วันจันทร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2561

Soccolony

           Soccer+colony = อานานิคมฟุตบอล เปรียบเสมือนเจ้าอาณานิคม หรือประเทศใหญ่ๆ ในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นเจ้าอานานิคม และประเทศต่างๆ ทั่วโลก ที่เป็นอานานิคมของประเทศในยุโรป
            จะกล่าวถึงบทความที่เกียวกับฟุตบอลใน 'วาระแห่งชาติ(ยุโรป)
             การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปครั้งแรกจัดขึ้นในปี 1960 ที่ประเทศฝรั่งเศส โดยมีทีมชาติเข้าร่วมรอบคัดเลือกเพียง 16 ทีม และไม่มีประเทศในเครือจักรภพอังกฤษเข้าร่วมแลยสักทัมเดียว ทั้งที่มีมชาติอังกฤษเป็หนึ่งในทีมที่คนเฝ้ารอในยุคนี้ และยังนับได้ว่าเป็นต้นกำเนิดของกีฬาประเภทนี้ ฟุตบอลเร่ิมต้นอย่างเป็นทางการโดยสโมสรของวิทยาลัยในลอนดอนในป 1863 จนถึงตอนนี้วัฒธรรมลูกหนังได้ฝังรากงึกในหลยประเทศจนกลายเป็นวาระระดับชาติของหลายประเทศ
           
สิ่งหนึ่งที่ผลักดันฟุตบอลให้ยิ่งใหญ่คือลัทธิชาตินิยม เพราะมันคือภาพแทนของสงครา เพียงแต่เกมส์นี้ไม่อาจตัดสินกันด้วยแสนยานุภาพทางกรรบ ทำให้ประเทศเล็กๆ ก็มโอากสคว้าชัยชนะ เมื่อศักด์ศรีของชาติไม่ได้วัดกันที่การเมือง เศราฐกิจ สังคมเพียงอย่างเดียว จึงไม่แปลกที่ผุ้คนจะถวายหัวใจสำหรับ ชาติ ให้กับเกมส์การแข่งขันนี้ แต่อย่างไรก็ตาม ใช่ว่าฟุตบอลจะเป็นคนละเรื่องกับการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ฟุตบอลเคยก่อ
สงครามระหว่างประเทศ เอลซัลวาดอร์กับฮอนดูรัสในเวิร์ลคัพปี 1969 ขณะเดียวกันก็เคยสร้างสันติภาพ เมื่อชัยขนะของ Didier Drogba ในปี
2006 หยุดสงครามกลางเมืองฃในไอวอรี โคสต์ได้ ฟุตบอลยงเคยเป็นเครื่องมือทางการเมือง เช่น เวิร์ลคัพปี 1978 ผู้นำอานรเจนตินาใช้ฟุตบอลเพื่อแสดงออกว่าประเทสยังคงมีความสามัคคีกันได้แม้จะอยุ่ในการปกครองแบบเผด็จการก็ตาม
             ในยุโรปเองฟุตบอลก็ยัคงเป็นตัวแทนของลัทธิล่าอาณานิคม โดยคอลัมนิสต์ชาวอเมริกัน ุ้ที่ใช้คำเรียกฟุตบอลว่า "ซอคเกอร อิมพีเรียลิซึม" เขามองว่าพวกยุโรปใช้ฟุรบอลเพื่อครอบงำชาติอื่น อย่างที่พวกฟาสซิสต์เคยส่งต่อแนวคิดผ่านความบันเทิงและการกีฬาในยุคสงครมเย็น
           และไม่ว่าจะเป็นความตั้งใจของชาติยโรปอย่าที่ถูกกล่าวหาหรือไม่ แต่สิ่งที่แน่นอนคือชาวยุโรปไม่น้อยรักฟุตบอลยิ่งชีพ เห็นได้จากคพพูดของ บิล แชคกี้ นักฟุตบอลและผุ้จัดการทีมชาวอังกฤษท่บอกว่า "บางคนคิดว่าฟุตบอลเป็นเรื่องของชีวิตและความตาย ผมไม่ชอบความคิดนั้น ผมมองว่มันสำคัญกว่านั้นอีก"
            ความคิดเข้มเข้มอย่างนี้เอง ที่อาจเป็นแรงผลักดันสำคัญให้ยุโรปยังคงเป็นเจ้าแห่งกีฬาฟุตบอลอย่างยากจะให้ใครเที่ยงได้ไปอีกยาวนาน แม้วันที่พวกเขาไม่เหลือเคล้าของประเทศมหาอำนาจแล้วก็ตาม ....https://minimore.com/f/core-his-39-884
              ฟุตบอลในแง่อิทธิพลจากยุคอาณานิคม นายชาญ พนารัตน์ นักศึกษาปริญญาเอก มหาวิทยลัยซิดนีด์กล่าวถึงเรื่องฟุตบอลกับอาณานิคมของอังกฤษในช่วงเปลี่ยนผ่านสู่คริสต์ศตวรรษที่ 20 และพบว่าเจ้าอาณานิคมประสบความสำเร็จในแง่การกระตุ้นให้คนเลี่ยนแบบคุณคาของตังเแง แต่ก็มีางนิคมในช่องแคบซึ่งฟุตบอลไม่เป็นที่รู้จัก อย่างเช่น  ชาวสิงคโปร์เชื้อสายจีนและ มาเลย์ที่ไม่ได้รำ่รวยซึ่งยังคงครอบงำไม่ได้แลพวกเขาเมินเฉยด้วยกาหันไปทำการตค้าแต่อาณานิคมยังครอบงำในแง่ทางกายภาพด้วยความเชื่อว่าตัวเองมีศักยภาพเหนือกว่า
             ขณะที่ในแอฟริกาฟุตบอลเป็นเรื่องการเรียนรู้ของพวกกรพฎุมพีน้อยให้ซึบซับคำสังระเบียบของเจ้าอาณานิคมส่วนพม่าก็มีฟุตบอลที่แพร่หลายในพื้นเมืองกลายเป็นพท้นท่ที่เป็นความพยายามลงเล่นเพื่อเอาชนะอำนาจของจักวรรดิรวมถึงภาพของเจ้าอณานิคมที่พยายามป้ายให้พวกเขาดูอ่อนแอ ส่วนพื้นที่ที่ไม่ได้ขึ้นกับอาณานิคมอย่างอาร์เจนติน่าหรือฟุตบอลที่แพร่กลายในชาวสเปนหรืออิตาเลียนข่วงเปลี่ยนผ่านของคริสศตวรรษที่ 20 ฟุตบอลกลายเป็นพื้นที่ของความขัดแย้งซึ่งแต่ละกลุ่มให้คุณค่าฟุตบอลแตกต่างกัน เมืองมองแล้ว ฟุตบอลอาร์เจนตินา มีควมแพร่หลายมากเมืองเที่ยวกับในไทยในสมัยนั้น ขณะที่ไทยยังไม่มสโสรเป็นรูปร่างจริงจัง
             สำหรับไทยไม่ได้เป็นอาณนิคมโดยตรงแต่ถูกครอบงำทางเศราฐกิจชาวยุโรปนำฟุตบอลมาเล่นในสยามตังแต่รัชกาลที่ 4 ตั้งแต่นั้จนถึงต้น พงศ. 2430 ฟุตบอลไทเป้นท่นิยมในสยามผุ้ดีนิยมเตะตะกร้อหวยเพราะไม่มีลูกฟุตบอลหนังในทศวรรษถัดมาเป็นศวรรษแรกที่รัฐไทยเอาฟุตบอลมาเผยแพร่ในโรงเรียน เป็นช่วงท่บอลเริ่มเผยแพร่ จนในทศวรษต่อมา ฟุตบอลถูกนำมาเล่นในโรงเรียน กีฬอังกฤษถูกใช้เป็เครื่องมือในสยาม ขณะที่ชวอังกฤษก็ยังมอิทธิพลน้อย
            สายชน ปัญญชิต จากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ ม.จุฬาลกรณ์ พูดถึงกีฬากับวัฒนธรรมสมยนิยมซึ่งมีหลายมุมอง แต่ที่น่าสนใจคือเรื่องวัฒนธรมแฟนกีฬา ฟุตบอลเป็นกิจกรมข้ามพรมแดน มีเรื่องการถ่ายทอดสดการแข่งเข้ามา มีการสงออกทางีวามคิดผ่านสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น ริสแบนด์รณรงค์ หรือเสื้อต่อต้นความรุนแรง ซึ่งประเด็นนี้เริ่มเกี่ยวข้องกับไทย คือเรื่องชาตินิยมและท้องถ่ินกับกีฬา อย่างกรณี การก่อการร้ายที่มิวนิก "แบล็ค เซบเทมเบอร์" หรือ โอลด์ เฟิรฒ ดาาณ์บี้ แมตช์ ในสกอตแลนด์ ซึ่งมีเรื่องศาสสาเข้ามาเกี่ยวข้อง ระหว่างการแข่งก็มประวัติศาสตร์ทางความคิดต่างๆ.. ถ้ามองในมุมประเทศไทยก็คือการปะทะกันทางความคิดทำนองว่า มาเลฯ หรือไทย ใครเล่นตะกร้อก่อนกัน..http://m.matichon.co.th/readnews.php?newsid=1405841673
             

             

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...