง ส่วนหน้าตาและผลของการเจรจาระยะที่สอง รวมทั้งช่วงเลปี่ยนฝ่านจะเป็นอย่างไร ก็คงต้องรอติดตามต่อไปในปี 2561
- เศรษฐกิจของอียู โดยปี 2560 นับเป็นช่วงปีแห่งการฟื้นตัวของเศรกิจยุโรปทั้งอียู และยูโรโซน โดยเศรษฐกิจยูโรโซนปิดฉากปี 2560 ด้วยสถิติการขยายตัวทางเศณาฐกิจที่สูงที่สุดในรอบ 7 ปี โดยกรรมาธิการด้านเศรษฐกิจและการเงิน ได้รายงานว่า ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา อียู สร้างงานใหม่กว่า 8 ล้านตำแหน่ง ทำให้อัตราการว่างงานในอียูลดจาก 10.9 % ในปี2556 ลงมาที่ 7.8 ในปี 2560 ซึ่งส่สยหนึ่งมาจากแรงกระตุ้นทางเศราฐกิจที่สอดรับประสานกันระหว่างประเทศหลักของยูโรโซน สะท้อนให้เห็นว่าปัจจัยทางการเมือง (การเลื่อกตั้งในประเทศหลัก คือ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ ออสเตรีย และเยอรมนี) ไม่ได้ส่งผลกระทบทางลบต่อเศรษฐกิจในอียูเท่าใดนัก
- ผลการเลื่อกตั้งในประเทศอียูสำคัญๆ คือ เนเธอแลนด์ ฝรั่งเศส ออสเตรีย และเยอรมนี กระแสที่เกิดขึ้นในช่วงหาเสียงเลือกต้ง คือ ความหวาดเกรงว่า พรรคการเมือง "สายประชานิยม" และ "ต่อต้านอียู" จะได้รับความนิยมขนาดชนะการเลือกตั้งได้ ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นแล้ว ก็จะทำให้อนาคตของอียูย่ิงมีความไม่แน่นอนมากขึ้นหลักงจากที่ประสบ "ช็อก" จาการที่อังกฤษโหวตถอนตัวออกจาอียู มาแล้ว แต่ในที่สุด ผลการเลื่อกตั้งที่ออการมานััน ปรากฎวา พรรค/ผู้นำฝ่ายกลาง-ขวา สาย "โปรอียู" ต่างได้ับเลือกต้เข้ามาบริหารประเทศทั้งส้ิน
กล่าวคือ เนเธอร์แลนด์ได้เลือกนายรัตเตจากพรรคกลาง-ขวา ฝรั่งเสสเลือกประโานาธิบดีมาครงที่ต้องการสร้างความเข้มแข็งให้กับอียู ออสเตรียได้รัฐบาลฝ่ายขวา ที่มีท่าที่สนับสนนุอียู ส่วนเยอมนีก็ได้เลือกนางแมร์เคิลกลับมาเป็นนายกรัฐมนตีอีกครั้ง ดังนั้น ในปี 2560 การเมืองในอียูจึงน่าจะถือได้ว่า กลับมามีบรรยากาศสดใสและมีความมั่นใจมากขึ้นเมื่อเที่ยวกับภาวะที่ค่อนข้งอึมครึมในช่วงปลายปี 2559
สถานการอียู ในปี 2561
บัลแกเรียรับตำแหน่งปรธานคณมนตรีในช่วงครึ่งแรกของปี 22561 ซึ่งถือเป็นครั้งแรกที่ประเทศนี้รับตำปน่งปรธานหมุนเวียนของอียู โดยบัลแกเรียได้กำหนดวาระงานสำคัญ คือ อนาคตของยุโรปและเยาวชน, ความสัมพันธ์กับประเทศบอลข่านตะวันตก, ความมั่นคงและเสถียรภาพในยุโรป และ การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิตอล
แต่นอกจาประเด็นเหล่านี้แล้ว อียูต้องให้ความสำคัญกับเรื่องนโยบายการโยกย้ายถ่ินฐาน (การรับคนอพยพด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจหรือลี้ภัยสงคราม) และการขับเคลื่อนการรวมตัวทางเศราฐฏิจและการเงิน ซึ่งความลักลั่นระหวางนโยบายการเงินกับการคลังมีส่วนทให้เกิดวิกฤติสภาพหนี้ในประเทศยุดรปตอนใต้ ตลอจนการรวมตัวของภาคการเงินและการธนาคาร ซึ่งกำหนดว่าต้องได้รับการตัดสินใจภายในเดือนมิถุนายน
ที่น่าจับตา คือ ประธานาธิดบีมาครงกับนางแมร์เคิลนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ได้ตกลงกันที่จะแถลงกำหนดท่าที่รวมกัน ในเรื่อง EMU ในเดือนมีนาคม
การเจรจา Brexit คงเข้าสุ่ช่วงเข้มข้น เพราะจะต้องเร่งเจรจาระยะที่ 1 ในครบทุกประเด็น และเริ่มการเจรจาระยะยที่ 2 ซึ่งยังขาดความชัเจนในเรื่องสิทธิประโยชน์ในการเข้าถึงตลาดร่วมอียู และรูปการเจรจาระยะที่ 2 ซึ่งยังขาดความชัดเจนในเรื่องสิทธิประโยชน์ในการเข้าถึงตลาดร่วมอียู และรูปแบบความสัมพันะ์กับอียูในอนาคตทั้งหมดนี้ จะต้องเจรจาให้เสร็จออกมาเป็นเกสารข้อตกลงทางการ(หรือสนธิสัญญา) ภายในเดือนตุลาคม เพื่อที่ประเทศสมาชิกอียูจะไปผ่านกระบวนการให้สัตยาบัน เพื่อให้การออกจากสมาชิกอียูของสหราชอาณาจักรเสร็จสิ้นสมบูรณ์ภายในสิ้นเดือนมีนาคม 2562
ทางด้านเศรษฐกิจนั้น คณะกรรมาธิการยุดรปคาว่า เศราฐกิจอียู น่าจะเติบโตในอัตราเฉลี่ยประมาณ 2.1% ซึ่งถือเป็นแนวโน้มที่ดี เป็นการฟื้นตัวอย่งช้าๆ ต่อเนื่องจากปี 2560 ขณะที่อัตราเงินเฟ้อยังอยุ่ที่ 1.7% เท่าเดิม
http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/643763
วันพฤหัสบดีที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
Brexit
เมื่อไม่กีปีก่อน คำว่า Grexit (Greece + Exit คือ ความเสี่ยงที่กรีซอาจจะต้องออาจากยูโรโซน) เป็นควมเสี่ยงที่สำคัญ และพูดถึงกันค่อนข้างมาก แต่มาในวันนี้
Brexit ซึ่งมาจากคำว่า Britain+Exit คือความเสี่ยงที่สหรัชอณาจักร หรือ "อังฏฤ" อาจจะออกจาสหภาพยุโรป
สหภาพยุโรป เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ที่ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิกในยุโรป 28 ประเทศ มีขนาดของตลาอในแง่ GDP ใหญ่ที่่สุดในโลก (พอกับสหรัฐอเมริกา) แต่กมีลางประเทศในยุดรปี่ไม่ได้เป็นสมาชิกสหภาพยุโรป เช่น นอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์ และสหภาพยุโรปเปนมากว่าเขตการค้าเสรีหรื "custom union" เพราะไม่เพียงสินค้าและบิรการจะสามาถเข้าออกประเทศสมาชิกไ้อย่างเสรีแล้ว แรงงานและทุนก็สามารถเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศได้อย่างเสรี แปลว่าคนในประเทศสมาชิก สามารถเดินทางไปหางานในอีกประเทศได้ และทุนสามารถเคลื่อนย้ายกนได้อย่างเสรี
เพื่อทำให้เกิดสิ่งเหล่านี้ได้ สหภาพยุโรปจึงต้องมีอำนาจเหนือรัฐสมาชิกในการออกกฎหมายและระเบยบต่างๆ เพื่อควบคุมบางเรื่องให้สอดคล้องกันทั่ยสหภาพยุดรป และบัคับใช้ได้ในทุกประเทศสมาชิก และสหภาพยุโรปมีสถานบันที่มีลักษณะเหมือนรัฐเหนือรัฐ เช่น มีรัฐสภาพยุโรป และศาลยุติธรรมยุโรป เพื่อออกกฎหมายแลแก้ไขข้อพิพาทที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายของสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่คล้ายการคลังของรัฐเหนือรัฐ ในการเก็บเงินจากประเทศต่าๆงๆ แล้วเอาไปกระจายให้กบประเทศสมาชิก
"ซึ่งนำไปสู่คำถามที่ว่า ไปลดอไนาจอธิปไตยของประเทศมาชิกหรือเปล่า กฎระเบียบต่างๆ ของสหภาพยุโรปมีประดยชน์หรือกลายเป็นต้นทุนของรัฐกันแน่ และต้นทนกับประโยชน์ของการเป็นสมาชิกน้นอย่าไหนเยอะกว่ากัน และคุ้มกันไหม"
ประเด็นเหล่านี้มีการพูดถึงกันตลอด แต่เริ่มเป็นประเด็นใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีปัญหารผู้อพยพในยุโรป หลายคนที่อยากให้รัฐบาลออกกฎหมายควบคุมเขตแดนเพื่อลดจำรวนผุ้อพยพ แต่ก็ทำไม่ได้เต็มที่เรพาะไปขัดกับกฎของสหภาพยุโรป
ประเ็นเหล่านี้กลายเป็นประเด็นสำคญทางการเมืองในสหราชอาณาจักมากขึ้นเรื่อยๆ จนพรรคการเมืองพรรคหนึ่งทีมีนโยบายสนับสนุนให้สหราชอาณาจักรออกจากสหภาพยุดรป เร่ิมได้คะแนนเสียงมากขึ้นเรื่อยๆ จนพรรคการเมืองหลักอย่งพรรคอนุรักษ์นิยม และพรรคแรงงาน เร่ิมจะเก็บประเด็นนี้ไว้ใต้พรมไม่ได้
ในการเลือกตั้ง เดวิด คาเมรอน จึงประกาศว่า ถ้าชนะการเลือกตั้ง จะเอกประเด็นนี้มาให้ประชาชนโหวตตัดสินกัน และจะเจรจากับสหภพยุโรป เพื่อปฏิรูปข้อกำหนดสหภาพยุโรป และขอเงื่อนไขที่ดีขึ้นต่อสหราชอาณาจักร
และเมื่อชนะการเลือกตั้ง จึงต้งอทำตามสัญญาจัดทำประชามติทั่วประเทศ จนกลายเป็นประเด็นร้อนแรง ที่มีทั้งฝ่ายสนับสนุนและฝ่ายคัดค้าน แม้ว่ารัฐบาลมีจุดยืนชัดเจนว่าสนับสนนุให้สหราชอาณาจักรอยู่ในสหภาพยุโรปต่อไป แม้แต่รัฐมนตรีในรัฐบาลเดียวกันยังเห็นไม่ตรงกัน และรัฐมนตรีบางคนเป็นแกนนำในการรณรงค์ให้ออกจาสหภาพยโรปเสียด้วย
โดยเหตุผลของฝ่ายสนับสนุนให้ออกดูจะเป็นเหตุผลด้านการเมืองมากกว่ ฝั่งนับสนนุมองว่า การอยู่ในสหภาพยุโรปมีโทษมากว่าประโยชน์โดยเฉฑาะประเด็นอธิปไตย และการออกกฎหมย (โดยเฉพาะจากกรณีผู้อพยพ) และเห็นว่ากฎระเบียบต่างๆ จากสหภาพยุโรปเป็นตัวฉุดรั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร ต้นทุนทางการคลังก็เสียไปเปล่าๆ
นอกจากนี้ ฝ่ายสนับสนุนเชื่อว่าต้นทุนการออกจากสหภาพยุโรปน่าจะมาอก เพราะยังไงน่าจะเจรจากันได้ และยุโรปก็ต้องพึงพาสหราชอาณาจักรเหมือนกัน
ฝ่ายที่อยากให้อยู่ต่อ กังวลว่าต้นทุรทางเศรษบกิจของการออกจากสหภาพยุโรปอาจจะสูงมาก และความไม่แน่นอนหลักจากออกจากสหภาพยุโรปอาจจะมีสูงจนทำให้การลงทุนและศรษฐกิจหยุดชะงักได้ เพราะไม่เคยมีใครออกจากสหภาพยุโรป จึงไม่รู้ว่าเงื่อนไขหลังจากออกจะเป็นอย่างไร สหราชอาณาจักรได้รับประโยชน์จากการเป็นศูนย์กลางการค้และการลงทุนของยุโรป การค้าเป็นกว่าร้อยละ 60 ของเศรษบกิจ และกว่าครึ่งเป็นการค้ากับสมาชขิกในสหภาพยุโรป ที่ไม่มีกำแพงภาษีระหว่างกัน ถ้าออกจากสมาชิก นั่นอาจจะหมายความว่าสินค้าและบริการระหว่างสหราชอาณาจักร กับประเทศอื่นๆ ในสหภาพยุโรป อาจจะต้องมีภาษานำเข้าระหว่างกัน สหภาพยุโรปจะยอมให้สหราชอาณาจักรได้รับประโยชน์สเหมือนเป็นประเทศในเขตการค้าเสรีหรือไม่ถ้าให้จะต้องจ่ายด้วยอะไร แล้วการค้ากับประเทศอื่นๆ ที่สหภาพยุโรปมีข้อตกลงเขตการต้าเสรีแล้วล่ะ สหราชอาณาจักรต้องไปนั่งเจรจาทีละประเทศหรือเปล่า แล้วระหว่างนั้นการค้าจะเป็นอย่างไร
นอกจากนนี้ สหราชอาณาจักรยังเป็นศูนย์กลางการลงทุนและศุนยกลางทางการเงินของยุโรป เพราะได้ประโยชน์จากเงือ่นไขและกฎระเบีบที่ใช้เหมือนกัน ถ้าวันหนึ่งสหราชอาณาจักรออกจากการเป็นสหภาพยุโรป แล้วสหภาพยุโรปไม่ยอมรับระเบียบการดูแลสภาบันการเงินของสหราชอาณาจักขึ้นม จะเกิดอะไรขึ้นกับสถาบันการเงินที่ใชลอนดอนเป็นศูนย์กลาง
นอกจากนี้ ยังมีความเสี่ยงว่าสหราชอาณาจักรอาจจะแตกเป็นเสี่ยงๆ ถ้าออกจากสหภาพยุโรป เพราะไอร์แลนด์เหนือและสกอตแลนด์ที่มีทีท่าอยากแยกตัวจากสหราชอาณาจักรอยู่แล้ว อาจใชเป็นเงื่อนไขในการทำประชามติอีกรอบ เพื่อจะอยู่ต่อกับสหภาพยุโรป
ผลกระทบจริงๆ ต่อเศรษฐกิจค่อนข้ายากท่จะประเมิน เรพาะมีความไม่แน่นอนค่อนข้าสุงเีกยวกับเงื่อนไขหลังจากการโหวตไปแล้ว และนักวิเคราะห์หลายคนมีประมาณการที่ต่างกันค่อนข้างมาก ตั้งแต่บวดยันลบ(อาจจะขึ้นอยู่กับความเห็นทางการเมือง) แต่ฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยกับการออกจากสหภาพยุโรปออกมาเตือนกันค่อนข้างเยอะ ท้งรัฐบาลสหราชอาณาจักรเอง ผุ้นำยุโรป และผุ้นำสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ IMF และ OECD ยังออกมาเตือนว่า ถ้าสหราชอาณาจักรออกจากสหภาพยุโรปจริงๆ อาจจะเกิดผลกระทบทางเศราฐกิจโลกอยางร้ายแรงได้ และประเด็นนี้กลายเป็นประเด็นความเสี่ยงสำคัญที่ผุ้จัดการกองทุนทั่วโลกยกขึ้นมาเป็นลำดับต้นๆ แม้แต่ธนคารกลางอังกฤษ ยังบอกว่าจะต้องเตียมมาตรการรับมือกรณีที่ต้องออกจากสหภาพยุโรปจริง ๆ หรือกรรมการนโยบายการเงินสหรัฐฯ ยังบอกว่าการลงประชามติอาจจะมผลต่อการตัดสินใจ...thaipublica.org/2016/05/pipat-46/
Brexit ซึ่งมาจากคำว่า Britain+Exit คือความเสี่ยงที่สหรัชอณาจักร หรือ "อังฏฤ" อาจจะออกจาสหภาพยุโรป
สหภาพยุโรป เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ที่ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิกในยุโรป 28 ประเทศ มีขนาดของตลาอในแง่ GDP ใหญ่ที่่สุดในโลก (พอกับสหรัฐอเมริกา) แต่กมีลางประเทศในยุดรปี่ไม่ได้เป็นสมาชิกสหภาพยุโรป เช่น นอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์ และสหภาพยุโรปเปนมากว่าเขตการค้าเสรีหรื "custom union" เพราะไม่เพียงสินค้าและบิรการจะสามาถเข้าออกประเทศสมาชิกไ้อย่างเสรีแล้ว แรงงานและทุนก็สามารถเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศได้อย่างเสรี แปลว่าคนในประเทศสมาชิก สามารถเดินทางไปหางานในอีกประเทศได้ และทุนสามารถเคลื่อนย้ายกนได้อย่างเสรี
เพื่อทำให้เกิดสิ่งเหล่านี้ได้ สหภาพยุโรปจึงต้องมีอำนาจเหนือรัฐสมาชิกในการออกกฎหมายและระเบยบต่างๆ เพื่อควบคุมบางเรื่องให้สอดคล้องกันทั่ยสหภาพยุดรป และบัคับใช้ได้ในทุกประเทศสมาชิก และสหภาพยุโรปมีสถานบันที่มีลักษณะเหมือนรัฐเหนือรัฐ เช่น มีรัฐสภาพยุโรป และศาลยุติธรรมยุโรป เพื่อออกกฎหมายแลแก้ไขข้อพิพาทที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายของสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่คล้ายการคลังของรัฐเหนือรัฐ ในการเก็บเงินจากประเทศต่าๆงๆ แล้วเอาไปกระจายให้กบประเทศสมาชิก
"ซึ่งนำไปสู่คำถามที่ว่า ไปลดอไนาจอธิปไตยของประเทศมาชิกหรือเปล่า กฎระเบียบต่างๆ ของสหภาพยุโรปมีประดยชน์หรือกลายเป็นต้นทุนของรัฐกันแน่ และต้นทนกับประโยชน์ของการเป็นสมาชิกน้นอย่าไหนเยอะกว่ากัน และคุ้มกันไหม"
ประเด็นเหล่านี้มีการพูดถึงกันตลอด แต่เริ่มเป็นประเด็นใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีปัญหารผู้อพยพในยุโรป หลายคนที่อยากให้รัฐบาลออกกฎหมายควบคุมเขตแดนเพื่อลดจำรวนผุ้อพยพ แต่ก็ทำไม่ได้เต็มที่เรพาะไปขัดกับกฎของสหภาพยุโรป
ประเ็นเหล่านี้กลายเป็นประเด็นสำคญทางการเมืองในสหราชอาณาจักมากขึ้นเรื่อยๆ จนพรรคการเมืองพรรคหนึ่งทีมีนโยบายสนับสนุนให้สหราชอาณาจักรออกจากสหภาพยุดรป เร่ิมได้คะแนนเสียงมากขึ้นเรื่อยๆ จนพรรคการเมืองหลักอย่งพรรคอนุรักษ์นิยม และพรรคแรงงาน เร่ิมจะเก็บประเด็นนี้ไว้ใต้พรมไม่ได้
ในการเลือกตั้ง เดวิด คาเมรอน จึงประกาศว่า ถ้าชนะการเลือกตั้ง จะเอกประเด็นนี้มาให้ประชาชนโหวตตัดสินกัน และจะเจรจากับสหภพยุโรป เพื่อปฏิรูปข้อกำหนดสหภาพยุโรป และขอเงื่อนไขที่ดีขึ้นต่อสหราชอาณาจักร
และเมื่อชนะการเลือกตั้ง จึงต้งอทำตามสัญญาจัดทำประชามติทั่วประเทศ จนกลายเป็นประเด็นร้อนแรง ที่มีทั้งฝ่ายสนับสนุนและฝ่ายคัดค้าน แม้ว่ารัฐบาลมีจุดยืนชัดเจนว่าสนับสนนุให้สหราชอาณาจักรอยู่ในสหภาพยุโรปต่อไป แม้แต่รัฐมนตรีในรัฐบาลเดียวกันยังเห็นไม่ตรงกัน และรัฐมนตรีบางคนเป็นแกนนำในการรณรงค์ให้ออกจาสหภาพยโรปเสียด้วย
โดยเหตุผลของฝ่ายสนับสนุนให้ออกดูจะเป็นเหตุผลด้านการเมืองมากกว่ ฝั่งนับสนนุมองว่า การอยู่ในสหภาพยุโรปมีโทษมากว่าประโยชน์โดยเฉฑาะประเด็นอธิปไตย และการออกกฎหมย (โดยเฉพาะจากกรณีผู้อพยพ) และเห็นว่ากฎระเบียบต่างๆ จากสหภาพยุโรปเป็นตัวฉุดรั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร ต้นทุนทางการคลังก็เสียไปเปล่าๆ
นอกจากนี้ ฝ่ายสนับสนุนเชื่อว่าต้นทุนการออกจากสหภาพยุโรปน่าจะมาอก เพราะยังไงน่าจะเจรจากันได้ และยุโรปก็ต้องพึงพาสหราชอาณาจักรเหมือนกัน
ฝ่ายที่อยากให้อยู่ต่อ กังวลว่าต้นทุรทางเศรษบกิจของการออกจากสหภาพยุโรปอาจจะสูงมาก และความไม่แน่นอนหลักจากออกจากสหภาพยุโรปอาจจะมีสูงจนทำให้การลงทุนและศรษฐกิจหยุดชะงักได้ เพราะไม่เคยมีใครออกจากสหภาพยุโรป จึงไม่รู้ว่าเงื่อนไขหลังจากออกจะเป็นอย่างไร สหราชอาณาจักรได้รับประโยชน์จากการเป็นศูนย์กลางการค้และการลงทุนของยุโรป การค้าเป็นกว่าร้อยละ 60 ของเศรษบกิจ และกว่าครึ่งเป็นการค้ากับสมาชขิกในสหภาพยุโรป ที่ไม่มีกำแพงภาษีระหว่างกัน ถ้าออกจากสมาชิก นั่นอาจจะหมายความว่าสินค้าและบริการระหว่างสหราชอาณาจักร กับประเทศอื่นๆ ในสหภาพยุโรป อาจจะต้องมีภาษานำเข้าระหว่างกัน สหภาพยุโรปจะยอมให้สหราชอาณาจักรได้รับประโยชน์สเหมือนเป็นประเทศในเขตการค้าเสรีหรือไม่ถ้าให้จะต้องจ่ายด้วยอะไร แล้วการค้ากับประเทศอื่นๆ ที่สหภาพยุโรปมีข้อตกลงเขตการต้าเสรีแล้วล่ะ สหราชอาณาจักรต้องไปนั่งเจรจาทีละประเทศหรือเปล่า แล้วระหว่างนั้นการค้าจะเป็นอย่างไร
นอกจากนนี้ สหราชอาณาจักรยังเป็นศูนย์กลางการลงทุนและศุนยกลางทางการเงินของยุโรป เพราะได้ประโยชน์จากเงือ่นไขและกฎระเบีบที่ใช้เหมือนกัน ถ้าวันหนึ่งสหราชอาณาจักรออกจากการเป็นสหภาพยุโรป แล้วสหภาพยุโรปไม่ยอมรับระเบียบการดูแลสภาบันการเงินของสหราชอาณาจักขึ้นม จะเกิดอะไรขึ้นกับสถาบันการเงินที่ใชลอนดอนเป็นศูนย์กลาง
นอกจากนี้ ยังมีความเสี่ยงว่าสหราชอาณาจักรอาจจะแตกเป็นเสี่ยงๆ ถ้าออกจากสหภาพยุโรป เพราะไอร์แลนด์เหนือและสกอตแลนด์ที่มีทีท่าอยากแยกตัวจากสหราชอาณาจักรอยู่แล้ว อาจใชเป็นเงื่อนไขในการทำประชามติอีกรอบ เพื่อจะอยู่ต่อกับสหภาพยุโรป
ผลกระทบจริงๆ ต่อเศรษฐกิจค่อนข้ายากท่จะประเมิน เรพาะมีความไม่แน่นอนค่อนข้าสุงเีกยวกับเงื่อนไขหลังจากการโหวตไปแล้ว และนักวิเคราะห์หลายคนมีประมาณการที่ต่างกันค่อนข้างมาก ตั้งแต่บวดยันลบ(อาจจะขึ้นอยู่กับความเห็นทางการเมือง) แต่ฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยกับการออกจากสหภาพยุโรปออกมาเตือนกันค่อนข้างเยอะ ท้งรัฐบาลสหราชอาณาจักรเอง ผุ้นำยุโรป และผุ้นำสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ IMF และ OECD ยังออกมาเตือนว่า ถ้าสหราชอาณาจักรออกจากสหภาพยุโรปจริงๆ อาจจะเกิดผลกระทบทางเศราฐกิจโลกอยางร้ายแรงได้ และประเด็นนี้กลายเป็นประเด็นความเสี่ยงสำคัญที่ผุ้จัดการกองทุนทั่วโลกยกขึ้นมาเป็นลำดับต้นๆ แม้แต่ธนคารกลางอังกฤษ ยังบอกว่าจะต้องเตียมมาตรการรับมือกรณีที่ต้องออกจากสหภาพยุโรปจริง ๆ หรือกรรมการนโยบายการเงินสหรัฐฯ ยังบอกว่าการลงประชามติอาจจะมผลต่อการตัดสินใจ...thaipublica.org/2016/05/pipat-46/
วันอังคารที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
Europol II (Part 2)
criminal finances and money laundering
เทรนด์ ไมโคร จับมือยูโรโพล ปกป้อง อุตสาหกรรมการเงินจากมัลแวร์
บริษัท เทรนด์ ไมโคร อินคอร์ปอเรท ผู้นำระดับโลกด้านโซลูชั่นรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์และสูนญ์อาชญากรรมไซเบอร์แห่งยุโรป ของ ยูโรโพล เปิดเผยรายงานเกี่ยวกับสภานะปัจจุบันของมัลแร์เอทีเอ็ม โดยรายงานที่ชื่อว่า "การจ่ายเงินกับมัลแงร์เอทีเอ์ม" ไ้ให้รายละเอียดการโจมตีของมัลแงร์ทงทางกายภาพและบนเครื่อข่าย รวมถึงไฮไลด์สำคัญๆ ของมัลแวร์ดังกล่าว
ปัจจุบันมัลแวร์เอทีเอ็มได้เปลี่ยนแปลงการโจมตีจากเิมที่ต้องเชื่อมต่อผ่านตวเครื่องโดยตรงกลายมาเป็นการโจมตีด้วยการเชื่อต่อผ่านเครือข่ายดดยใช้คเรื่อข่ายองค์กรของธนาคาร โยรายงานได้ดำเนินการตรวจสอบการโจสีลาสุดที่ใช้้เครื่อข่ายองค์กรของธนาคาร โดยรายานได้ดำเนินการตรวจสอบการโจมตีล่าสุดที่ใช้เครื่อข่ายธนาคารค่างๆ ในการโจรกรรมท้งเงินและข้อมุลบัตรเครดิตจากเครื่องเอที่เอ็ม การโจมตีดังกล่าวไม่เพียงทำให้ข้อมูลที่สามารรถระบุตังบุคคลได้ ตอกยู่ในความเสียบและสร้างความเสียหายในรูปของตัเงินเป็นจำนนวนมาก แต่ยังอาจท่ำให้ธนาคาต้องเข้าข่าวกรณีลเิมดมาตฐาานของกฎหระเบียบด้านพีซีไอ ด้วย
"การป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์ในปัจุบัและการปฏิบัตตามมาตรฐานของกฎระเบีบนั้น จำเป็นต้องใจข้ทรัพยากรเพื่มมากขึ้น ซึ่งไม่ได้จำกัดเฉพาะองค์กรทั่วไปเท่าน้นแต่ยังหมายรวมถึงอุตสาหกรรม ด้านบริการทางการเงินด้วย" นาย แม็กซ์ เฉิง ประธานเจ้าหน้าที่ายรสนเทศ บริฒัท เทรนด์ ไมโคร กล่าวว่า "ความร่วมมือระกว่างภาครัฐและเอกชนจะช่ยเสริมสร้างความเข็งแกร่งในกาต่อสุ้กับอาชญากรรมไซเบอร์ทั่วโลกที่กำลังดำเนินอยู่ และยังเป็นการช่วยสนับสนนุทรัพยากรให้กับองค์กรต่างๆ อ้ว รายงานฉบับยียังระบใไ้เห็นถึงความมุ่งมั่นของบริษัท เทรนด็์ ไมโครในการช่วยเหลือหน่ยงานบังคับใช้กฎหมายและองคกรธุรกิจเอกชนในการบรรเทาคามเสี่ยงจาการโจมตีในอนาคตและให้การปกป้องผุ้ใช้รายบุคคลด้วย
"รายงานภายใต้ความร่วมือของบริษัท แทรนด์ ไมโครกับ อีซี 3 ของยูโรโพล แสดงหให้เหว่าการใช้ประดยชน์จากมัลแวร์กำลังเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างมาก โดยขอบเขตและระดับของการโจมตีมีการขยายตัวอย่างมีนัยสำคัญ แม้ว่าการทำงานร่วมกันของภาคอุตสาหกรรมและหน่ยงานบังคับใช้กฎหมายจะเป้นไปอย่างเข้มแข็ง แต่อาชญกรรมยังคงเติบดตอย่างต่อเนื่องอันเป็นผลมาจากผลตอบเทนทางกาเงินจำนวนมากที่จูงใจให้กลุ่มอาชญากรรมที่มีการทำงานอย่างเป็นระบบเข้ามาร่วมในการโจมตีดดยรายงานฉบับนี้ได้ประเมนแนวโน้กมการพัฒนาของภัยคุกคามอย่งเห้ฯได้ชัด ผมหวังว่าสิ่งนี้จะเป็นแบบแผนสำหรับอุตสหรรมในอนาคตและเสริมสร้างให้เกิดความร่วมมือกับหน่ยงานบังคัยใช้กฎหมายเพ่ิมมากขึ้น "นายสติเฟน วิลสัน หัวหน้าศูนย์อีซี 3 กล่าว
นอกรายงานที่เผยแพร่สู่สาธารณะแล้ว ยังมเวอร์ชั่นทีได้รับกาเผยแร่ในวงจำกัดสำหรับเจ้าหน้ทาที่ใหน่ยงา
นบังคับใช้กฎหมาย สถาบันทางการเงิน และอุตสาหกรรมการักษาความปลอดภัยด้านไอทีด้วย โดยรายงานดังกล่วจะให้รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกบองคกรภาครัฐและเอกชนในการทำใหระบบเอทีเ่อ็มและเครือข่ายมีความแข็งแหร่งและสามารถป้องกันการโจมตีในอนาคตที่อาจเกิดกับสถาบันทางการเงินได้ http://www.newsplus.co.th/138516
ยูโรโพลตรวจสอบสนง.ใหญ่ ธนาคาร ICBC ในสเปนจากคดีฟอกเงิน
ทากงารสเปนได้เข้าไปตรวจสอบสำนักงานใหญของะนาคารอินดัสเทรียล แอนด์ คอมเมอร์เชียล แบงก์ ออฟ ไชน่า ในสเปน พร้อมกับควบคุมตัวผุ้อำนวนการธนาคาร 5 รายภายใต้คำสั่งสาล ซึ่งกำลังไต่สวนะนาคารดังกล่าวใคดีฟอกเงิน
ยูโรโพล ึ่งเป็นผุ้ดำเนินการเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายของยุโรปเปิดเผยว่า เจ้าหน้าที่ผุ้บังคับใช้กฎหมายของสเปนและยุโรปกำลังตรวจอบธนาคารดังกล่วในคดฟิกเิงนมุลค่าถึง 40 ล้านยูโร ซึ่งมีรายการเงินผากจากองค์กรอาชญากรรมต้องสงสัย ยูโรโพลได้ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่สเปนในการตรวจสอบกรณีดังกล่าว พร้อมทั้งระบุด้วยว่า " ICBC เป็นหนึ่งในผู้อนุมัจเงินกู้รายใหญ่ท่ีสุดในโลก ถูกกล่วหาในกรณีโอนเิงนไปยังจีนโดยไม่ตรวจสอบที่มาของเงวินตามที่กฎมหายกำหนด"
สำนักงานใหญ่ของธนาคาร ICBC ในกรุงปักกิ่งได้ออกแถลงการณ์ ระบุว่า ธนาคารได้ยึดกฎเกณฑ์การตอต้านการฟอกเงินเป็นหลักของการดำเนินธุรกิจของธนาคร และธนาคารสาขากรุงมาตริดจะให้ควมร่วมมือในการตวนจสอบอย่างเต็มที่ ...http://www.ryt9.com/s/iq29/2364999
human trafficking
ยูโรโพล รวบผุ้ต้องหาข้อหาค้ามนุษย์ เด็กและผุ้ลี้ภัยทั่วยุโรป
ยูโรโพลรวผุ้ตองหา้ามนุาย์ เด็กและผุ้ลี้ภัยทั่วยุดรป ภายใต้กรอบนโยบายสหภาพยุดรป 2014-2017 เพื่อตอต้านขบวนการอาชญากรรมข้ามชาติ วันที่ 21 ตุลาคม บุญธง ก่อมลคงกูล ผุ้สื่อข่าวไทยรัฐประจำเบลเยียม รายงานว่า สำนักงานตำรวจยุดรปหรือยูโรโพล ได้แถลงข่าวเมื่อวันศุกรร์ ที่ 20 ตุลาคมว่า ได้จบกุมผู้ตองสงสัยกระทำการลักลอบค่ามนุษย์จำนวนมาก จากปฏิบัติการ 2 ครั้ง ของหน่วยงานรักษาความมั่นคงยุดร ปสามารถจับกุมผุ้ต้องหาจำนวน 16 คน ในข้อหาลัก,อบค้าเด็ โดยมีการกวดล้าง ใน 19 ประเทศยุโรป ระหว่งวันที่ 9-13 ตุลาคม 2017 ภายใต้ความร่วมมือของยูโรโพล อินเตอรโพล และฟรอนเท็กซ์ หรือสำนักงานตครวจตราพรมแดนยุโรป
รายงานของยูโรโพล ระบุว่า จนวนผุ้ต้องหาที่ถุกจับกุมทังหมด จำนวน 115 คน จากการตวจสอบผุ้ต้องสงสัย จำนวน 210,000 คน โดยมเหยื่อขบวนการค้ามนุาญ์ 1,106 คน ที่อยุ่ในสภาพที่ถุกบับบังคัยหรือถุกใช้ในการแสวงหาผลประดยชน์ ทังนี้เจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจพบผุ้เยาว์ จำนวน 34 คน ที่ตกเป็นเหยื่อของขบวนการลักลอบค้าเด็ก
นอกจากนั้ มีผุ้ต้งอหาถูกจักบุมในข้อหากระทำความผิดอาชญกรรม จำนวน 74 คน ดดยมี 4 คนที่ถุกต้งข้อหาลักลอยบขนย้ายผู้อพยพ โดยการอำนวนความสะดวกให้กับผุ้เข้าเมืองผิดกฎหมาย ภายในและโดยรอบศุนย์รับรองผู้อพยพ
ปฏิบัติการท้งสองคร้งนี้อยุ่ภายใต้ชื่อว่า "ปฏิบัติการมังกร" ซึ่งเป้นความร่มมือปฏิบัตการครั้งใหญ ภายใต้กรอบนดยบายสหภาพยุดรป 2014-2017 เพื่อต่อต้านขบวนการอาชญากรรมข้ามชาติ..www.thairath.co.th/content/1104864
document fraud; and online trade in illicit goods and services
ยูโรโพล เอาจริง ปราบปรามสินค้าแบรนด์เนมปลอม ปิดเว็บไซต์ขายมากกว่า 4,500 แห่ง
สำนักข่าวเอเอฟพีรายงานว่า เจ้าหน้าที่ของทางกรยุโรปเปิดเผยเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายนว่าตำรวจและฝ่ายบังคับใช้กฎหมายทั่วยุโรปสามารถยึดขื่อโดเมนของเว็บไซต์จำหน่ายสินค้าปลอดแปลงได้มากกว่า 4,500 แห่ง ส่วนใหย่เป็นกาขายผ่านช่องทางโซเชียลเน็ตเวิร์ก อาทิเฟซบุ๊กและอินสตาแกรม ในปฏิบัติการของสำนักงานตำรวจยุดรป (ยูโรโพล) ที่ได้รับความร่วมมือจากหน่ยงานบังคับใช้กฎหมาย 27 ชาติ ซึรวมถึงสหรัฐและแคนาดาด้วย ดดยสินค้าทีเว็บไซต์เหล่านี้ขายมีตั้งแต่สินค้าฟุ่มเฟือย อุปกรณ์กีฬา ยา สุขภัณฑ์ สินค้าอเล็กทรอนกิส์ ชิ้นส่วนอะไหล่ต่าๆ และสสินค้าปลอมแปลงอื่นๆ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการรณรงค์ปราบปรามและหยุดยั้งเว็บไซต์ที่ขายสินค้าแบรนด์เนมปลอกผ่านทางออนไลน์
ยูโรโพลแถลงว่า "อินเตอร์เน็ตกลายเป็นช่องทางที่สำคัญของ อี-คอมเมิร์ซ การสามารถเข้าถึงได้อย่างทันที่จากทั่วโลแกละความไม่ต้องเปิดเผยตัวตนทำให้มีความเป็นไปได้ในการขายของแทบทุกสิ่งให้กับใครก็ได้ในเวลาไหนก้ได้"
ผู้ปลอมแปลงสินคึ้ารู้เรื่องนี้ดและใช้ประโยชน์จาก โอกาสที่ไม่จำกัดของอินเตอร์เน็ตมาขึ้นเรื่อยๆ " ยูดรโพลระบุ และเตือนว่า แม้ว่าสินค้าเหล่านี้จะพูเหมือนคุ้มราคาแต่เสี่ยงที่จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพลแะความปลอดภัยของผุ้ซื้อ
นอกจากนี้ ในส่วนหนึ่งของปฏิบัติการปราบปรามคร้งนี้ ตำรวจเนเธอร์แลนด์ยังสามารถจับกุมผู้กระทำผิดได้ 12 ราย ในรอบ 2 สัปดาห์ที่ผ่านมาจากการบุกเข้าตรวจค้นบ้านและโกดังสินค้าทั่วประเทศสามารถยึดสินค้าปลอดแปลงที่เป็นเสื้อผ้า รองเท้า กระเป๋า น้ำหอมของแบรนด์ดัง อาทิ อาดิดาส ไนกี้ และเคนโซได้แล้วมากกว่า 3,500 รายการ มูฃค่ารวมแล้วหลายหมืนยูโร..https://www.matichon.co.th/news/377372
Migrant workers
ยูโรโพลปรเมินมีเด็กอพยพหายไปอย่างน้อย 10,000 คน
สำนักงานตำรวจยุโรป (ยูโรโพล) ประเมินว่ามีเด็กที่เินทางอพยพเข้ามาในยุโรปตามลำพังโดยไม่มีผุ้ใหญ่มาด้วย หายไปยอ่างน้อย 10,000 คน นับตั้งแต่ที่พวกเขาเดินทางถึงยุโรปและลงทะเบียนกับทางการ ในบทสัมภาษณืของนายไบรอัน โดนัลด์ หัวหน้าพนักงานของยูดรโพล ที่ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ ดิ ออบเซอร์เวอร์ของอังกฤษระบุว่า เแพาะในประเทศอิตาลีแแห่งเดียว มีเด็กและผุ้เขาว์ราว 5,000 คน หายไป และยูโรโพลมีหลักฐานว่า กลุ่มอาชญากรรมเข้าไปหลอกลวงบรรดาเด็กๆ และ(ุ้ยเาว์ที่เดินทางตามลำพัง เพื่อนไปทำงานบริการทางเพศ เป็นแรงงานทางฃส หรือเข้าร่วมกับกฃลุ่มอาชฐากรม อย่งไรก็ตามทีเด็กขางคนได้รับการสงต่อให้กกบฐาติพี่น้องในยุดร ปผุ้สือชข่าวบิบิซีรายงานว่า นี่เป็นครั้งแรกที่ยูโรโพลออกมาประเมฯจำนวนเด็กที่อาจหายไป ขณที่นายเลโอนาร์ด ดอยล็ โฆษกองค์การระหว่งประเทศเพื่อการโยกย้ายถ่ินบอกบีบีซีว่า 10,000 คนเป็นตัวเลขที่น่าตกใจมาก แต่ไม่เปลกใจและชเื่อว่าเป็นเรื่องทีคาดกาณ์กันมาก่อนแล้ว่าเด็กและผุ้เยาว์จะถูกล่อลวงและเอารัดเอเเปรียบน
นายโดนัลด์ยอมรับว่ายูโรโพลไปรุ่ว่าเด็กๆ ที่หายไปนั้น ขณะนี้อยู่ที่ไหนและกำลงทำอะไรอยู่ ก่อนหน้านี้เซฟเดอะซิลเครน ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ทำงานรณรงค์เพื่อเด็กระบุว่า มีเด็กราว 26,000 คน เดินทางถึงยุดรปเมื่อปีที่แล้วโดยไม่มีควนใครอบครัวเดินทางมาด้วยแม้แต่คนเดียว..https://theleader.co/%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9E/
เทรนด์ ไมโคร จับมือยูโรโพล ปกป้อง อุตสาหกรรมการเงินจากมัลแวร์
บริษัท เทรนด์ ไมโคร อินคอร์ปอเรท ผู้นำระดับโลกด้านโซลูชั่นรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์และสูนญ์อาชญากรรมไซเบอร์แห่งยุโรป ของ ยูโรโพล เปิดเผยรายงานเกี่ยวกับสภานะปัจจุบันของมัลแร์เอทีเอ็ม โดยรายงานที่ชื่อว่า "การจ่ายเงินกับมัลแงร์เอทีเอ์ม" ไ้ให้รายละเอียดการโจมตีของมัลแงร์ทงทางกายภาพและบนเครื่อข่าย รวมถึงไฮไลด์สำคัญๆ ของมัลแวร์ดังกล่าว
ปัจจุบันมัลแวร์เอทีเอ็มได้เปลี่ยนแปลงการโจมตีจากเิมที่ต้องเชื่อมต่อผ่านตวเครื่องโดยตรงกลายมาเป็นการโจมตีด้วยการเชื่อต่อผ่านเครือข่ายดดยใช้คเรื่อข่ายองค์กรของธนาคาร โยรายงานได้ดำเนินการตรวจสอบการโจสีลาสุดที่ใช้้เครื่อข่ายองค์กรของธนาคาร โดยรายานได้ดำเนินการตรวจสอบการโจมตีล่าสุดที่ใช้เครื่อข่ายธนาคารค่างๆ ในการโจรกรรมท้งเงินและข้อมุลบัตรเครดิตจากเครื่องเอที่เอ็ม การโจมตีดังกล่าวไม่เพียงทำให้ข้อมูลที่สามารรถระบุตังบุคคลได้ ตอกยู่ในความเสียบและสร้างความเสียหายในรูปของตัเงินเป็นจำนนวนมาก แต่ยังอาจท่ำให้ธนาคาต้องเข้าข่าวกรณีลเิมดมาตฐาานของกฎหระเบียบด้านพีซีไอ ด้วย
"การป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์ในปัจุบัและการปฏิบัตตามมาตรฐานของกฎระเบีบนั้น จำเป็นต้องใจข้ทรัพยากรเพื่มมากขึ้น ซึ่งไม่ได้จำกัดเฉพาะองค์กรทั่วไปเท่าน้นแต่ยังหมายรวมถึงอุตสาหกรรม ด้านบริการทางการเงินด้วย" นาย แม็กซ์ เฉิง ประธานเจ้าหน้าที่ายรสนเทศ บริฒัท เทรนด์ ไมโคร กล่าวว่า "ความร่วมมือระกว่างภาครัฐและเอกชนจะช่ยเสริมสร้างความเข็งแกร่งในกาต่อสุ้กับอาชญากรรมไซเบอร์ทั่วโลกที่กำลังดำเนินอยู่ และยังเป็นการช่วยสนับสนนุทรัพยากรให้กับองค์กรต่างๆ อ้ว รายงานฉบับยียังระบใไ้เห็นถึงความมุ่งมั่นของบริษัท เทรนด็์ ไมโครในการช่วยเหลือหน่ยงานบังคับใช้กฎหมายและองคกรธุรกิจเอกชนในการบรรเทาคามเสี่ยงจาการโจมตีในอนาคตและให้การปกป้องผุ้ใช้รายบุคคลด้วย
"รายงานภายใต้ความร่วมือของบริษัท แทรนด์ ไมโครกับ อีซี 3 ของยูโรโพล แสดงหให้เหว่าการใช้ประดยชน์จากมัลแวร์กำลังเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างมาก โดยขอบเขตและระดับของการโจมตีมีการขยายตัวอย่างมีนัยสำคัญ แม้ว่าการทำงานร่วมกันของภาคอุตสาหกรรมและหน่ยงานบังคับใช้กฎหมายจะเป้นไปอย่างเข้มแข็ง แต่อาชญกรรมยังคงเติบดตอย่างต่อเนื่องอันเป็นผลมาจากผลตอบเทนทางกาเงินจำนวนมากที่จูงใจให้กลุ่มอาชญากรรมที่มีการทำงานอย่างเป็นระบบเข้ามาร่วมในการโจมตีดดยรายงานฉบับนี้ได้ประเมนแนวโน้กมการพัฒนาของภัยคุกคามอย่งเห้ฯได้ชัด ผมหวังว่าสิ่งนี้จะเป็นแบบแผนสำหรับอุตสหรรมในอนาคตและเสริมสร้างให้เกิดความร่วมมือกับหน่ยงานบังคัยใช้กฎหมายเพ่ิมมากขึ้น "นายสติเฟน วิลสัน หัวหน้าศูนย์อีซี 3 กล่าว
นอกรายงานที่เผยแพร่สู่สาธารณะแล้ว ยังมเวอร์ชั่นทีได้รับกาเผยแร่ในวงจำกัดสำหรับเจ้าหน้ทาที่ใหน่ยงา
นบังคับใช้กฎหมาย สถาบันทางการเงิน และอุตสาหกรรมการักษาความปลอดภัยด้านไอทีด้วย โดยรายงานดังกล่วจะให้รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกบองคกรภาครัฐและเอกชนในการทำใหระบบเอทีเ่อ็มและเครือข่ายมีความแข็งแหร่งและสามารถป้องกันการโจมตีในอนาคตที่อาจเกิดกับสถาบันทางการเงินได้ http://www.newsplus.co.th/138516
ยูโรโพลตรวจสอบสนง.ใหญ่ ธนาคาร ICBC ในสเปนจากคดีฟอกเงิน
ทากงารสเปนได้เข้าไปตรวจสอบสำนักงานใหญของะนาคารอินดัสเทรียล แอนด์ คอมเมอร์เชียล แบงก์ ออฟ ไชน่า ในสเปน พร้อมกับควบคุมตัวผุ้อำนวนการธนาคาร 5 รายภายใต้คำสั่งสาล ซึ่งกำลังไต่สวนะนาคารดังกล่าวใคดีฟอกเงิน
ยูโรโพล ึ่งเป็นผุ้ดำเนินการเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายของยุโรปเปิดเผยว่า เจ้าหน้าที่ผุ้บังคับใช้กฎหมายของสเปนและยุโรปกำลังตรวจอบธนาคารดังกล่วในคดฟิกเิงนมุลค่าถึง 40 ล้านยูโร ซึ่งมีรายการเงินผากจากองค์กรอาชญากรรมต้องสงสัย ยูโรโพลได้ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่สเปนในการตรวจสอบกรณีดังกล่าว พร้อมทั้งระบุด้วยว่า " ICBC เป็นหนึ่งในผู้อนุมัจเงินกู้รายใหญ่ท่ีสุดในโลก ถูกกล่วหาในกรณีโอนเิงนไปยังจีนโดยไม่ตรวจสอบที่มาของเงวินตามที่กฎมหายกำหนด"
สำนักงานใหญ่ของธนาคาร ICBC ในกรุงปักกิ่งได้ออกแถลงการณ์ ระบุว่า ธนาคารได้ยึดกฎเกณฑ์การตอต้านการฟอกเงินเป็นหลักของการดำเนินธุรกิจของธนาคร และธนาคารสาขากรุงมาตริดจะให้ควมร่วมมือในการตวนจสอบอย่างเต็มที่ ...http://www.ryt9.com/s/iq29/2364999
human trafficking
ยูโรโพล รวบผุ้ต้องหาข้อหาค้ามนุษย์ เด็กและผุ้ลี้ภัยทั่วยุโรป
ยูโรโพลรวผุ้ตองหา้ามนุาย์ เด็กและผุ้ลี้ภัยทั่วยุดรป ภายใต้กรอบนโยบายสหภาพยุดรป 2014-2017 เพื่อตอต้านขบวนการอาชญากรรมข้ามชาติ วันที่ 21 ตุลาคม บุญธง ก่อมลคงกูล ผุ้สื่อข่าวไทยรัฐประจำเบลเยียม รายงานว่า สำนักงานตำรวจยุดรปหรือยูโรโพล ได้แถลงข่าวเมื่อวันศุกรร์ ที่ 20 ตุลาคมว่า ได้จบกุมผู้ตองสงสัยกระทำการลักลอบค่ามนุษย์จำนวนมาก จากปฏิบัติการ 2 ครั้ง ของหน่วยงานรักษาความมั่นคงยุดร ปสามารถจับกุมผุ้ต้องหาจำนวน 16 คน ในข้อหาลัก,อบค้าเด็ โดยมีการกวดล้าง ใน 19 ประเทศยุโรป ระหว่งวันที่ 9-13 ตุลาคม 2017 ภายใต้ความร่วมมือของยูโรโพล อินเตอรโพล และฟรอนเท็กซ์ หรือสำนักงานตครวจตราพรมแดนยุโรป
รายงานของยูโรโพล ระบุว่า จนวนผุ้ต้องหาที่ถุกจับกุมทังหมด จำนวน 115 คน จากการตวจสอบผุ้ต้องสงสัย จำนวน 210,000 คน โดยมเหยื่อขบวนการค้ามนุาญ์ 1,106 คน ที่อยุ่ในสภาพที่ถุกบับบังคัยหรือถุกใช้ในการแสวงหาผลประดยชน์ ทังนี้เจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจพบผุ้เยาว์ จำนวน 34 คน ที่ตกเป็นเหยื่อของขบวนการลักลอบค้าเด็ก
นอกจากนั้ มีผุ้ต้งอหาถูกจักบุมในข้อหากระทำความผิดอาชญกรรม จำนวน 74 คน ดดยมี 4 คนที่ถุกต้งข้อหาลักลอยบขนย้ายผู้อพยพ โดยการอำนวนความสะดวกให้กับผุ้เข้าเมืองผิดกฎหมาย ภายในและโดยรอบศุนย์รับรองผู้อพยพ
ปฏิบัติการท้งสองคร้งนี้อยุ่ภายใต้ชื่อว่า "ปฏิบัติการมังกร" ซึ่งเป้นความร่มมือปฏิบัตการครั้งใหญ ภายใต้กรอบนดยบายสหภาพยุดรป 2014-2017 เพื่อต่อต้านขบวนการอาชญากรรมข้ามชาติ..www.thairath.co.th/content/1104864
document fraud; and online trade in illicit goods and services
ยูโรโพล เอาจริง ปราบปรามสินค้าแบรนด์เนมปลอม ปิดเว็บไซต์ขายมากกว่า 4,500 แห่ง
สำนักข่าวเอเอฟพีรายงานว่า เจ้าหน้าที่ของทางกรยุโรปเปิดเผยเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายนว่าตำรวจและฝ่ายบังคับใช้กฎหมายทั่วยุโรปสามารถยึดขื่อโดเมนของเว็บไซต์จำหน่ายสินค้าปลอดแปลงได้มากกว่า 4,500 แห่ง ส่วนใหย่เป็นกาขายผ่านช่องทางโซเชียลเน็ตเวิร์ก อาทิเฟซบุ๊กและอินสตาแกรม ในปฏิบัติการของสำนักงานตำรวจยุดรป (ยูโรโพล) ที่ได้รับความร่วมมือจากหน่ยงานบังคับใช้กฎหมาย 27 ชาติ ซึรวมถึงสหรัฐและแคนาดาด้วย ดดยสินค้าทีเว็บไซต์เหล่านี้ขายมีตั้งแต่สินค้าฟุ่มเฟือย อุปกรณ์กีฬา ยา สุขภัณฑ์ สินค้าอเล็กทรอนกิส์ ชิ้นส่วนอะไหล่ต่าๆ และสสินค้าปลอมแปลงอื่นๆ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการรณรงค์ปราบปรามและหยุดยั้งเว็บไซต์ที่ขายสินค้าแบรนด์เนมปลอกผ่านทางออนไลน์
ยูโรโพลแถลงว่า "อินเตอร์เน็ตกลายเป็นช่องทางที่สำคัญของ อี-คอมเมิร์ซ การสามารถเข้าถึงได้อย่างทันที่จากทั่วโลแกละความไม่ต้องเปิดเผยตัวตนทำให้มีความเป็นไปได้ในการขายของแทบทุกสิ่งให้กับใครก็ได้ในเวลาไหนก้ได้"
ผู้ปลอมแปลงสินคึ้ารู้เรื่องนี้ดและใช้ประโยชน์จาก โอกาสที่ไม่จำกัดของอินเตอร์เน็ตมาขึ้นเรื่อยๆ " ยูดรโพลระบุ และเตือนว่า แม้ว่าสินค้าเหล่านี้จะพูเหมือนคุ้มราคาแต่เสี่ยงที่จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพลแะความปลอดภัยของผุ้ซื้อ
นอกจากนี้ ในส่วนหนึ่งของปฏิบัติการปราบปรามคร้งนี้ ตำรวจเนเธอร์แลนด์ยังสามารถจับกุมผู้กระทำผิดได้ 12 ราย ในรอบ 2 สัปดาห์ที่ผ่านมาจากการบุกเข้าตรวจค้นบ้านและโกดังสินค้าทั่วประเทศสามารถยึดสินค้าปลอดแปลงที่เป็นเสื้อผ้า รองเท้า กระเป๋า น้ำหอมของแบรนด์ดัง อาทิ อาดิดาส ไนกี้ และเคนโซได้แล้วมากกว่า 3,500 รายการ มูฃค่ารวมแล้วหลายหมืนยูโร..https://www.matichon.co.th/news/377372
Migrant workers
ยูโรโพลปรเมินมีเด็กอพยพหายไปอย่างน้อย 10,000 คน
สำนักงานตำรวจยุโรป (ยูโรโพล) ประเมินว่ามีเด็กที่เินทางอพยพเข้ามาในยุโรปตามลำพังโดยไม่มีผุ้ใหญ่มาด้วย หายไปยอ่างน้อย 10,000 คน นับตั้งแต่ที่พวกเขาเดินทางถึงยุโรปและลงทะเบียนกับทางการ ในบทสัมภาษณืของนายไบรอัน โดนัลด์ หัวหน้าพนักงานของยูดรโพล ที่ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ ดิ ออบเซอร์เวอร์ของอังกฤษระบุว่า เแพาะในประเทศอิตาลีแแห่งเดียว มีเด็กและผุ้เขาว์ราว 5,000 คน หายไป และยูโรโพลมีหลักฐานว่า กลุ่มอาชญากรรมเข้าไปหลอกลวงบรรดาเด็กๆ และ(ุ้ยเาว์ที่เดินทางตามลำพัง เพื่อนไปทำงานบริการทางเพศ เป็นแรงงานทางฃส หรือเข้าร่วมกับกฃลุ่มอาชฐากรม อย่งไรก็ตามทีเด็กขางคนได้รับการสงต่อให้กกบฐาติพี่น้องในยุดร ปผุ้สือชข่าวบิบิซีรายงานว่า นี่เป็นครั้งแรกที่ยูโรโพลออกมาประเมฯจำนวนเด็กที่อาจหายไป ขณที่นายเลโอนาร์ด ดอยล็ โฆษกองค์การระหว่งประเทศเพื่อการโยกย้ายถ่ินบอกบีบีซีว่า 10,000 คนเป็นตัวเลขที่น่าตกใจมาก แต่ไม่เปลกใจและชเื่อว่าเป็นเรื่องทีคาดกาณ์กันมาก่อนแล้ว่าเด็กและผุ้เยาว์จะถูกล่อลวงและเอารัดเอเเปรียบน
นายโดนัลด์ยอมรับว่ายูโรโพลไปรุ่ว่าเด็กๆ ที่หายไปนั้น ขณะนี้อยู่ที่ไหนและกำลงทำอะไรอยู่ ก่อนหน้านี้เซฟเดอะซิลเครน ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ทำงานรณรงค์เพื่อเด็กระบุว่า มีเด็กราว 26,000 คน เดินทางถึงยุดรปเมื่อปีที่แล้วโดยไม่มีควนใครอบครัวเดินทางมาด้วยแม้แต่คนเดียว..https://theleader.co/%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9E/
วันจันทร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
Europol II
Cyber Crime
ยูโรโพลเร่งล่าคนร้ายเรียกค่าไถ่ไซเบอร์ ยูโรโพลออกปฏิบัติการไล่ล่าผุ้อยู่เบื้องหลังเหตุโจมตีทางไซเบอร์ด้วยการปล่อยมัลแวร์เรียกค่าไถ่บนคอมพิวเตอร์ขององค์กรและประชาชนในพื้นที่กว่า 100 ประเทศทั่วโลก
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า (14 พ.ค. 60) องค์การตำรวนจุโรปหรือ ยูโรโพลได้ออกปฏิบัติการไล่ล่ผุ้อยู่เบื้องหลังเหตุโจมตีทางไซเบอร์ด้วยการปล่อยมลแวร์เรียกค่าไถ่ "แรนเซิมเแวร์" ที่รูจักกันในชื่อ "วอนนาคาย" หรือ "อยางจะร้องไห้" บนคอมพิวเตอร์ขององค์กรและประชาชนในพื้นที่กว่า ร้อยประเทศท่วโลก รวมถึงะนาคาร, โรงพยาบาลและสถานที่ราชการ เพื่อเรียกเงินบิตคอยคิดเป็นูลค่า 300 ดอลลาร์สหรฐ หรือกว่า 10,000 บาท โดยปฏิบัติการโจมตีทางไซเบอร์ดังกล่าว เร่ิมต้นขึ้นตั้งแต่วันที่ 12 พ.ค. ที่ผ่านมาและโจมตีไซเบอร์เรียกค่าไถ่ครั้งใหญ่ที่สุด โดยโจมตีตั้งแต่หน่วยงานภาครัฐไปจนถึงบริษัทยักษ์ใหญ่ทั่โลกทั้งธนาคารรัสเซียและโรงพยาบาลในอังกฤษและอินโดนีเซีย ไปจนถึงบริษัทบริการขนส่งสินค้าเฟ็ดเอ็กซ์และโรงงานลิรถยนนต์ในยุโรป
ขณะที่ยูโรโพลเปิดเผยว่ เหตุดจมตีไซเบอร์คร้งนี้เป็นเหตุโจมตีในระดับที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนและจะต้องีกรสืบสวนระดับระหว่างประเทศเพื่อหาตัวคนร้าย ยูโรโพลจึงได้ตั้งหน่วยเฉพาะกิจที่ศูนย์ปราบปรามอาชญากรรมไซเอบร์ยุโรปเพื่อเป็นตัวหลักในการสนับสนุนการสอบสวนเรื่องที่เกิดข้น ดดยแฮ็คเกอร์ไ้ใช้โปรแกรมเรียกค่าไถ่ล่วงล้ำระบบปฏิบัติากรไ่โครซอฟต์เพื่อแสวงหาประดยชน์ส่นตนและล็อคไฟล์ข้อูลผุ้ใช้งานเพื่อเรียกเงินค่าไถ่ โดยเหยื่อจะต้องจายเงินบิตคอยให้กับแฮ็คเกอร์ภายนเวลา 3 วันเพื่อปลดล็อคไม่เช่นนั้นราคาค่าไถ่จะเพิ่มขึ้นป็น 2 เท่าตัว และหากไม่จ่ายเงินภายในเวลา 7 วัน คนร้ายจะจัดการลบไฟล์ทั้งหมดทิ้ง แต่ผู้เชี่ยชาญและรัฐบาลเตือนว่า การจ่ายเงินถ่าไถ่ไม่ได้รับประกันว่าคนร้ายจะปลดล็อคไฟล์ให โดยเจ้าหน้าที่ทีมรบือเหตุฉุกเฉินเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ของกระทรวงความมั่นคงแห่งาตุภูมิสหรัฐระบุ่ คนร้ายประสงค์ต่อทรัพย์สินเหยือและบางกรณีเป้นข้อมูลธนาคาร https://today.line.me/th/pc/article/%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%96%E0%B9%88%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C-21c4e9599cd3adca5b61bed36cdcdb0d86b089e02733cc780438592def18dc8d
Terrorism
ยูโรโพลแถลงตัเลขจับกุมแนวร่วมกลุ่มจีฮัดเพืมขึ้น
สำนักงานตำรวจสหภาพยุโรป หรือยูโรโพล เปิดเผยรายงานสถานการณ์และแวโน้มการกอการร้ายในยุโรปประจำปี ชีว่ จำนวนผุ้ถูกจับกุมฐานต้องสงสัยว่าเกี่ยวข้องกับกลุ่มก่อารร้ายอิสลามในยุโรป เพิ่มขึ้นต่ิดต่อกันเป็นปีที่ 3
ยูโรโพล แถลงตัวเลขล่าสุดว่ มีการจับกุมผุ้ต้องสงสัยว่าเป็นนักบจีฮัดก่อการร้าย 718 คน เพิมขึ้นจากตัวเลข 687 คน ในปี 2016 และ 395 คน ในปี 2014 อย่างไรก็ตาม จำนวนการโจมตีโดยนักรบจีฮัดกลับลดลง จาก 17 ครั้งในปี 2015 เป็น 13 ครั้งในปี 2016 ซึงในจำนวนนี้มี ุ ครั้ง ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มที่เรียกตัวเองว่ารัฐอิสลามหรือ ไอเอส
รายงานยังระบุด้วยว่า ความรุนแรงที่เพ่มิขึ้นมาจากกลุ่มขวาัด ก็เพ่ิมขึ้นเช่นกกัน
ส่วนเมื่อปี 2016 มี "การโจมตีที่ล้มเหลว ถูกสกัดกั้น และลงมือได้สำเร็จ" รวม 142 ครั้งที่ไดรับรายงานจาก 8 ชาติสมาชิก ซึ่งรวมถึงการโจมตีดดยนักรบจีฮัด กลุ่มชาตินิยมสุดโต่ง และกลุ่มอื่นๆ นอกจากนี้ ยังมีผุ้เสียชีวิตรวม 142 คนจากการก่อการร้าย และบาดเจบ 379 คน ซึ่งสาเหตุของการเียชีวิตเกือบทั้งหมดและกรบาดเจ็บส่วนใหญ่เกิดจากนักรบจีฮัด
นายจูเลี่ยน คิง ผุ้บัญชาการสำนักงานความมั่คงอียู กล่าวว่า ตัวเลขนี้ เน้นย้ำถึงความจำเป็นที่จะต้องมีความร่วมือในการแบ่งปันข้อมูลข่าวกรองที่ใกล้ชิดขึ้น โดยกล่าวว่า "ผู้ก่อการร้าย ไม่เคารพหรือสนใจเรื่องพรแดน"
รายงานความยาว 62 หน้านี้ ยังระบุด้วยว่ ผุ้หญิงกำลังมบทบาทมากขึ้นในการโจมค ของนักรบจีฮัด โดย" นักรบจีฮัดหญิงในโลกตะวันตก มองว่ามอุปสรรคในการลงมือก่อการร้ายน้อยกว่าผุ้ชาย และการโจมตีทั้งที่ทำสำเร็จและไม่สำเร็จโดยผู้หญิงในประเทศตะวัจตก อาจเป็นแรงบันดาลใจใหกับนักรบจีฮัดคนอื่นๆ ด้วย"
นอกจากนี้ รายงานยับระบุด้วยว่า กรณีการโจมตีส่วนใหญ่เมื่อปีที่ผ่านมา เป็นฝีมือของ "กลุ่มชาติพันธ์ุที่แนวคิดชาตินิยม และกลุ่มแบ่งแยกหัวรุแรง" โดยการโจมตีของกลุ่มหัวรุนแรงแนวความิดซ้ายจัดในปี 2016 เกิดขึ้นรวม 27 ครั้ง ซึ่งเป็นตัวเลขที่เพิ่มขึ้นมาตั้งแต่ปี 2014 และส่วนมากเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอิตาลี...http://www.bbc.com/thai/international-40298809
Organization Crime
ยูโรโพลร่วมมือ 24 ประเทศกวาดล้าง จับอาชญากข้ามชาติ 300 คน (21 ต.ค. 2559)
ยูโรโพลร่วมกัตำรวจนอกสหภาพยุโรปอี 24 ประเทศ ออกปฏิบัติการกวาดล้างเครื่อข่ายอาชญากรรมระหว่างประเทศ ตลอดช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา และจับกุมผุ้ต้องหาไ้อว่า 300 คน กับยึดของกลาวไ้เป็นจำนวนมาก..
สำนักงานตำรวจยุโรป หรือ ยูโรโพล แถลงข่าวว่า กำลังตำรวจจากสมาชิกสหภาพยุโรป 28 ประเทศ และไม่ใช่สมาชิกอีก 24 ประเทศได้ร่วมมือปฏิบัติการกว่าล้างเครือข่ายอาชญากรมระหว่างประเทศ เป็นระยะเวลาหนึ่งสัปดาห์ ตลอด 24 ชั่วโมง สามารถจับกมกาชญากรได้กว่า 300 คน
สำนักงานตำรวจยุโรปหรือยูโรโพลระบุในแถลงการณ์ว่า เป้าหมายของปฏิบัติการในคร้งนี้คือ "ทลายเครือข่ายอาชญกรที่อันตรายที่สุดที่ยังคงดำเนินงานอยู่" ที่เกี่ยวข้องกับการลักลอบเ้าเมืองโดยผิดกฎหมาย ขบวนการคามนุษย์ ยาเสพติด และอาชญากรรมทางอินเตอร์เน็ต โยพวกเขาสามารถช่วยเหลือเหยื่อขบวนการค้ามนุษย์ำนวน 529 คนที่ถูกควบคุมอยุ่ซ่องโสเภณีหรือร้านนวด รวมทั้งจับกุมอาชญากรได้จำนวน 314 คน และยึดโคเคนอีกจำนวน 2.4 ตัน
ปฏิบัติการครั้งนี้ เป็นการประสานงานความร่วมมือจาสำนักงานใหญ่ของยูโรโพลที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ภายใต้ชื่อว่า "Ciconia Alba" เป็นการหวาดล่างอาชญากรที่มีการก่อเหตุเชื่อโยงกันภายในสหภาพยุโรป 28 ประเทศรวมทั้งประเทศที่ไม่ได้เป็นสมชิกอียูอีก 24 ประเทศ
การบุกเข้าตรวจค้นในย่านเป้าหมายเช่น พื้นที่กลางคือ ย่านโสเภณี ร้านนวด และอพาร์ทเมนต์ รวมทั้งสนามบินและศูนย์ต้อนรับผุ้ลีภัย ในบรรดาเครือขายการลักลอบค้านนุษย์ที่จับกุมได้ส่วนใหญ่มีสัญชาติไนจีเรีย เอเชีย และยุโปตะวันออกเป็นส่วนใหย มการตรวจค้นคทั่วไปจำนวน 540,000 คน รถยนต์จำนวนมากที่่ถูกตรวจค้และตรวจสอบรายละเอียดอื่นๆ สามารถยึดเงินสดได้จำนวน 181,500 ยูโร
นอกจากนี้ยังมีการตรวจจับบิรษัทนำเที่ยวเถือนในประเทศกรีซ มีผุ้ลี้ภัยถูกควบคุมตัวจำนวน 745 คน เป็นปฏิบัติการร่วมระหว่าง ตำรวจสงเกตุการณ์พรมแดนยถธรป สำนักงาตำรวจยุโรป สำนักงานความร่วมือด้านยุติธรรมยุโรป
ปฏิบัติการในครั้งนี้ ยังมีเป้าหมายตรวจจับการใช้บัตรเครดิตผิดกฎหมายด้วย สามารถจับกุมผู้ต้องหาจำนวน 140 คนที่มตั๋วเครื่องบินที่ซื้อโดยใช้บัตรเคดิตที่ถูกโขมย ในประเทศออสเตรียตรวจค้นบ้านหลังหนึ่งท่ลักลอบปลูก้นกัญชาในบ้านที่เป็นซ่องลับ
นายร๊อบ เวนไรท์ ผุ้อำนายการยุโรโพลกล่าวว่า "ประเทศที่เข้าร่วมปฏิบัติการทุกประเทศ รวมทั้งองค์การที่เกี่ยวข้องให้ความวมมือทำงานเหมือนเป็นหน่วยงารเดียว เป้ฯการตอบโต้เครือข่ายอาชญากรมไร้พรมแดนที่ก้าวล้ำนำสมัย..
https://www.thairath.co.th/content/760117
Drugs
ตร.ยุโรป ประสานงาน ตร. ต่างชาติ ยึดโคเคนมหาศาล หนักรวม 3 ตัน ( 18 ต.ค. 2558)
ตำรวจยุโรป ประสานความร่วมมือกับตำรวจหลาประเทศ บุกยึดโคเคนน้ำหนักรวมถึง 3 ตัน รวบผุ้ต้องหาเครือข่ายค้ายาเสพติดได้เกือบ 200 คน
สำนักงานตำรวจยุโรปหรือ ยูโรโพล แถลงข่วเมื่อวันศุกร์ที่ 16 ต.ค. 58 สามารถยึดโคเคนมหาศาลน้ำหนักรวมถึง 3 ตัน รวมทั้ง จับกุมผุ้ต้องหาเกี่ยวข้องคดีค้ายาเสพติดจำนวน 179 คน หลังจากยูโรโพล หรือตำรวจยุโรป ได้มีการประสาวมร่วมมือระหว่างหน่ยานตำรวจหลายประเทศได้แก่ สำนักงาานตำรวจยุดรป ออสเตรเลีย โคลัมเบีย และอเมริกา
แผนปฏิบัติการดังกล่าวใช้ชือว่า บลูอัมเบอร์ มเจ้าหน้าที่เข้าวมการปฏิบติการในครั้งนี้จากประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป 28 ประเทศ รวมทั้งจากประเทศ อัลลาเนีย ออสเตรเลีย บอสเนีย ดคลัมเบีย มาซิโดเนีย ไอซืแล้นด์ มอนเตนิโกร นอร์เวย์ เซอร์เบีย สวิสเซอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริกา ที่ได้ประสานงานตามแผนปฏิบัติการดังกล่าว
สำรักงานตำรวจนุโร-้แถลงขวที่สำนักงานหญ่ตังอยู่ทีรกรุงเฮก ระุว่ เป้าหมายของแผนบลู อัเบอ์ คือการทำลายขบนการผิดกฎหมายในบรรดากลุ่มผุ้ลักลอบหลบหรเข้าเมืองผิดกฎหมาย ขวบนการ้ายาเสพติด อาวุธปืน และรถยนต์
นอกเหนือจากโคดเคนท่ยึเป็ของกลาวได้แล้ว ยังมียาเสพติดสังคเราห์ จำนวน 250 กิโลกรัม รถยนต์อีกจำนวน 74 คัน ในออสเตรเลียมีการตรวจพบยาเสพติดประเภท MDMA หรือที่รู้จักกันดีว่ "เอ็กซ์ตาซี" หรือยาอี ซุกซอนในขวดส่งจากประเทศเนเธอร์แลนด์..https://www.thairath.co.th/content/533056
ยูโรโพลเร่งล่าคนร้ายเรียกค่าไถ่ไซเบอร์ ยูโรโพลออกปฏิบัติการไล่ล่าผุ้อยู่เบื้องหลังเหตุโจมตีทางไซเบอร์ด้วยการปล่อยมัลแวร์เรียกค่าไถ่บนคอมพิวเตอร์ขององค์กรและประชาชนในพื้นที่กว่า 100 ประเทศทั่วโลก
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า (14 พ.ค. 60) องค์การตำรวนจุโรปหรือ ยูโรโพลได้ออกปฏิบัติการไล่ล่ผุ้อยู่เบื้องหลังเหตุโจมตีทางไซเบอร์ด้วยการปล่อยมลแวร์เรียกค่าไถ่ "แรนเซิมเแวร์" ที่รูจักกันในชื่อ "วอนนาคาย" หรือ "อยางจะร้องไห้" บนคอมพิวเตอร์ขององค์กรและประชาชนในพื้นที่กว่า ร้อยประเทศท่วโลก รวมถึงะนาคาร, โรงพยาบาลและสถานที่ราชการ เพื่อเรียกเงินบิตคอยคิดเป็นูลค่า 300 ดอลลาร์สหรฐ หรือกว่า 10,000 บาท โดยปฏิบัติการโจมตีทางไซเบอร์ดังกล่าว เร่ิมต้นขึ้นตั้งแต่วันที่ 12 พ.ค. ที่ผ่านมาและโจมตีไซเบอร์เรียกค่าไถ่ครั้งใหญ่ที่สุด โดยโจมตีตั้งแต่หน่วยงานภาครัฐไปจนถึงบริษัทยักษ์ใหญ่ทั่โลกทั้งธนาคารรัสเซียและโรงพยาบาลในอังกฤษและอินโดนีเซีย ไปจนถึงบริษัทบริการขนส่งสินค้าเฟ็ดเอ็กซ์และโรงงานลิรถยนนต์ในยุโรป
ขณะที่ยูโรโพลเปิดเผยว่ เหตุดจมตีไซเบอร์คร้งนี้เป็นเหตุโจมตีในระดับที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนและจะต้องีกรสืบสวนระดับระหว่างประเทศเพื่อหาตัวคนร้าย ยูโรโพลจึงได้ตั้งหน่วยเฉพาะกิจที่ศูนย์ปราบปรามอาชญากรรมไซเอบร์ยุโรปเพื่อเป็นตัวหลักในการสนับสนุนการสอบสวนเรื่องที่เกิดข้น ดดยแฮ็คเกอร์ไ้ใช้โปรแกรมเรียกค่าไถ่ล่วงล้ำระบบปฏิบัติากรไ่โครซอฟต์เพื่อแสวงหาประดยชน์ส่นตนและล็อคไฟล์ข้อูลผุ้ใช้งานเพื่อเรียกเงินค่าไถ่ โดยเหยื่อจะต้องจายเงินบิตคอยให้กับแฮ็คเกอร์ภายนเวลา 3 วันเพื่อปลดล็อคไม่เช่นนั้นราคาค่าไถ่จะเพิ่มขึ้นป็น 2 เท่าตัว และหากไม่จ่ายเงินภายในเวลา 7 วัน คนร้ายจะจัดการลบไฟล์ทั้งหมดทิ้ง แต่ผู้เชี่ยชาญและรัฐบาลเตือนว่า การจ่ายเงินถ่าไถ่ไม่ได้รับประกันว่าคนร้ายจะปลดล็อคไฟล์ให โดยเจ้าหน้าที่ทีมรบือเหตุฉุกเฉินเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ของกระทรวงความมั่นคงแห่งาตุภูมิสหรัฐระบุ่ คนร้ายประสงค์ต่อทรัพย์สินเหยือและบางกรณีเป้นข้อมูลธนาคาร https://today.line.me/th/pc/article/%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%96%E0%B9%88%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C-21c4e9599cd3adca5b61bed36cdcdb0d86b089e02733cc780438592def18dc8d
Terrorism
ยูโรโพลแถลงตัเลขจับกุมแนวร่วมกลุ่มจีฮัดเพืมขึ้น
สำนักงานตำรวจสหภาพยุโรป หรือยูโรโพล เปิดเผยรายงานสถานการณ์และแวโน้มการกอการร้ายในยุโรปประจำปี ชีว่ จำนวนผุ้ถูกจับกุมฐานต้องสงสัยว่าเกี่ยวข้องกับกลุ่มก่อารร้ายอิสลามในยุโรป เพิ่มขึ้นต่ิดต่อกันเป็นปีที่ 3
ยูโรโพล แถลงตัวเลขล่าสุดว่ มีการจับกุมผุ้ต้องสงสัยว่าเป็นนักบจีฮัดก่อการร้าย 718 คน เพิมขึ้นจากตัวเลข 687 คน ในปี 2016 และ 395 คน ในปี 2014 อย่างไรก็ตาม จำนวนการโจมตีโดยนักรบจีฮัดกลับลดลง จาก 17 ครั้งในปี 2015 เป็น 13 ครั้งในปี 2016 ซึงในจำนวนนี้มี ุ ครั้ง ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มที่เรียกตัวเองว่ารัฐอิสลามหรือ ไอเอส
รายงานยังระบุด้วยว่า ความรุนแรงที่เพ่มิขึ้นมาจากกลุ่มขวาัด ก็เพ่ิมขึ้นเช่นกกัน
ส่วนเมื่อปี 2016 มี "การโจมตีที่ล้มเหลว ถูกสกัดกั้น และลงมือได้สำเร็จ" รวม 142 ครั้งที่ไดรับรายงานจาก 8 ชาติสมาชิก ซึ่งรวมถึงการโจมตีดดยนักรบจีฮัด กลุ่มชาตินิยมสุดโต่ง และกลุ่มอื่นๆ นอกจากนี้ ยังมีผุ้เสียชีวิตรวม 142 คนจากการก่อการร้าย และบาดเจบ 379 คน ซึ่งสาเหตุของการเียชีวิตเกือบทั้งหมดและกรบาดเจ็บส่วนใหญ่เกิดจากนักรบจีฮัด
นายจูเลี่ยน คิง ผุ้บัญชาการสำนักงานความมั่คงอียู กล่าวว่า ตัวเลขนี้ เน้นย้ำถึงความจำเป็นที่จะต้องมีความร่วมือในการแบ่งปันข้อมูลข่าวกรองที่ใกล้ชิดขึ้น โดยกล่าวว่า "ผู้ก่อการร้าย ไม่เคารพหรือสนใจเรื่องพรแดน"
รายงานความยาว 62 หน้านี้ ยังระบุด้วยว่ ผุ้หญิงกำลังมบทบาทมากขึ้นในการโจมค ของนักรบจีฮัด โดย" นักรบจีฮัดหญิงในโลกตะวันตก มองว่ามอุปสรรคในการลงมือก่อการร้ายน้อยกว่าผุ้ชาย และการโจมตีทั้งที่ทำสำเร็จและไม่สำเร็จโดยผู้หญิงในประเทศตะวัจตก อาจเป็นแรงบันดาลใจใหกับนักรบจีฮัดคนอื่นๆ ด้วย"
นอกจากนี้ รายงานยับระบุด้วยว่า กรณีการโจมตีส่วนใหญ่เมื่อปีที่ผ่านมา เป็นฝีมือของ "กลุ่มชาติพันธ์ุที่แนวคิดชาตินิยม และกลุ่มแบ่งแยกหัวรุแรง" โดยการโจมตีของกลุ่มหัวรุนแรงแนวความิดซ้ายจัดในปี 2016 เกิดขึ้นรวม 27 ครั้ง ซึ่งเป็นตัวเลขที่เพิ่มขึ้นมาตั้งแต่ปี 2014 และส่วนมากเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอิตาลี...http://www.bbc.com/thai/international-40298809
Organization Crime
ยูโรโพลร่วมมือ 24 ประเทศกวาดล้าง จับอาชญากข้ามชาติ 300 คน (21 ต.ค. 2559)
ยูโรโพลร่วมกัตำรวจนอกสหภาพยุโรปอี 24 ประเทศ ออกปฏิบัติการกวาดล้างเครื่อข่ายอาชญากรรมระหว่างประเทศ ตลอดช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา และจับกุมผุ้ต้องหาไ้อว่า 300 คน กับยึดของกลาวไ้เป็นจำนวนมาก..
สำนักงานตำรวจยุโรป หรือ ยูโรโพล แถลงข่าวว่า กำลังตำรวจจากสมาชิกสหภาพยุโรป 28 ประเทศ และไม่ใช่สมาชิกอีก 24 ประเทศได้ร่วมมือปฏิบัติการกว่าล้างเครือข่ายอาชญากรมระหว่างประเทศ เป็นระยะเวลาหนึ่งสัปดาห์ ตลอด 24 ชั่วโมง สามารถจับกมกาชญากรได้กว่า 300 คน
สำนักงานตำรวจยุโรปหรือยูโรโพลระบุในแถลงการณ์ว่า เป้าหมายของปฏิบัติการในคร้งนี้คือ "ทลายเครือข่ายอาชญกรที่อันตรายที่สุดที่ยังคงดำเนินงานอยู่" ที่เกี่ยวข้องกับการลักลอบเ้าเมืองโดยผิดกฎหมาย ขบวนการคามนุษย์ ยาเสพติด และอาชญากรรมทางอินเตอร์เน็ต โยพวกเขาสามารถช่วยเหลือเหยื่อขบวนการค้ามนุษย์ำนวน 529 คนที่ถูกควบคุมอยุ่ซ่องโสเภณีหรือร้านนวด รวมทั้งจับกุมอาชญากรได้จำนวน 314 คน และยึดโคเคนอีกจำนวน 2.4 ตัน
ปฏิบัติการครั้งนี้ เป็นการประสานงานความร่วมมือจาสำนักงานใหญ่ของยูโรโพลที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ภายใต้ชื่อว่า "Ciconia Alba" เป็นการหวาดล่างอาชญากรที่มีการก่อเหตุเชื่อโยงกันภายในสหภาพยุโรป 28 ประเทศรวมทั้งประเทศที่ไม่ได้เป็นสมชิกอียูอีก 24 ประเทศ
การบุกเข้าตรวจค้นในย่านเป้าหมายเช่น พื้นที่กลางคือ ย่านโสเภณี ร้านนวด และอพาร์ทเมนต์ รวมทั้งสนามบินและศูนย์ต้อนรับผุ้ลีภัย ในบรรดาเครือขายการลักลอบค้านนุษย์ที่จับกุมได้ส่วนใหญ่มีสัญชาติไนจีเรีย เอเชีย และยุโปตะวันออกเป็นส่วนใหย มการตรวจค้นคทั่วไปจำนวน 540,000 คน รถยนต์จำนวนมากที่่ถูกตรวจค้และตรวจสอบรายละเอียดอื่นๆ สามารถยึดเงินสดได้จำนวน 181,500 ยูโร
นอกจากนี้ยังมีการตรวจจับบิรษัทนำเที่ยวเถือนในประเทศกรีซ มีผุ้ลี้ภัยถูกควบคุมตัวจำนวน 745 คน เป็นปฏิบัติการร่วมระหว่าง ตำรวจสงเกตุการณ์พรมแดนยถธรป สำนักงาตำรวจยุโรป สำนักงานความร่วมือด้านยุติธรรมยุโรป
ปฏิบัติการในครั้งนี้ ยังมีเป้าหมายตรวจจับการใช้บัตรเครดิตผิดกฎหมายด้วย สามารถจับกุมผู้ต้องหาจำนวน 140 คนที่มตั๋วเครื่องบินที่ซื้อโดยใช้บัตรเคดิตที่ถูกโขมย ในประเทศออสเตรียตรวจค้นบ้านหลังหนึ่งท่ลักลอบปลูก้นกัญชาในบ้านที่เป็นซ่องลับ
นายร๊อบ เวนไรท์ ผุ้อำนายการยุโรโพลกล่าวว่า "ประเทศที่เข้าร่วมปฏิบัติการทุกประเทศ รวมทั้งองค์การที่เกี่ยวข้องให้ความวมมือทำงานเหมือนเป็นหน่วยงารเดียว เป้ฯการตอบโต้เครือข่ายอาชญากรมไร้พรมแดนที่ก้าวล้ำนำสมัย..
https://www.thairath.co.th/content/760117
Drugs
ตร.ยุโรป ประสานงาน ตร. ต่างชาติ ยึดโคเคนมหาศาล หนักรวม 3 ตัน ( 18 ต.ค. 2558)
ตำรวจยุโรป ประสานความร่วมมือกับตำรวจหลาประเทศ บุกยึดโคเคนน้ำหนักรวมถึง 3 ตัน รวบผุ้ต้องหาเครือข่ายค้ายาเสพติดได้เกือบ 200 คน
สำนักงานตำรวจยุโรปหรือ ยูโรโพล แถลงข่วเมื่อวันศุกร์ที่ 16 ต.ค. 58 สามารถยึดโคเคนมหาศาลน้ำหนักรวมถึง 3 ตัน รวมทั้ง จับกุมผุ้ต้องหาเกี่ยวข้องคดีค้ายาเสพติดจำนวน 179 คน หลังจากยูโรโพล หรือตำรวจยุโรป ได้มีการประสาวมร่วมมือระหว่างหน่ยานตำรวจหลายประเทศได้แก่ สำนักงาานตำรวจยุดรป ออสเตรเลีย โคลัมเบีย และอเมริกา
แผนปฏิบัติการดังกล่าวใช้ชือว่า บลูอัมเบอร์ มเจ้าหน้าที่เข้าวมการปฏิบติการในครั้งนี้จากประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป 28 ประเทศ รวมทั้งจากประเทศ อัลลาเนีย ออสเตรเลีย บอสเนีย ดคลัมเบีย มาซิโดเนีย ไอซืแล้นด์ มอนเตนิโกร นอร์เวย์ เซอร์เบีย สวิสเซอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริกา ที่ได้ประสานงานตามแผนปฏิบัติการดังกล่าว
สำรักงานตำรวจนุโร-้แถลงขวที่สำนักงานหญ่ตังอยู่ทีรกรุงเฮก ระุว่ เป้าหมายของแผนบลู อัเบอ์ คือการทำลายขบนการผิดกฎหมายในบรรดากลุ่มผุ้ลักลอบหลบหรเข้าเมืองผิดกฎหมาย ขวบนการ้ายาเสพติด อาวุธปืน และรถยนต์
นอกเหนือจากโคดเคนท่ยึเป็ของกลาวได้แล้ว ยังมียาเสพติดสังคเราห์ จำนวน 250 กิโลกรัม รถยนต์อีกจำนวน 74 คัน ในออสเตรเลียมีการตรวจพบยาเสพติดประเภท MDMA หรือที่รู้จักกันดีว่ "เอ็กซ์ตาซี" หรือยาอี ซุกซอนในขวดส่งจากประเทศเนเธอร์แลนด์..https://www.thairath.co.th/content/533056
วันอาทิตย์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
Migrant workers
ประธานาธิบดีเอ็มานูเอล มาครง แห่งฝรั่งเศสเตือว่า สหภาพยูโรปมีควมเส่ยงจะแตกแขกกันหากไม่มีการปฏิรูปกฎเหณฑ์ทีมีต้อแรงงานข้ามชติ โดยเขากล่าวในระหว่าการเยื่อนโมาเนีย ซึ่งเปฯหน่งในอดีประเทศคอมิวนิสต์ที่มี่าแรงและสวัสดิการสังคมต่ำ ส่งผลให้แรงงานชาวดรมาเนียถูกจ้างำงานรายวัในราคาถูเป็นจำวนมากในฝรั่งเสส และประเทศท่รำ่รวกว่าในยุโรป
ประโานาธิบดีมาครงกล่าว่า ไางวงรอบของละธุรกิจในอียูพยายามส่งเสริมการทุมตลาดทางสังคฒและวบประมาณ" ผุ้นำฝรั่งเศสต้องการใหมีการปฏิรูปกฎเกณฑ์ให้หว้างข้ร เนื่องากปีนี้ล้มเหลวที่จะทำ เขาสัญญากับผู้ใช้สิทะิ์ละคะแจนนในการเลือกตั้งฝรั่งเศสว่า เขาจะต้องสู้กับการทุมตลาดทางสงคในอียู
โดยการเลือคนทำงานจากประเทศที่มี่าแรงต่ำในยุโรปกลางและยโรปตะวันออก บางบัริษทเลี่ยงที่จะจ่ายเงนิหใ้กับประกันสุขภาพและสวัสดการสังคมของแรงงาน ธรุกิก่อสร้างเป้ฯส่งิที่ควรให้ความสำัญกับคำร้องเรียจากการนำเข้าแรงงานอียูเขามาทำงานในฝรั่งเศส
ฝรังเศสได้กดดันมายาวนาให้มีการปฏิรุปทิสทางการเคลือย้ายแรงงานเสรี ซ่ึ่งอนุยาตให้บริาัทส่งแรงงานราคาถุกว่าไปงประเทศในอียู และรักษาเงือนไขการจ้างงานที่มอยู่ ไม่ใช่เฉพาะประเทศทต่างเง่าเทานั้นกดดันมาาวนานให้มีการปฏิรูปทิสทางภาคเคื่อน้ายแรงงานเสรี ซึ่งอนุาตให้บริษัส่แรงงานราคะถูกว่าไปยังประเทศในอียู และรักเาษเงื่อนไขการจ้งงานที่มอยุ่ ไม่ใช้เฉพาะประเทศที่จ้างงงานเท่าน้้น
ในปี 2558 มีแรงงานที่ทำงานในประเทอื่นในอียู 2.05 ล้าคน โยจำนวนเพ่ิมข้นถึง 41.3% เมื่อเทียบกบปี 2553 โดยหนงในเป้าหมายของมารคือลดำนวนคนว่างงานในฝรั่งเสส ซึ่งสูงถึง 9.6% ในเดือน มิ.ย. ขณะที่อดคู่แข่งลงสมัรรับเลื่อตงชิงตำแหน่งประะานาะิบดีอย่างมารีน เอล เปนกล่าหาอียูที่มเงือนไขท่ไม่เป็นธรรมกับความสามารถในการแข่งั และกับความเสียหายของแรงงานฝรั่งเศส
นายกรัฐมนตรีโปแลนด์เตือนว่า เราจะไม่เปลี่ยแนแปลงจุดยืนของเรา เราจะปกป้องสถานะของเราใหถงที่สุด เพราะเป็นส่ิงที่ดีท่สุดสำหรับแรงงานโปแลนด์"
ผู้นำฝรั่งเศสเดินทสายเยือนยุโรปโดยมีเป้าหมายเืพ่อให้ปลประเทศสรับสนุนการปฏิรูปแรงงาน แต่โปแลนด์และฮังการีคลางแคลงใจนะยบายการกีดกันแรงงาน พวกเขาลัวว่า กรปฏิรูปจะเป็นย่อนำลายเสรีภาพของแรงงา โดยฝรั่งเศสต้องการให้แรงงานสามารถทำงานในต่างป่ะเทศได้สูงสุด 12 เดือนอการจ้างานหนึ่งคร้้ง..http://www.aec10news.com/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7/%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8/item/7990-%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4
ดุลยภาพดุลยพินิจ : สภาแรงงานยุโรป ต้นแบบ เรงงนสัมพนะ์ข้ามชาติ
สภาแรงงานยุโรป (EWC) เป็นองค์กรที่เป้นตัวแทนของลูกจ้างของบริษัทข้ามชาติยุโรปแต่ละแห่งท่ต้งขึ้นตามคำสงของ อียู เพื่อเป็นองค์กรที่ลูกจ้างจะได้รับขอ้มุลข่าวสรและการปรึกษาหารือจากสำนักงานใญ่เกี่ยวกับความก้าวหน้าและการตัดสินใจทีสำัญๆ ในระดบข้ามชติของบริษัทที่จะมีผลกระทบถึงลูกจ้าง
แนวคิดเรื่อง EWC เร่ิมมีตั้งแต่ช่วงปี 2513 แตยัไเข้าที่เข้าทางจนกระังสิบปีหลังจกั้นที่เร่ิกีการบุรณาการประเทศในยุโรปและแนวคิดการมีตลาดเดียว และในปี 2528 จึงมีโครงการนำร่อง EWC โดยบริฒัทฝรั่งเศสชื่อ ทอมป์สนอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งลูกจ้าประสบความสำเร็ในการเรียกร้องให้มีการเปิดผยข้อมุลบริฒัทข้ามชาติลแะการปรึกษาหารือหรือฟังความเห็นของฝ่ายลูกจ้าง โดยขณะเดียวกันก็มีผู้แทนลูกจ้างใน EWC โดยการสนับสนุนจากสหภาพแรงงสนพยยมติดต่อสื่อสารข้ามชาติกับแรงงาของบริฒัทสาขาที่อยู่ในอีกประเทศหนึ่งอันเป็นปฏิกริยาต่อบริษัทข้ามชาติ และการแข่งขันลงทุและการเลื่อท่ต้งบริษทที่ทำให้แรงงานในประเทศปลายทางรู้สึกว่ามาตรฐนทางสังคมของตนได้รับความกดดัน
และเห็นว่าการสร้างเค้ีอข่ายข้ามชาติของแรงงานในบิฒัทขามชาตินับเป็นเรื่งอที่ดีสำหรับการระดมพลังควาสามัคคีระหว่างประเทศของสหภาพแรงงาน ในระยะยแรกๆ ของการประชุ EWC ยังไม่มีตัวแทนของฝายบริหารเข้าร่วมเพราะยังรู้สึกตอต้านอยู่
EWC ในยุคแรกก่อตั้งโดยความสมัครใจและไม่มกฎหมายรองรับจนกระทั้งวันที่ 22 กันยายน 2537 สภารัฐนตรี EU ลวมติรับคำสั้ง EWC 1994 ..ลงวันที่ 22 กันยายน 2537 และบังคับใช้ 2 ปี ต่อมา ทั้งนี้ EU ไม่ได้ออกกฎ กติกา มารยาทใดเป็นพิเศษ แต่ใช้วิธีการที่เรียกว่า การแก้ปัญหาโซโลมอน คือเมื่อมีปัญหาก้ให้บริษัทเจรจากับสภาแรงงานเอง
การจัดตั้ง EWC โดยความสมัครใจเป็นไปคอข้งช้า แต่ในปี 2539 เพื่อพรวดอี 402 แห่ง จากเดิม 130 แห่ง ต่อมานนก็ค่อยๆ เพ่ิมอยางช้าๆ จนเป็น 1,480 แห่ง ในปี 2560 ทั้นี้ ในปี 2552 อียู มีการออกคำสั่งใหม่ ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบและกฎ กติกาของ EWC ให้มีประสิทธิภาพและทันส่มัยขึ้น เช่นแต่เดิม การก่อตั้ง EWC เป็นไปโดยควมสมัครใจและจะทำได้เฉพาะในบริษัทที่จ้างแรงงานอย่างน้อย 1,000 นทั่วยุโรป และอย่างน้อยประเศละ 150 คนใน 2 ประเทศ ใน EU (ซึ่งขณะนั้นมีบริาัที่เข้าข่ายประมาณ 2 พันแห่ง และในปี 2004 มีบริษัท 7 ร้อยกว่าแห่งจัดต้ง แต่คำสังใหม่(2552) นั่นคือว่าการตั้ง EWCเป็ฯสิทธิของลูกจ้างบริฒัทข้ามชาติใน EU ที่มีคุณสมบัติ และเป็นภาคบังคับสำหรับบริัทุกปก่งที่เป็นสมาชิก EU
ปัจจุบันการจัดตั้ง EWC จะเริ่มจากการ (บังคับ) ให้ฝ่านายจ้างทั้งที่สำรักงานใหญ๋และประเทศปลายทงให้ข้อมูลแก่ฝ่ายแรงงารเรื่องการเจรจาจัดตั้ง EWC ขั้นต่อมาจึงให้แต่างต้ังคณะผุ้เจรจาพิเศษ เป็นผู้แทนของลูกจ้าเพื่อสรุปข้อตกลงในการจัดต้้ง EWC โดยมีผูแทนลูกจ้างในบิฒัทลุกใฃใประเทศปลายทางอยละ 10 ของจำนวนลูกจ้างท้งหมดของบริษัทต่อผู้แทนลูกจ้าง 1 คน รมทั้งส้ิไม่น้อยกว่า 10 คน คณะผู้เจรจาพิเศษสามารถประชุมก่อหนหรือหลังการพบกับตัวแทนรายจ้างได้ และเพื่อให้การเจรจาก่อตั้งเป้นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คณะผุ้เจราพิเศษต้องแจ้งให้สหภาพแรงงานยุดรปที่ีความสามารถและองค์กรนายจงในยุโรปถึงกำหนดในการเจรจาเพื่อให้หุ้นส่วนสังคมดังกล่าวีส่วนช่วยในการจัดตั้งและส่งเสริมการทำงานอย่างดีที่สุด สหภาพแรงงานนับเป็นผู้เชี่ยวชาญที่คณะผู้เจราสามารถของความช่วยเหลือในการเจรจาได้
คณะผู้เจรจาพิเศษจะเป็ฯผุ้กำหนดวิธีการแห้ปัญหาแรงงาสัมพันธ์ให้เป็นไปตามโครงสร้างของสภาแรงงาที่จัดตั้ง รวมทังรยละเอียดสิทธิของแรงงานตามท่ได้เจรจากันและสอดคล้องกับเจตนารมร์ของบริษัใน ระดับ อียู โดยทั่วไปจะไม่มกฎระเบียบมากนักเมือเทียวกับกำหมายระดับประเทศใน อียู
เป็นที่น่าสังเกตว่า EWC อาจตั้งอยุ่ในประเทศที่ไม่ได้เป็นสมาิก อียุ ด้ย เช่นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น แคาดา และเกาหลีใต้
วัตถุประสงค์พื้นฐานของ EWC คือเพื่อปรับปรุงสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลและการปรึกษาหารือของลูกจ้างของธุรกิจข้ามชาติในประชาคมยุโรปและการจัดตั้งEWC ก็เพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าว...https://www.matichon.co.th/news/596635
ประโานาธิบดีมาครงกล่าว่า ไางวงรอบของละธุรกิจในอียูพยายามส่งเสริมการทุมตลาดทางสังคฒและวบประมาณ" ผุ้นำฝรั่งเศสต้องการใหมีการปฏิรูปกฎเกณฑ์ให้หว้างข้ร เนื่องากปีนี้ล้มเหลวที่จะทำ เขาสัญญากับผู้ใช้สิทะิ์ละคะแจนนในการเลือกตั้งฝรั่งเศสว่า เขาจะต้องสู้กับการทุมตลาดทางสงคในอียู
โดยการเลือคนทำงานจากประเทศที่มี่าแรงต่ำในยุโรปกลางและยโรปตะวันออก บางบัริษทเลี่ยงที่จะจ่ายเงนิหใ้กับประกันสุขภาพและสวัสดการสังคมของแรงงาน ธรุกิก่อสร้างเป้ฯส่งิที่ควรให้ความสำัญกับคำร้องเรียจากการนำเข้าแรงงานอียูเขามาทำงานในฝรั่งเศส
ฝรังเศสได้กดดันมายาวนาให้มีการปฏิรุปทิสทางการเคลือย้ายแรงงานเสรี ซ่ึ่งอนุยาตให้บริาัทส่งแรงงานราคาถุกว่าไปงประเทศในอียู และรักษาเงือนไขการจ้างงานที่มอยู่ ไม่ใช่เฉพาะประเทศทต่างเง่าเทานั้นกดดันมาาวนานให้มีการปฏิรูปทิสทางภาคเคื่อน้ายแรงงานเสรี ซึ่งอนุาตให้บริษัส่แรงงานราคะถูกว่าไปยังประเทศในอียู และรักเาษเงื่อนไขการจ้งงานที่มอยุ่ ไม่ใช้เฉพาะประเทศที่จ้างงงานเท่าน้้น
ในปี 2558 มีแรงงานที่ทำงานในประเทอื่นในอียู 2.05 ล้าคน โยจำนวนเพ่ิมข้นถึง 41.3% เมื่อเทียบกบปี 2553 โดยหนงในเป้าหมายของมารคือลดำนวนคนว่างงานในฝรั่งเสส ซึ่งสูงถึง 9.6% ในเดือน มิ.ย. ขณะที่อดคู่แข่งลงสมัรรับเลื่อตงชิงตำแหน่งประะานาะิบดีอย่างมารีน เอล เปนกล่าหาอียูที่มเงือนไขท่ไม่เป็นธรรมกับความสามารถในการแข่งั และกับความเสียหายของแรงงานฝรั่งเศส
นายกรัฐมนตรีโปแลนด์เตือนว่า เราจะไม่เปลี่ยแนแปลงจุดยืนของเรา เราจะปกป้องสถานะของเราใหถงที่สุด เพราะเป็นส่ิงที่ดีท่สุดสำหรับแรงงานโปแลนด์"
ผู้นำฝรั่งเศสเดินทสายเยือนยุโรปโดยมีเป้าหมายเืพ่อให้ปลประเทศสรับสนุนการปฏิรูปแรงงาน แต่โปแลนด์และฮังการีคลางแคลงใจนะยบายการกีดกันแรงงาน พวกเขาลัวว่า กรปฏิรูปจะเป็นย่อนำลายเสรีภาพของแรงงา โดยฝรั่งเศสต้องการให้แรงงานสามารถทำงานในต่างป่ะเทศได้สูงสุด 12 เดือนอการจ้างานหนึ่งคร้้ง..http://www.aec10news.com/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7/%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8/item/7990-%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4
ดุลยภาพดุลยพินิจ : สภาแรงงานยุโรป ต้นแบบ เรงงนสัมพนะ์ข้ามชาติ
สภาแรงงานยุโรป (EWC) เป็นองค์กรที่เป้นตัวแทนของลูกจ้างของบริษัทข้ามชาติยุโรปแต่ละแห่งท่ต้งขึ้นตามคำสงของ อียู เพื่อเป็นองค์กรที่ลูกจ้างจะได้รับขอ้มุลข่าวสรและการปรึกษาหารือจากสำนักงานใญ่เกี่ยวกับความก้าวหน้าและการตัดสินใจทีสำัญๆ ในระดบข้ามชติของบริษัทที่จะมีผลกระทบถึงลูกจ้าง
แนวคิดเรื่อง EWC เร่ิมมีตั้งแต่ช่วงปี 2513 แตยัไเข้าที่เข้าทางจนกระังสิบปีหลังจกั้นที่เร่ิกีการบุรณาการประเทศในยุโรปและแนวคิดการมีตลาดเดียว และในปี 2528 จึงมีโครงการนำร่อง EWC โดยบริฒัทฝรั่งเศสชื่อ ทอมป์สนอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งลูกจ้าประสบความสำเร็ในการเรียกร้องให้มีการเปิดผยข้อมุลบริฒัทข้ามชาติลแะการปรึกษาหารือหรือฟังความเห็นของฝ่ายลูกจ้าง โดยขณะเดียวกันก็มีผู้แทนลูกจ้างใน EWC โดยการสนับสนุนจากสหภาพแรงงสนพยยมติดต่อสื่อสารข้ามชาติกับแรงงาของบริฒัทสาขาที่อยู่ในอีกประเทศหนึ่งอันเป็นปฏิกริยาต่อบริษัทข้ามชาติ และการแข่งขันลงทุและการเลื่อท่ต้งบริษทที่ทำให้แรงงานในประเทศปลายทางรู้สึกว่ามาตรฐนทางสังคมของตนได้รับความกดดัน
และเห็นว่าการสร้างเค้ีอข่ายข้ามชาติของแรงงานในบิฒัทขามชาตินับเป็นเรื่งอที่ดีสำหรับการระดมพลังควาสามัคคีระหว่างประเทศของสหภาพแรงงาน ในระยะยแรกๆ ของการประชุ EWC ยังไม่มีตัวแทนของฝายบริหารเข้าร่วมเพราะยังรู้สึกตอต้านอยู่
EWC ในยุคแรกก่อตั้งโดยความสมัครใจและไม่มกฎหมายรองรับจนกระทั้งวันที่ 22 กันยายน 2537 สภารัฐนตรี EU ลวมติรับคำสั้ง EWC 1994 ..ลงวันที่ 22 กันยายน 2537 และบังคับใช้ 2 ปี ต่อมา ทั้งนี้ EU ไม่ได้ออกกฎ กติกา มารยาทใดเป็นพิเศษ แต่ใช้วิธีการที่เรียกว่า การแก้ปัญหาโซโลมอน คือเมื่อมีปัญหาก้ให้บริษัทเจรจากับสภาแรงงานเอง
การจัดตั้ง EWC โดยความสมัครใจเป็นไปคอข้งช้า แต่ในปี 2539 เพื่อพรวดอี 402 แห่ง จากเดิม 130 แห่ง ต่อมานนก็ค่อยๆ เพ่ิมอยางช้าๆ จนเป็น 1,480 แห่ง ในปี 2560 ทั้นี้ ในปี 2552 อียู มีการออกคำสั่งใหม่ ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบและกฎ กติกาของ EWC ให้มีประสิทธิภาพและทันส่มัยขึ้น เช่นแต่เดิม การก่อตั้ง EWC เป็นไปโดยควมสมัครใจและจะทำได้เฉพาะในบริษัทที่จ้างแรงงานอย่างน้อย 1,000 นทั่วยุโรป และอย่างน้อยประเศละ 150 คนใน 2 ประเทศ ใน EU (ซึ่งขณะนั้นมีบริาัที่เข้าข่ายประมาณ 2 พันแห่ง และในปี 2004 มีบริษัท 7 ร้อยกว่าแห่งจัดต้ง แต่คำสังใหม่(2552) นั่นคือว่าการตั้ง EWCเป็ฯสิทธิของลูกจ้างบริฒัทข้ามชาติใน EU ที่มีคุณสมบัติ และเป็นภาคบังคับสำหรับบริัทุกปก่งที่เป็นสมาชิก EU
ปัจจุบันการจัดตั้ง EWC จะเริ่มจากการ (บังคับ) ให้ฝ่านายจ้างทั้งที่สำรักงานใหญ๋และประเทศปลายทงให้ข้อมูลแก่ฝ่ายแรงงารเรื่องการเจรจาจัดตั้ง EWC ขั้นต่อมาจึงให้แต่างต้ังคณะผุ้เจรจาพิเศษ เป็นผู้แทนของลูกจ้าเพื่อสรุปข้อตกลงในการจัดต้้ง EWC โดยมีผูแทนลูกจ้างในบิฒัทลุกใฃใประเทศปลายทางอยละ 10 ของจำนวนลูกจ้างท้งหมดของบริษัทต่อผู้แทนลูกจ้าง 1 คน รมทั้งส้ิไม่น้อยกว่า 10 คน คณะผู้เจรจาพิเศษสามารถประชุมก่อหนหรือหลังการพบกับตัวแทนรายจ้างได้ และเพื่อให้การเจรจาก่อตั้งเป้นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คณะผุ้เจราพิเศษต้องแจ้งให้สหภาพแรงงานยุดรปที่ีความสามารถและองค์กรนายจงในยุโรปถึงกำหนดในการเจรจาเพื่อให้หุ้นส่วนสังคมดังกล่าวีส่วนช่วยในการจัดตั้งและส่งเสริมการทำงานอย่างดีที่สุด สหภาพแรงงานนับเป็นผู้เชี่ยวชาญที่คณะผู้เจราสามารถของความช่วยเหลือในการเจรจาได้
คณะผู้เจรจาพิเศษจะเป็ฯผุ้กำหนดวิธีการแห้ปัญหาแรงงาสัมพันธ์ให้เป็นไปตามโครงสร้างของสภาแรงงาที่จัดตั้ง รวมทังรยละเอียดสิทธิของแรงงานตามท่ได้เจรจากันและสอดคล้องกับเจตนารมร์ของบริษัใน ระดับ อียู โดยทั่วไปจะไม่มกฎระเบียบมากนักเมือเทียวกับกำหมายระดับประเทศใน อียู
เป็นที่น่าสังเกตว่า EWC อาจตั้งอยุ่ในประเทศที่ไม่ได้เป็นสมาิก อียุ ด้ย เช่นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น แคาดา และเกาหลีใต้
วัตถุประสงค์พื้นฐานของ EWC คือเพื่อปรับปรุงสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลและการปรึกษาหารือของลูกจ้างของธุรกิจข้ามชาติในประชาคมยุโรปและการจัดตั้งEWC ก็เพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าว...https://www.matichon.co.th/news/596635
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...