Academy Football 3

            เมื่อพูดถึงฟุตบอลจะไม่พูดถึง อังกฤษ ก็เห็นจะเป็นเรืองแปลก
         
เซาธ์แฮมป์ตัน เมื่อนึถึง สโมสรนี้ สิ่งแรกที่จะนึกถึงก็คือดาวรุ่งของพวกเขาว่ามีใใครเจ๋งๆ มาอีกบ้าง ทีม "นักบุญ" ไม่เคยหยุดลงทุนกับการพัฒนเยาวชนของตัวเอง แกเรธ เบล ที่ปัจจุบันเป็นสตาร์คนดังของสโมสร เรอัล มาดริด ก็เคยเป็นเด็กฝึกของที่นี่มาก่อน เช่นเดียวกับ อดัม ลัลาน่า, ธีโอ วัลค็อตต์,
บุค ชอว์, อเล็กซ์  อ๊อกเลค แขมเบอร์เลน ที่ต่างก็ติดทีมชติอังกฤษ รวมถึงได้เล่นให้กับสโมสนระดับยักษ์ใหญ่ ในช่วงไม่กี่ปีทีผ่านมา พวกเขาได้เงินจากการปล่อยเด็กปั้นตัววเองไปมากว่า 100 ล้านปอนด์ แต่ว่ามันก็ไม่ได้ทำให้ทีมของพวกเขาแย่ลงแต่อย่างใด เพราะว่าพวกเขายังมีนักเตะรุ่นใหม่ ที่พร้อมข้นมาแทนอยู่เสมอ
           แ มนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด สาเหตุหนึ่งที่ทำให้ แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด กลายเป้นมหาอำนาจของวงการฟุตบอลอังกฤษในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา นันก็เพราะว่าการสรางนักเตะเยาวชนของตัวเองขึ้นมาเป็นแกนหลัก ไม่ว่าจะเป็นเดวิด เบ็คแฮม, ไรอัล กิ๊กส์, นิคกี้ บัตต์ และพี่น้องเนวิลล์ ที่ล้วนแล้วแต่เป็นผลผลิตจากศูนย์ฝึกของสโมสรท้งนั้น
           แม้ว่าจะหมดยุคของ คลาส ออฟ 92 แล้ว ก็จะไม่ได้มีดาวรุ่งข้นมา บวกดับตังแต่ เชอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูนัน ประกาศวางมือไปก็ทำให้เราไม่คอยได้เห็นเด็กากอคาเดมีขึ้นมามีบทบาทในทีมชุดใหญ เพราะว่ามันถูกแทนด้วยเหล่าสตาร์ค่าตัวแพงที่ถูกซื้อเข้ามาจากความสำเร็ที่รอไม่ได้อีกแล้ว แต่ส่งิหึงที่ยังไม่เคยหยไปจากแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ก็ือการใหโอกาสเด็กปั้นของทีมขึ้นมาพิสูจน์ตัวเอง อย่างในวันนี้ เราได้เห็นท้ง มาร์คัส แรซฟอร์ด และเจสซี่ ลินการ์ด ที่ได้ลงสนามอย่างตอเนื่องกับทีมชุดใหญ่ร่วมไปถึง ปอล ป็อกบา ที่ซ์้อมาในราคาแพง ระดับสถิติโลก จากยูเวนตุส  แต่ก็ต้องไม่ลืมว่าเขาก็คือ อดีตเด็กผึกของ สโมสรเช่นเดียวกัน นันเท่ากับเป็นเครื่องยืนยันว่า แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ไม่เคยทอดท้องิบรรดาดาวรุ่งเหล่านี้ ขอแค่พวกเขาดีพอ พวกเขาก็จะได้โอกาสhttps://www.fourfourtwo.com/th/features/raakthaansuukhwaamsamercch-9-khaaedmiiluukhnangthiiaidchuuewaadiithiis
            กลับมาที่เมืองไทย อคาเดมีแบบไทยๆ ก้าวเข้าสู่ยุคที่ ที่ 4
            ยุคที่ 4 อคาเดมีอิมพอร์ท
         
ในยุคที่ยังไม่มีการกำหนดแนวทางจาก สมาพันะ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย ว่าทุกสโมสรต้องีอคาเดมของตัวเอง อีหนึงโมเดลที่ถุกนำมาใช้พัฒนาในเมืองไทย เปฯเวลาหลายปี นันก้คือ "อคาเดมีฟุตบอลอิมพอร์ท" ที่บางเจ้ามีชื่อเสียง บางเจ้าก็มาเงียบๆไปเงียบๆ ซึ่งทั้งซีกโลกตะวันออกอย่างเกาหลี หรือฝากฝั่งยุโรป หลายๆ โครงการต่างชาติ ก็เป็นเรื่องดี แต่ปัญหาของอคาเดมีอิมพอร์ท คือ เรื่องการขาดความต่อเนื่องบางเจ้ามาแค่ช่วงระยะเวลั้นๆ ส่วนใหญ่ เหมือนกัองการมาโชว์ของมากกว่าว่า อคาเดมีฉนทำแบบนี้ได้..
          ยุคที่ 5 ยุคปัุจจุบัน
          นับตั้งแต่ปี 2010 เป็นต้นมา อคาเดมีของสโมสรฟุตบอลอาชีพในไทย เร่ิมค่อยๆ มีการพัฒนาจนใกล้เียงกับความเป็นสากลมากขึ้นเรื่อยๆ และเมื่อพัฒนาอย่างถูกต้องและจริงจัง จากอคาเดมีของแต่ละสโมสร ก้ส่งผลให้กลุ่มผุ้เล่นเด็กหนุ่มรุ่นใหม่พัฒนาฝีเท้าขึ้นมาได้อย่างรวดเร็ว
           และเมื่อทุกสโมสรในไทยลีก เล็งเห็นความสำัญของการสร้างอคาเดมีด้วยสโมรเอง จะมข้อดีท่สามารถกำหนดแนวทางการเล่น ปรัชญา รูปแบบวิธีการเล่น ควบคุมฐานเงินเดือนักเตะได้ และนักฟุตบอบมีความรักผูกพันกับสโมสรรวมถึง สามารถขายได้ราา ในยุคที่ตลาดซื้อขายนักเตะค่อนข้างเฟือ่งฟู และอคาเดมีฟุตบอลโดยสโมสรอาชีพ
          การำอคาเดมีแบบสโมสรอาชีพ จึง้องใช้ทั้งแรงเงิน ความอดทน และการกล้าที่จะใช้งานในจังหวะ เวลาที่เหมาสม เพื่อให้ดาวรุ่งเหล่านั้น สามารถเ้นศักยภาพออกมาได้เต็มที่ และเดินไปอย่างถูกทาง
          "เด็กหนึ่งคนในอคาเดมี เราใช้ต้นทุนทั้งค่าเล่าเรียน ค่าอยู่กันหลับนอน เบี้ยเลี้ยง ค่าจ้างโค้ช ตกอยุ่ที่คนละ 350,000 ต่อปี" เราต้องอยู่ด้วยความอดทน อยู่ด้วยความหวัง ผมต้องมีเวลาไปดู ทีมอคาเดมีซ้อมอย่างน้อย อาทิตย์ละ 2 วัน เพื่อดูว่าดด็กๆ แต่ละคนเป็นอย่างไร พอพัฒนาแบบนี้แล้วเห็นได้ว่า เด็กจาอคาเดมีนั้น สามารถพัฒนาได้เร็วกว่าเยาชนที่เราซื้อมาจากทีมอื่น" เนวินชิดชอบ พุดถงต้นทุนในการปั้นเด็ก 1 คนต่อในหนึ่งปี...https://www.fourfourtwo.com/th/features/cchaakdiitcchnthuengpacchcchuban-lamdab-5-yukhwiwathnaakaarkhaaedmiifutblemuuengaithy?page=0%2C4

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)