วันเสาร์ที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2561

European literature (Iliad)

           หากจะจำแนกยุคสมัยในยุโรปอย่างคร่าวๆ เป็นยุคเก่า หรือยุคคลาสสิค ยุคกลาง ยุคใหม่ และยุคร่วมสมัย
           ยุคเก่า หรือยุยคาสสิก เป็นคำที่ใช้กว้างๆ สำหรับสมัยประวัติศาสตร์วัฒนธรรมที่มีศูนย์กลางอบู่ในบริเวณเมดิเตอเรเนีน ที่ประกอบด้ยการผสมผสานระหว่างกรีกโบราณและโรมันโบราณ ที่เรีกว่า โลกกรีก กรมัน สมัยคลาสสิกเป็นสมัยที่วรรณคดีกรีกและลาตินมีความรุ่งเรือง
          สมัยคลาสสิกถือกันว่าเริ่มขึ้นเมื่อมีการบันทึกการวรรณกรรมกรีกเป็นครั้งแรกที่เร่ิมด้วยมหากาพย์ขอโอเมอร์ ราวศตวรรษที่ 8 ถึง 7 ก่อนคริสต์วรษ และดำเนินต่อมาจากกระทั้งถงสมัยสมัยการเผยแพร่ของคริสต์สาสนา และการล้มสลายของจักรวริโรมัน ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 จนมาส้ินสุดลงในปลายสมัยโบาณตอนปลาย ราว ค.ศ. 300 - ค.ศ. 600 ปสานต่อไปยังสมัยกลางตอนต้น ยุคสมัยอันยาวนานนี้ครอบคลุมวัฒะรมที่แตกต่างกันในหลายบริเวณของช่วงระยะเวลานั้นสมัยคลาสสิกอาจจะหมายถึงสมัยอันเป็นสมัยอุดมคติ โยผู้คนในสมัยต่อมา ตามคำกล่าวของเอดการ์ อัลเลน โพ ที่ว่า ไความรุ่งโรจน์ของกรีก ความยิ่งใหญ่ของโรมัน
         https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%81
วัฒนาธรรมของกรีกโบราณมีอิทธิพลเป็ฯอันมากต่อภาษา ระบบการปกครอง ระบบการศึกษาปรัชญา วิทยาศาสตร์ ศิลปะ และสถาปัตยกรรมของยุคใหญ่ และเป็นเชื่อที่น่ำมาสู่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาต่อมาในยุโรปตะวันตก และต่อมาในยุคฟืนฟูคลาสสิก ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19
              วรรณคดีในสมัยยุคลาสสิก
              อีเลียต เป็นหนึ่งในสองบทกวีมหากาพย์กรีกโบราณของโฮเมอร์ ซึ่เล่าเรื่องราวของสงครามเทืองทรอยในข่วงปีที่ที่สิบอันเป็นปีที่สิ้นสุดสงคราม เขื่อกันว่า อีเลียต ถูกแต่งขึ้นในช่วงศตวรรษที่แปดก่อนคริสตกาล นักวิชาการหลายคนเชื่อว่า บทกวีเรื่องนี้เป็นวรรณกรรมที่เก่าแก่ที่สุดในภาษากรีกโบราณ ึงถือได้ว่าเป็นวรณกรรมชิ้นแรกของยุโรป แม้จะมีชือผุ้ประพันธ์ปรากฎเพีงคนเดียว แต่จากลักษระของบทกวีที่บอกเล่าสืบต่อกันมาแบบปากเปล่ารุรเต่อรุ่น จึงมีความเป้ฯไปได้ว่ามีผุ้ปรพันธ์มากว่าหนึ่งคน
           เรื่องราวในบทกวีบรรยายถึงเหตุการณ์ในปีที่สิบซึ่งเป็นปสุดท้ายของเหตุการณ์ที่ชาวกรีกบุกยึดนครอีเลียน หรือเมืองทรอย คำว่า "อีเลียต" หมายถึง "เกี่ยวกับอีเลียต"อันเป็นขื่อเรียกวส่สนนครกลวง ซึ่่งแตกต่างกับ ทรอย อันหมายถึง นครรัฐที่อยุ่ล้อมรอบอิเลียน แต่คำทั้งสองคำนี้มักใช้รวมๆ กันหมายถึงสถานเที่แห่งเดีวกัน
            เนื้อหาเรื่องราว คำเปิดเรื่องมีความหมายถึง โทสะ เป็นการประกาศถึงธีมหลักของเรื่อง อีเลียต นั้นคือ "โทสะของอคิลลิส" เมื่ออักกะเมมนอน ผุ้นำกองทัพกรีกบุกเมืองทอย ได้หมิ่นเกียรติของอคิลลิสโดยการชิงตัวนางไบรเซอีส ทาสสาวนางหนึ่งซึ่งตกเป็นของขวัญชระศึกของอคีลิลีสไปเสีย อคีลลีสจึงถอนตัวจากการรบ แต่เือปราศจากอคีลลีสกับทัพของเขา กองทัพรกีก็ต้องพายต่อเมืองทรยอย่างย่อยับ จนเกือบจะถอดใจยกทัพกลับ แต่แล้วถอดใจยกทัพกลัย แต่แล้วอดีลลีสกลับเข้าร่วมในการรบอีก หลังจากเพื่อนสนิทของเขาคือ ปฏิตกลัส ถุกสังหารโดยเฮกเตอร์เจ้าขายเมืองทรอย อคิลลีสสังหารชาวทรอยไปเป็นจำนวนมากรวมทั้งเฮกเตอร์ แล้วลากศพเฮกเตอร์ประจาน ไม่ยอมคืนร่างผุ้เสียชีวิตให้มาตุภูมิซ่งผิดธรรมเรียมการบบ จนในที่สุดท้ายเพรียม บิดาของเฮกเตอร์ต้องมา/ถ่ ต้องมาไถ่ร่างบุตชายกลับคื มหากาพย์ อีเลียตสิ้นสุดลงที่งานพิธีศพของเฮกเตอร์
         
โอเมอร์บรรยายภาพการศึกไว้ในมหากาพ์อย่างละเอียด เขาระบุชือนักรบจำนวนมาก เอ่ยถึงถ้อยคำที่ค่าทอ นับจำนวนครั้งี่เปล่างเสีย่งร้อง รวมถึงรายละเอียวในการปลิดชีวิตฝ่ายสํตรู การส้ินชีวิตของวีรบุรุษแต่ละคนส่งผลให้การสงครามรุนแรงหนักงนิ่งขึ้น ทัพทั้งอสงฝ่ายต่างเข้าแย่งชิงเสื้อเกราะะครื่อาวุธ และแก้แค้นต่อผู้ที่สังหารคนของตน นักรบที่โชคดีมักรอดพ้นใไปได้ด้วยฝีมือขัรุของสารถี หรือด้วยการช่วยเลือป้องกันของเหล่าเทพ รายละเอดียดสงครามของโฮเมอร์นับเป็นงานวรรณกรรมที่โหดเหี้ยมและมีผุ้เสียชีวิตมากที่สุด
          มหากาพย์ อีเลียต มีนัยยะทางศาสนาและส่ิงเหนือธรรมชาติอยู่มาก กองทัพทั้งสองฝ่ายต่างเคร่งครัดศรัทธาต่อเทพเจ้าของตน และต่างมีนักรบที่สืบเชื้อสายมาจากเหล่าเทพด้วย พวกเขามักเซ่นสรวงบูชาเทพเจ้า ขอคำปรึกษาจากพระ และแสวงหาคำพยากรณืเพื่อตัดสินใจว่าควรจะทำอย่างไรตอไป พวกเทพเจ้ามักเข้าร่วในการรบ ทั้งดยการให้คำแนะนำและช่วยเหลือปกป้องนักรบคสโรปด บางคราว ก็ร่วมรบด้วยตนเองกับพวกมนุษย์หรือกับเทพเจ้าองค์อื่นๆ
         ตัวละครหลักของมหากาพย์ อีเลียต จำนวนมากมีส่วนเชื่อดยงสงครามเมืองทรอยเข้ากับตำนานปรับปราอื่นๆ เช่น ตำนาน เจสันกับขนแกะทองคำ ตำนานกบฎเมืองธีบส์ และการผจญภัยของเฮราคลีส (เฮอร์คิวลีส) ตำนานปรับปราของกรีกโบราณเหล่านี้มีเรื่องเล่ามาในหลากหลายรูปแบบ โฮเมอร์จึงค่อนข้างมีอิสระในการเลือกรูปแบบตามที่เขาต้องการเพื่อนำมาประกอบในมหากาพย์
           เรื่องราวของมหากาพย์ อีเลียต ครอบคลุมข่วงเวลาเพียงไม่กีสัปดาห์ในช่วงปีที่สิบและปีสุดทายของสงคราเมืองทรอย มิได้เล่าถึงความเป็นมาของการศึกและเหตุการณ์ในช่วงต้น และมิได้เอ่ยถึงเหตุการณ์ตอนส้ินสุดสงคราม ย่างไรก็ดีมีบทกวีมหากาพย์เรื่องอื่นที่บรรยายความต่อจากนี้ แต่กลงเหลือรอดมาถึงปัจจุบันเพียงเล็กน้อย ..
            มหากาพย์ อิเลียต และโอดิสซีย์ นับว่าเป็นวรรณกรรมคลาสสิก ของกรีกโบราชิ้นสำคัญที่สุดและถือเป็นงานพื้นฐานสำคัญของวรรณกรรมกรีก ในยุคต่อมา นอกเหนือจากความเป็นโคลงโบราณที่มีบทพรรณนาอย่างลึกซึ้งแล้ว มันยังเป็ฯศุนย์กลางของวัฒนธรมต่างๆ ของกรีกที่เกี่ยว้องกับความเชื่อทางศาสนาด้วย ในงานเฉลิมฉลองทางศาสนาขอกรีก จะมีการขับร้องบทกวีนี้ตลอดทั้งคื อ่านด้วยิีธรมดาจะใช้เวลาประมาณ 14 ชี่วโมง โดยจะมีผุ้ฟังเข้าและออกเรื่อยๆ เพื่อมฟังบทที่เขาชื่นชอบ เป็นพิเศษ
         
นักวิชาการด้านวรรณกรรมถือเอา อีเลียต และ โอดิสซย์ เป็นงานประพันธ์แบบกวีนิพนธ์ และมักนับว่าโฮเมอร์เป็นกวีด้วย แต่เมื่อถึงปลายคริสต์ทศวรรษที่ 19 เหล่านักวิชาการก็เร่ิมสสัยว่าข้อสมมุติฐานนี้ถุกต้องหรือไม่  มิแมน แพรี นักวิชาการยุคคลาสสิกคนหนึ่งพบว่าลักษณะงานประพันธ์ของโฮเมอ์มีความเฉพาะเจาะจงอย่างน่าประหลาด ในการเลือกใช้คำคุณศัพท์ รวมถึงคำขยายตำนาน วลี หรือประประโยค ที่ซ้ำไปซ้ำมา ซึ่งเขาเห็นว่าลักษณะเช่นนี้เป็นลักษณะของเรื่องเล่าปากเปล่า หรือ วรรณกรรมแบบมุขปาฐะ ผู้แต่างจะใช้คำหรือวลีที่มีรูปแบบแน่นอนเรพาะจะเข้าสัมผัสในฉันลักษณ์ได้ง่ายก่า ยิ่งกว่านั้น แพรียังสังเกตว่า โฮเมอร์ระบุสร้ายนามของตัวละครหลักแต่ละตัวด้วยคำเฉพาะแบบสองพยางค์ซึ่งจะบรรจุลงได้ครึ่งบรรทัด จึงสันนิษฐานว่าเขาน่าจะแต่งสดๆ ที่ละครึ่งบรรทัด สวนครึ่งที่เหือก็จะเอ่ยไปโดยอัตโนมัติ ด้วยวลีสามัญ เืพ่อพิสูจน์ทฤษฎีนี้ แพรี่เดินทางไปยังยูโกสลาเวียเพื่อสึกาษวรรณกรรมมุขปาฐะของท้องถ่ินนั้น เขาพบว่ากวีมักใช้คำที่ซ้ำๆ และคำเอือน คำสร้าง เพื่อให้มีเวลาแต่งบทกวีวรคต่อไปการศึกษาของแพรี่ช่วยเปิดแนวทางการศึกษาแนวคิดเรื่องวรรณกรรมมุขปาฐะมากขึ้นhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%94
         

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...