นักฟุตบอลชื่อดัระดับโลกต่างก็ถูกอบรม ปลุกปั้นโดยสโมสรต่างๆ ที่มีระบบพัฒนาเยาชน และอคาเดมี่ประจำทีม การคัดเลือกแข้งวัยเด็กเข้าสู่ทีมมีหากลยวิธี ทั้งกรคคัดเลือกโดยสโมสรเอง แาระเป็พันธมิตรกับทีมต่างๆ รวมไปถึงการคัดเลือกตามแมวมองของทีม แต่การที่แข้งวัญเยาว์จะประสบควมสำเร็จก็ต้องข้อนอยู่กับ ตัวของพวกเขาเอง รวมไปถึง คุณภาพอะคาเดมีของสโมสรด้วย
5 สโมสรฟุตบอล ที่มีระบบ อะคาเดมี ที่ยอดเยี่ยมและเป็นแมแบบที่ดีในการสร้างผุ้เล่นดาวรุ่ง
- สโมสรเซาแธมป์ตัน เดอะ เซนต์ส นักบุญจากแดนไใต้เร่ิมก่อตั้งสโมสรฟุตบอลภยใใต้ชื่อสมคมโลสถ์ เซนต์ แมรี่ ในปี 1885 และเข้าร่วมลีกดิวิชันสามในปี 1919 ซึ่งเป็นจุดเร่ิมต้นของศูนฝึกเยาชนเช่นกัน ในยุคแรกมี เซาแธมป์ตน แคมบริดจ์ เป็นสถานฝึกสอนแยกต่างหาก ก่อนจะรวมกันใเวลาต่อมา อะคาเดมี ของเซาแธมป์ตัน เป็นที่รุ้จักกันมากในยุคปลายทศวรรษที่ ค0
เซาแธมป์ตัน ป็นทีมที่มีนักเตะลูกหม้อเป็นกำลังหลักมานน ผลผลิตจากเยาวชนถูกวางรากฐนไว้อย่างต่อเนื่องโดยทีมงานทุกชุด ผุ้เล่นเาชนของเซาแธมป์ตัน จะได้รับการดูแลเป็นอยางดี เปรียบเสมือนกับนักเตะชุดใหญ่ และกากล้าให้โอกาสนักเตะดาวรุ่งได้ลงสัผสเกมใหญ่ๆ เพื่อสะสมประสบการณ์พร้อมที่ขึ้นชุดใหญ่ได้ทุกเมื่อ อะคาเดมี เซาแธมปตัน ให้ความสำคัญกับทั้งฟุตบอลในระดับท้องถ่น และทั้งในระดับประเทศ ซึ่งมีศูนยฝึกเยาชนกระจายทั่วเกาะอังกฤษ เซาแธมป์ตัน ขึ้นชื่อในเรื่องของการปั้นนักเตะอยุ่เสมอๆ อาทิ อลัน เชียรเรอร์, แกเร็ธ เบล, ลุค ชอว์, ธีโอ วัลค๊อตต์ และอดัมลัลาน่า
- สโมสรอาแจ็กซื อัมสเตอร์ดัม เดอ ทูคอมสท์ หรือที่แปลว่า อนาคมใน ภาษาอังกฤษ คือ ศูรย์ฝึกเยาชนของ อาเเจ็กซ์ อัมสเตะดัม ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นสถาบันลูกหนังที่ดีที่สุดในโลกแห่งหน่ง จากผลงานการสร้างนักฟุตบอลฝีเท้ายอดเยี่ยมออกมาประดับวงการลูกหนังมากมาย ระบบเยาชนของ อาเจ๊กซ์ ถือกำเนิดมาพร้อมกับการก่อตั้งสโมสรในปี 1900 แต่โด่งดังในช่วงทศวรรษ 70 ที่มี ไรนุส มิเชลล์ ตำนนกุซือชาวดัตช์ เจ้าของแผนการเล่น โททอล ฟุตบอล เป็นผุ้วางรากฐานระบบเยาชนให้ทีม หลังจากที่ได้วาระบบเยาชนที่ดี กเกิดลูกหม้อของ อะคาเดมี อาแจ็กซ์ ขึ้นมาอย่าง โยฮัน ครัฟฟ์ และมาร์โก ฟาน บาสเท่น จึงทำให้หลายๆ สดมสรนำเอาระบบเยาชนมาปรับใช้ ถือได้ว่า อะคาเดมีของอาแจ็กซ์ อัมสเตตอร์ดัม เป็นต้นแบบในการวงระบบให้กับสโมสรอื่นๆ อีกด้วย โดยการปั้นเยาชนขึ้นมาด้วยการสอนปรัชญาฟุตบอลที่เหมือนกัน และดันขึ้นไปเล่นทีมชุดใหญ่ และยังสามารถทำกำไรจากการขายผุู้เล่นเยาชนได้อีกด้วย
อาแจ็กซ์ เปรียบเสมือนโรงงานผลิตเยาชนขึ้นสู่ลอดลูกหนังโลก นักเตะอายุน้อยทีทำผลงานได้ดีจะถูกเลื่อนขึ้นไปเล่นทีมชุดใหญ่ และเป็นที่จับตาของสโสรยักษ์ใหญ่ทั้งหลายโดยตักเตะที่เคยถูกปลุกปั้นมาจาก อะคาเดมี่ ของอาเจ๊กซ์ อาทิ คริสเตียน อิริเซ่น, โธมัส แผร์มาเลน, ดาลีย์ ละ เวสลี่ย์ ชไนเดอร์
- สโมสรอันเดตอร์เลชท์ หลังจากท่เบเี่ยม เข้าสู่ยุคมือ สมาคมฟุตบอลเบลเยียม จึบงวางแผนพัฒนาวงการฟุตบอลขึ้นมาใหม่ โยยเร่ิมจากสโมสรยักษืใหญ่ของประเทศมอในเรื่อง ระบบอะคาเดมี เร่ิมพัฒาจากเยชนขึ้นมาก่อน อันเดอร์เลชท์ จงพัฒนาศูนย์ฝึกเยาชนจากที่ก่อตั้งมาให้ปี 1922 ให้ดียิ่งขึ้น เป้าหมายก็คือการนำ เบลเยียม กลับมาสู่ยุคทองอีกครั้ง ศูนย์ฝึกแห่งนี้ก็ได้ประสบวามสำเร็จเป็นอย่างสุง ได้รับอิทธิพลจากากรื้อระบบใหม่โดย่ายเทคนิคของสมาคมฟุตบอล สนับสนุนให้แข็งแยาชนกระายกันไปเล่นยังลีกที่แข็งแกร่งกว่า 3 ส่วนหลักทั้ง สโมสร ทีมชาติ และโค้ชระดับเยาชน ท้้งหมดจะต้องอยู่ภายใต้นโยบายเดียวกัน นักเตะตั้งแต่ รุ่น 9 ขวบ ขึ้นไปจนถึง ชุดใหญ่ จะต้องเล่นด้วยระบบ 4-3-3 ที่เน้น
ความเร็ว ความยืดหยุ่นสูง ทั้งสามส่วนที่กล่าวมา จะทำงานร่วมกนเพื่อสร้างผุ้เล่นที่มีคุณภาพ และบังคับให้มีจำนวนเกมของผุ้เล่นระดับเยาชนให้เป็นไปตามเกณฑ์ เพื่อเติมประสบการณ์ให้กระดุก เพื่อการพัฒาขึ้นทีมชุดใหญ่โดยเร็ว
จากกาที่นักมาพัฒนาระบบ อะคาเดมี่ อย่างจริงจัง ทำให้ เบลเยี่ยม ก้าวขึ้นเปฺนเบอร์ 1 ของโลก ในการจัดอันดับ ฟีฟ่า แรงกิ้งส์ ในปี 2015 และยังผลิตซุบตาร์ ขึ้นมาหลายคน อาทิเช่น แวงซองต์ คอมปานี โรเมลู ลูกากู, ยูรี่ เทียเลอมองส์ และ อัดนาน ยานาไซส์
- สโมสรบาร์เซโลน่า ลา มเเซีย เต กาน ปลาเนส หรือที่รุ้จักกันดในชื่อ "ลา มาเซีย" คือศุนย์ฝึกแข้งวัยเยาว์ของบาร์เซโลน่า จุดกำเนิดของศูนย์ฝึกแห่งนี้ เกิดขึ้นในปี 1979 เมื่อ โจเซฟ นูนเณซ ประธานสโมสรขณะั้น เลือกทำตาคำแนะนำของ โยอัน ครัฟฟ์ ที่เสนอให้ทีมรื้อระบบเยาชนทังหมด และสร้าง อะคาเดมี ของสโมสร ขึ้นมาใหม่โดยยึดตามแบบฉบับของ สโมสรอาเจ๊กซื อัมสเตอ์ด
ระบบการเล่นที่สวยงาม ความสมดุลท้งเกมรุก และรับ เกิดจากการหล่อหลอมของปรัญชาการเล่น ผ่าน แบบแผนการฝึกซ้อมที่สืบทอดกนมาอย่างยาวนาน ลา เมาเซย เป็นเหมือนรากฐาน ที่ช่วยให้ทีมเกิดความสำเร็จ โดย ลา มาเซีย จะสอนให้ชุดเยาชน รวมไปถึงผุ้เล่นชุดใหญ่ และทุกๆ ขุด เ่นในระบบเดียวกัน เพื่อให้เข้าใจถึงปรัชญาของทีม จะทำให้นักเตะเยาวชนสามารถเล่นทดอทน ผุ้เล่นขุดใหญ่ได้อย่างไม่ยากเย็น ภายใต้ระบบเดียวกันในทีมทุกชุด โดยนักเตะที่เคยผ่านการขัดเกลาจนโด่งดังในยุคปัจจุบันและอดี อาทิ เป็ปกวาร์ดิโอล่า, ซาบี เฮอร์นาเดซ, เซร์คิโอ บุสเก็ตส์, อันเดตรส อิเนียสต้า, ลิโอเนล เมสซี่ และ เซร์คิโอ โรแบร์โต้.
- สโมสรสปอร์ต้ิง ลิสบอนn อคาเดเมีย สปอร์ต้ิง เป็นองค์กรกีฬาแห่งแรกในโปรตุเกส ที่ได้การรรับรองคุณภาพ เมื่อปี 2010 ซึ่งช่วยการันตีความยอดเี่ยมของศุรย์ฝึกแห่งนี้ได้เป็นอย่างดี กระบนการพัฒาเยาชน มีแนวทางคล้ายกับ อาแจ็กซ์ตรงที่กล้าลงทุนเงินก้อนโต กับศุนย์ฝึกเยาชน กรทำงานอย่างกนักของแมววมอ งและโปรแกรมฝึกซ้อมที่ยอดเยียม ทำให้ สปอร์ติ้ง สามารถดึงนักเตะที่มีฝีเื้าดขึ้นทีมชุดใหญ๋ได้ ที่นี้ไม่เพีนวแค่สอนในเรื่องของฟุตบอล แต่ยังสอนด้านการใช้ชีวิตในฐานะักฟุตบอลอาชีพผ่านการอบรม และการศึกษา เพื่อให้ปรับตัวได้อย่างไม่ยากเย็น
จากการสำรวจของ อีซีเอ ระบุว่า ผุ้เล่นทีมชาติโปรตุเกสชชุดใหญ่ จะมีเด็กปั้นจาก อะคาเดมี สปอร์ต้ิง มากถึง 7 คนในแต่ละปี โดยนักเตะที่เคยผ่านการปลุกปั้นมาล้วนแต่เป้นนักเตะที่มีชื่อเสียงของ โปรตุเกสทั้งนั้น อาทิ หลุย ฟิโก้, เจาท์ มูตินโญ่ และคริสเตียนโน่ โรนัลโ้ อีกด้วย...
http://sport.trueid.net/detail/77830
สำหรับประเทศไทยระบบอคาเดมี อาจกล่าวเป็นยุคๆ โดยคร่าวๆ ไดังนี้
จุดเร่ิมต้นของการสร้างทีมเยาชน เพื่อรองรับทีมชดใหญ่ เกิดขึ้นจาก 2 ขั้วมหาอำนจฟุตบอลเก่าแก่ของไทย คือ ธ.กรุงเทพ และทหารอาการ ที่ขับเคี่ยวแย่งขิงแชมป์ ถ้วย ก. มาต้งแต่ช่วงต้นปี 1950 และเป็นสองสโมสนรที่เด็กๆ จากทั่วประเทศ อยากร่วมทีมมากที่สุด ทหารอากาศ ใช้จุดแข็งของความเป็นราชการดงดูดนักฟุตบอล ส่วนธ. กรุงเทพ มีจุดเด่นในการบริหารจัดการทีมอย่างเอกชน"
รูปแบบอคาเดมีฟุตบอล ในยุคนั้น ยังไม่ชัดเจนมากนัก จุดม่งหมายกลักๆ คือการทำทีสำรอง เพื่อให้นักฟุตบอลเยาชนที่กำลังจะขึ้นชุดใหญ่ ได้มีสโมสรลงเล่น หรือลงแข่งขันฟุตบอลเยาชนระดับประเทสในรุ่นอายุ 17-19 ที่มีเปิดแข่งเพียงเท่านั้น
อคาเดมียุคแรกๆ ของไทย มีปัจจัยดึงดูดนักเตะแตกต่างกันไป เช่น ทหรอาการจะได้บรรจุเข้ารับราชการยศจ่า หากติดการคัดเลือก ธ กรุงเทพจะมีเงินเดือนเบี่ยเลี้ยง การท่าเรื่อ ซึ่งถือเป็นมหาอำนาจฟุตบอลไทย อันดับที่ 3 ในสมัยนั้น ก็จะมีตำแหน่งบรรจุให้โดยไม่ต้องทำงานพร้อมผลตอบแทน ราชวิธี "ทีมหลวง" ผุ้ที่ผ่านการคัดเลือกจะได้เข้าพักประจำในวัง และได้รับการฝึกสอนจาก ปรมจารยที่มดีกรีจากเยอมัน เป็นต้น
จุดเด่นของอคาเดมีไทยในยุคนี้คือ เด็กสามารถหิ้วรองเท้าสตั๊คท์เข้าทีมที่ต้นเองรักได้อย่างหลากหลา
ยุคที่ 2
ในเมื่อไทยยังเหมือนกับ สวิตซ์ฯ ฟินแลนด์ นอร์เวย์ ท่เน้นการเรียนควบคู่กัฬา ต่างจาก สเปน องกฤษ ที่ชัดเจนว่า คุณตะเลือกเรียนหรือเลือกเป็นนักีฬา
ราชประชา เป็นอีกสโมสรหนึ่งี่เกิดขึ้นในห้วเวลาเดียวกับ ราชวิถี ทั้งสองทีมมีโมเลที่คล้ายคลึงัน คือการสร้างเยาชนขึ้นมาเพื่อผลักดันสู่ทัมชุดใหญ่ ซึ่งราชประชามองการไกล และนำมาซึ่งการเปลี่ยนผ่านสู่ อเคนามี ฟุตบอลไทย สู่ยุคที่ 2 ราชประชาได้มองเห็นว่า "การศึกษา" เป็นเื่องสำคญและมีดาวรุ่งมากมายเกิดขึ้นในเวทีลูกหนังเร่ิมต้เป็นทีมแรก ที่ได้ผูกเยาชนไว้กับโรเรียนสามเนวิทยาลัย ที่กำลังก้าวขึ้นท่าทายบรรดาทีมโรเรียนดังๆ สายอาชีวะ อาทิ อำนวยศิลป์ ไพศาลศิปล์ กิติตพาณิชยการ พณิชยการพรนคร รวมถึงปทุมคงคา แม้่าสม้ยนั้น ทีมต่างๆ จะมีการหยิบยืมนักฟุตบอลจากสถาบันเหล่านี้ แต่เป็นครั้ง เป็นคราว ไม่มีใครำปผูกและฝากเลี้ยงอย่างจริงจัง
ราชประชา นำนักฟุตบอลดาวรุ่งในสังกัดเข้าไปเรียน่อที่ สามเสนวิทยาลัย ช่วงเวลาไม่นาจากั้นโรเรียนแห่งนี้ ผงาดขึ้นมาเป็น "เต้ยขาสัน" และดึงดุดเด็ก ๆ ฝีเท้าดีเข้ามาศึกษาต่อ อีกทังราชประชายังได้ประโยชน์ตรงที่ สามารถหยิบจับนักเตะจากสถาบันแก่งนี้าใช้งานอีกด้วย โมเดลนี้ส่ผลให้ราชประชา ยืนระยะความย่ิงใหญ่ต่อมาอีกหลายสิบปี พร้อมความสำเร็จมากมาย..
นับตั้งแต่นั้นป็นต้นมา การฝากนักเตะกับสถานศึกษา กลายเป็นแนวทางที่ได้รับความนิยมจากสโมสร ฟุตบอลในเมืองไทย ในเวลาต่อมา ตั้งแต่ช่วงปลายยุค 80 -90 ซึงเป็นช่วงเบาที่กำลังจะเปลี่ยนผ่านจากฟุตบอลทัวร์นาเมต์แบบ ถ้วย ก. มาสู่ระบบลีกอย่าง ไทยลีก ที่กำเนิดขึ้นปีแรกในปี 1996 โดยเฉพาะ 4 โรงเรียนในเครือจตุรมิตรสามัคคีฯ มีการจับมือเป็นพันธมิตรอย่างชัดเจน เช่นเดียวกับโรงเรียนดังๆ ช่วงเวลานั้น สโมสรเมืองไทย กำลังเตรียมพร้อมสู่การเป็นทีมอาชีพ ใระบบลีก จึงไม่ได้เน้นการสร้างเยาชนด้วยตนเอง ส่วนมากะเนนใช้โรเรียนเป็นด่านคัดกรองแรก ที่นักฟุตบอลจะได้ท้งโอากสทางการศึกษา รวมถึงการได้ลงเล่นให้ทีมเยาขนของสโมสรต่างๆ ตามทวร์นาเมต์ระดับประเทศ
อีกนึ่งจุดเปลี่ยนสำคัญของ อคาเดมีแบบไทยๆ คือการกำเนิดของ โรงเรียนกีฬาสุพรรณบุรี สถาบันแห่งแรกของประเทศที่สอนเรื่องของกฬาอย่างเต็มรูปแบบ โดยเด็กที่จะเข้ามาเรียนที่นี้ได้ ต้องผ่านการคััดตัวที่เข้มข้น จนได้ผลผลิตชั้นดี ทำให้กระแสของโรงเรียนกีฬา ได้รับความนิยมขึ้นมาในบ้านเรา จนมีกรเปิดตัวโรงเรียนกีฬาขึ้นมาอีกหลายแห่ง เช่นเดียวกับโรงเรยนกรุงเทพมหานคร ที่ได้ วิทยา เลาหกุล มาวางแบบฝึกในช่วงที่ตนเองติดโทษแบน ก็มการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดเช่นกัน
เหตุผลหลักๆ ที่โมเลนี้ยังได้รับความนิยมมาจนถึงปัจจุบัน คงเป็นเหตุผลด้าน "การศึกษา" ส่วนปํยหาคือ ระบบราชการหากเป็นโรงเรียนของราชการที่หากจะทำเรื่องอะไรแต่ระที่ต้องรอขั้นตอนราชการ อาทิการปรับเปลี่ยน ปรับปลุกสนามซ้อมจะทำให้ทันที่ไม่ได้เพราะเป็นพื้นที่หลวง หรหือากรเปลี่ยน ผอ. ก็มีผล บางท่านเน้นการเรียนมากกว่ากีฬา หรือบงท่านเน้นกีฬาอื่นมากว่า ฟุตบอลย่อมส่งผลใก้เกิดความไม่ต่อเนื่อง...
https://www.fourfourtwo.com/th/features/cchaakdiitcchnthuengpacchcchuban-lamdab-5-yukhwiwathnaakaarkhaaedmiifutblemuuengaithy?page=0%2C1