วันอังคารที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Religion and Society

          

              ศาสนาในสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับสังคมนั้น ขึ้นอยู่กับแกนกลางของสังคม คือตัว
บุคคลหรือสมาชิกของสังคนั้นเอง ซึ่งถือว่าทำหน้ราที่เป็นตัวเชื่ีอมโยงให้สังคมและศาสนาสัมพันธ์กัน บุคคลอยู่ใต้อิทธิพลของศาสนาในด้ารการประพฤติปฏิบัติตามหลักศาสนา ซึ่งแสดงออกมาให้เป็นปรากฎในรูปพฤติกรรมทางศาสนา และในทำนองเดียวกัน บุคคลนั้นๆ ก็เป็นหน่วยหนึ่งของสังคม ซึ่งอาจจะเร่ิมจากตัวบุคคลในครอบครัว จนถึงรวมกันเป็นกลุ่มก้อนอันจัดเป็นสังคมก็ได้ ฉะนั้นศาสนาและสังคม จะสัมพันธ์กันมากน้อยเพีนงไรนั้น จึงขึ้นอยู่กับบุคลลอันเถือเป็นหน่วยหนึ่งทั้งของศาสนาและสังคม ฉะนั้น ศาสนาและสังคมจึงมีความสัมพันะืกัน โดยมีแก่กลางคือตัวบุคคลเป็นสำคัญ 

            อิทธิพลของศาสนาต่อสังคม เป็นที่ทราบแล้วว่าสังคมนัน เป้นเรื่องของการอยุ่ร่วมกัน ทั้งดดยทางะรรมชาติ และโดยการสมัครใจอันขึ้นอยู่กับวิธีการ อันเรื่องของการอยู่ร่วมกันนั้น ก็ต้องมีหลักอันถือเป็นกฎเกณฑ์สำหรับกำกับสังคมให้เป้นไปด้วยความเป้นระเบียบเรียบร้อย และสงบสุของสังคมและหมุ่คณะ เร่ิมตั้งแต่อาศัยกฎธรรมชาติซึ่งได้แก่ขนบธรรมเนียม จารีต แระเพณีต่างๆ ที่มีดดยะรรมชาติ รวมทั้งความสัมพันธ์กับระบบะรรมชาติด้วย อันเป็นเคตรื่องควบคุม กำกับความเป้นไปของสังคม  กระทังสังคาสมได้วิวัฒนาการขึ้นมา ความสัมพันะ์ได้ขยายกว้างออกไปจากเดิม ควมขัดแย้งและความไม่เป็นระเบียบในสังคมก็ได้มีขึ้น จึงจำเป้นอยู่เองที่จะต้งอมีกฎออกมาเพื่อใช้ควบคุม สังคมให้รัดกุมยิ่งขึ้นเพียงใดก็ตาม ความเป็นระเบียบเรยบร้อยและความเป็นไปต่างๆ ของสังคม ก็ยังมีการขันกันภายในสังอยุ่ 

            แม้สังคมจะได้วิวัฒนกรไปมากเพียไร และได้มกฎออกมาสำหรับควบคุมสังคมให้รัดกุมย่ิงขึ้นเพียงได็ตาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความเป็นไปต่างๆ ของสังคม ท็ยังมีการขัดกันภายในสังคมอยุ่  กฎต่างๆ ที่ออกมานั้นสามารถบังคับสังคมโดยเฉาพมทางกายหรือภายนอกเท่านั้น ยังไม่สามารถควบคุมได้เท่าศาสนา และจากการไม่เป็นระเบียบของสังคมนี้เอง เป็นเหตุในศาสนาเข้ามามีอทธิพลในังคม และสังคมเป้นไปด้วยความเรียบร้อย ดดยยอมรับอิทธิพลของศาสนานั้นๆ 

           อิทํพลของศาสราต่อสังคมนั้น จะปราฏำออกมาโดยสังคมได้รับอิทธิพลจากศาสนาวิธีใดวิธีหนึ่ง ทั้งโดยทรง อาทิได้รับอิทธพลจากสษสนาจากการศึกษาอบรมและโดยอ้อม เช่น ทำตัวให้เข้ากับสภาวะของศาสนา เป็นต้น 

             มีคำกล่าวของนักนิติศาสตร์และนักะรรมศาสตร์ชาวตะวันตกท่านหนึ่งว่า "ไม่มีแผ่นดินแอสระในประเทศใดที่กฎหมายไม่มีอำนาจสูงสุด แต่ถึงกระนั้นก็ดี กฎหมาย็เป็นเครื่องปกครองคนได้ไม่สนิทเท่าศาสนา เพราะกฎหมายเป็นเครื่องป้องกันคนมิให้ผิดได้เฉพาะแต่ทางกายกับวาจาเท่านั้น แต่ศาสราย่อมเป็นเครื่องรักษาคนไว้ไม่ให้ทำชั่วได้ทั้งกายวาจา และทางใจ ด้วยที่เีดยว ฉะนั้น ปวงชนที่ยึดมั่นอยู่ในศานาเมื่อจะยึดถือเอาศาสนาเป้นเครื่องปกครองคนดดยเคร่งครัดแล้ว จะต้องไม่กระทความชั่วอันเป็นการล่วงละเมิดกฎหมาย และผิดศีละรรมต่อศาสนาของคนในที่ทั้งปวง" ข้อนี้ แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของศศาสนาที่มีต่อสังคม อันสามรถช่วยให้สังคมดำเนินไปด้วยความเป็นระเบียบเรยบร้อย ซึ่งจะก่อให้เกิดความสงบในสังคม 


            ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนาและสังคม ตามแนว Joachim Wach  ได้กำหนดไว้ อธิบายดังนี้

            ศาสนาในสังคม

            1 โดยการให้นิยามคำว่า ไสังคมวิทยาศาสนาไ น้น เป็นการสึกษาถึงอัตรสัมพันธ์ของศาสนาและสังคาม ทีมีอยู่ต่อกัน จะเป็นในรูปใดก็ตาม เราถื่อว่าสิ่งเล้าหรือแรงกระตุ้นต่างๆ ก็ดี แนวความคิดก็ดี และสถาบันต่างๆ ทางศาสนาก็ดี ถือว่าต่างมีอิทธิพลต่อศาสนาและในทางกลับกันสังคมก็ได้รับอิทธิพลจากสาสนาด้วย ไม่ว่่าจะเป็นอำนาจทางสังคมกระบวนการทางสังคม และการกระจายทางสังคม อันมีรายละเอียดตามความสัมพันธ์ตามลำดับดังนี้

            ศาสนา มีความสัมพันธ์กับบุคคล ตั้งแต่บุคคลแต่ละคน ซึ่งอาจจะเริ่มต้นจากครอบครัวขยายออกสู่ชุมชน และประเทศชาติเป็นต้น เพราะถือว่าความสัมพันธ์นั้นเร่ิมจากสิ่งที่อยุ่ใกล้ตัวเองก่อน แล้วค่อยๆ ขยายออกมาจากครอบครัว 

             ในการจัดระบบทางสังคม ได้รับอทิธพลจากทางศาสนาเป็นส่วนมาก เช่น การจัดรูปแบบการปกครอง รูปแบบสังคม เป็นต้น

              ศาสนามีอิทธิพลสามารถขจัดปัญหาเรื่องชนชั้นได้ ตามความเชื่อถือทางศาสนในทุกสังคม ซึ่งสมาชิกแต่ละคนที่มาร่วมอยุ่ในสังคมเดียวกันนั้น แม้จะมาจากบุคคลที่มีฐานะและชาติชั้นวรรณะต่างกันอยางก็ตาม สามารถรวมกนได้ เพราะอาศัยศาสนาเป็นศุนย์กลาง

               หลักอันหนึ่งของศาสนาที่เป็นศูนย์รวมของสังคม ก้คือการมีพิธีกรรม ในการประกอบพฺะีกรรมประจำสังคมนั้น ต้องอาศัยศาสนาตามที่สังคมนั้นยึดถือปฏิวัติกันมาทั้งนี้เืพ่อช่วยให้เกิดความศักดิ์สิทธิในพิธีกรรมนั้นๆ 

               อิทธิพลอันยั่งยืนอีกอย่างหนึ่งของศาสนาในสังคมก็คือ ช่วยควบคุมสังคมให้เป็นไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย อันเป็นเหตุให้สังคมมีความเป้นอยู่อย่างปกติสุข

               2 ศาสนากับความสัมพันะ์ทางด้สนสภาบันทาสังคมอื่นๆ 

               ศาสนากับการปกครอง ความสัมพันธ์ในข้อนี้ถือเป็นการค้ำจุนค่านิยมของสัคมให้ดำเนินไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย เช่น การออกพระราชบัญญัติควบคุมสังคม เป็นต้น จำเป็นต้องใช้หลักธรรมทางศาสนา หรือหลักจริยะรรมในการบริหารราชการ มาช่วยค้ำจุนในสถาบันทางสังคมนั้นๆ  นอกจากนี้ยังมีศาสนากับการศึกษา ซึ่งทั้งสองอย่างเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม การบวนการเรียนรู้ทางสังคมวิทยา ศาสนากับเศรษฐกิจ เช่นการดำรงชีพตามหลักศาสนา การพอดีในการใช้จ่ายเป็นต้น ศาสนกับครอบครัว เช่นคำสอนเกี่ยวกับการครองเรือนต่างๆ 


              สังคมในศาสนา

              เป้นการจัดรูปแบบของสังคมอยางหนึ่งในด้านการบริหารและปฏิบัติตามพิธีการทางศาสนา อันจัดชนกลุ่มหนั่งที่สังกัดในศาสนา เหรือป็นสาสนิกของศาสนาที่ทำเน้าที่เพื่อสังคม

             ในการจัดรูปแบบของสังคมในศาสนานั้น เพื่อความสะดววกในการบริหารศาสนาและการประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อถือ จึงมีการจัดแดบ่งออกเป็นนิกายต่างๆ ตามความเชื่อถือขงอแต่ละบุคคลในสงคม ตามนิกายที่ตนสังกัด

              การจัดแบ่งโครงสร้างของาสนาออกเป็นนิกายต่างๆ ตามลักษณะความเชื่อถือในศษสนาของสังคมนั้นๆ ซึ่งมีหลายประการด้วยกัน แต่เมือสรุปแล้วทุกนิกายในแต่ละศาสนาจะมีโครงสร้างของศาสนาอันประกอบดวบ กิจกรรมทั้งในทุกระบบของศาสนาน ซ่ึ่งรวมถึงตัวศาสนา นิกาย และสถานที่ประกอบพิธกรรมทางศาสนาด้วย ดดยถือการประกอบพิํธีร่วมกัน ในโบสถ์ อาทิ ในคริสต์สาสนานิยกายต่างๆ การประกอบศาสนกิจนั้นสอดคล้องกับความเป็นระเบียบของสังคมและภาวะเศรษฐกิจด้วย การนำคำสอนของศาสนาไปสู่ชุมชน หรือไปสุ่สังคมภายนอก อันเป็นการประสานประโยชน์ระหว่างศาสนากับรัฐ ระบบนัี้ได้แก่พวกพระ. การแบ่งออกเป็นนิกาย เพื่อค่านิยมของหมู่คณะ เป็นการนำระบบต่างๆ มาดัดแปลงแก้ไขให้ดีขึ้น ให้เหมาะสมกับสังคม  เพื่อแยกกิจการของศาสนาออกจากิจการของบ้านเมืองโดยเด็ดขาดเพื่อให้เป็นอิสระ. ระบบที่ยึดถือคำสังสอนของพระผุ้เป็นเจ้ายิ่งกว่านิกายอื่น และไม่ยอมดดแปลงแก้ไข, และรูปแบบที่เชื่อในหลักปรัญาไม่สนใจว่าใครจะเข้าจะออกจากศาสนา

                                                    แหล่งที่มา http://old-book.ru.ac.th/e-book/s/SO376(54)/SO376-7.pdf


              

วันจันทร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Midle East and Allied Power

           Allied Power หรือฝ่ายสัมพันธ์มิตร คือกรรวมกลุุ่มของประเทศททำการรบต่อต้านกลุ่มหมาอไนกลาง Cental Powers ฝ่ายสัมพันธมิตรหรือฝ่ายภาคในสงครามโลกคร้งท่ 1 เป็นประเทศท่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนากลาง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคิ ได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซย ต่อมา อิตาล เข้าสู่สงครามโดยอยุ่ฝ่ายไตรภาคในป 1915  ญ่่ปุ่นและเบลเยิ่ยม เชอร์เบย กริซ บอนเตเนโกร และหน่วยทหารเชโกสโลวาเกิย เป้นสมาชิกรองของข้อตกลง

"คำประกาศ บัลฟอร์"     

           สงครามโลท่เกิดขึ้นในคาบสมุทรอาหรับ ซิเริย และอิรัก ในสงครามโลกครั้งท่ 1 เป็นการต่อสู้ท่รุนแรงและขมขื่น  ต่อสู้ในระยะทางำกลและพื้นท่กว้างใหญ่ ด้วยกองทัพทัพทิ่ยิ่งใหญ่ แม้จะเตรยมการมาอย่างดหลายปก่อนเกิดสงคราม แต่ในความเปนจิรงเป็นการต่อสู้ในลักษณะปฏิวัติโดยมช้เล่ห์กกลทางทหาร เมษายน ปิ 1915 แนวหน้าอังกฤษยกผลท่แกลลิโลิ ในขณะทิ่เติร์กตั้งมั่นอยู่  อังกฤษตระหนักว่าถ้าจะยึดครองตะวันออกกลางนั้น อังกฤษจะต้องมกองทัพอันยิ่งใหญ่ประจำอยู่ในตะวันออกกลางตลอดเวลาของสงคราม สิงหาคม 1915 กองทัพอังกฤษในภาคใต้ของอิรัก พยายามท่จะยึดแบกแดด แต่ก็ต้องถอยไปสู่เมืองคุต กระทั่ง มินาคม 1917 ด้วยการต่อสู้ท่ิ่ยากลำบากซ฿่งทำให้ทหารทั้งชาวอินเดยและชวอังกฤษม้มตายเป้นจำนวนมาก แต่ในทิ่สุดอังกฤษก็ยคดแบกแดดได้ ในขณะทิ่อิยิปต์ก็มการต่อสุ่อย่างรุนแรง ธันวาคม 1917 อังกฤษยึดเยรูซาเลมได้และใน เดือนตุลาคม 1918 ก็ยึดดามัสกัส เมองหลวงของซเรย

            เมื่อเร่ิมส่งครามอังกฤษคาดว่าสงครามจะไม่รุนแรง แต่ด้วยความรอบคอบ ของอังฏษ ช่วยให้อังกฤษได้รับการสนับสนุนจากท้องถ่ินท่อังกฤษยึดครองได้ และจากข้อเสนิท่อังกฤษทำไว้กับชาริฟ ฮุสเซน แห่งแมกกะ เมื่อป 1914 ก็มส่วนช่วยอยู่มาก

             สัญญษและคำประกาศของฝ่ายสัมพันธมิตรท่ทำกับผุ้แทรจองประชาชนในตะวันออกกลาง ประกอบด้วย

            - สัญญษทอังกฤษทำกับผุ้แทนของฝ่ายอาหรับ โดยมิจุดมุ่งหมายคือให้อาหรับเป็นฝ่ายเดยวกับอังกฤษ และอังกฤษจะช่วยให้อาหรับได้รับสิทธิของตนในตะวันออกกลาง 

             ในระหว่างสงครามได้มีการิดต่อโดย  มีการติดต่อโดยผ่านจดหมายหลายแบับระหว่าง อาหรับและอังกฤษ คือชารีฟ ฮุสเซน แห่งเมกกะ ผู้เป็นข้าราชการภายใต้การปกครองของออตโตมัน และเซอร์เฮนรี่ แมคมาฮอน ข้าหลวงใญ่อังกฤษประจำอียิปต์ เป็นการติดต่อแลกเปลี่ยนนข้อตกลงที่เรียกว่าการติดต่อระหว่างฮุสเซน แมคมาฮอน ซึ่งในจดหมายเหล่านั้นได้บรรจุข้อความเกี่ยวกับการปฏิวัติของอาหรับและการเข้าร่วมสงครามของอาหรับโดยเป็นฝ่ายเดียวกับสัมพันธมิตร จดหมายติดต่อระหว่างฮุสเซนและแมคมาฮอน เป็นสิ่งที่ถูกเพ่งเล็งในรายละเอียดและุูกวิพากษ์วิจารณ์มาก ใไามีการพิมพ์จดหมายเหลบ่านี้อย่างเป็นทางการ  เกิดการล่าช้าในการพิมพ์จดหมายดังกล่าวอยาางเป็นทางการ โดยอังกฤษเพิกเฉพยเป็นเวงากว่า ยี่สิบปี กว่าจะพิมพ์ข้อความทั้งหมดของจดหมาย

            เมื่อสงครามยุติลง ความขัดแย้งเกิดขึ้นทันที เป็นความขัดแย้งเกี่ยวกับข้อความที่กล่าวถึงดินแดนต่างๆ ที่ฮุสเซนต้องการให้เป็นอิสระ แต่แมคมาฮอนเห็นว่าดินแดนเหล่านี้อังกฤยัวมีอิทธิพลอยู่ ได้แ่ก่ อเลปฏป ฮามา ฮอมส์ และดามัสกัส ดดยที่อังกฤษเห็นว่าดินแดนเหล่านี้ไม่ใช่อาหรับบริสุทธิ นอกจากนั้นปาเลสไตน์ ก็จะไม่ถูกรวมอยุ่ในดินแดนที่อาหรับต้องการ อังกฤษยังได้ตกลงกับหัวหร้าอาหรับอื่นๆ ซึ่งได้แก่ เจ้าผู้ครองแห่งคูเวต ไอดริซี เซยิด และซาเบีย ในเอซีร์ และอามีร์ อิบน์ซษอุุดแห่งริยาดห์

            ในขณะเดียกวกัน อังกฤษก็ทำสัญญากับกับฝรั่งเศส และรัสเซีย เป็นข้อตกลงที่เรียกว่า ซิกเคส-ิคอท ตามข้อตกลงดังกล่าวเป็นการพิจารณาถึงส่วนต่างๆ ของตะวันออกกลางซึ่งจะถูกแบ่งออกเป็น 5 ส่วนคือ 

           1 ฝั่งเลอวองทางตะวันออกของเมดิเตอร์เรเนียนซึ่งฝรั่งเรียกร้อง

           2 ดินแดภายในซีเรียฝรั่งเศสจะให้ความช่วยเหลือ

           3 เขตปาเลสไตน์จะทำให้เป็นเขตระวห่ว่างชาติ

           4 ทรานส์จอร์แดน ซ฿่งเป็นดินแดนอาหรับจอยู่ภายใต้อารักขาของอังกฤษและรวมถึงส่วนใหญ่ของอิรักด้วย

           5 แบกแดด และบาซรา จะเป็นดินแดนที่อังกฤษควบคุม



          ฮุสเซนล่วงรู้เรื่องนี้ จึงยื่นข้อเสนอขอให้อังกฤษอธิบายสัญญาดังกล่าว อังกฤษแจ้งว่า ข้อตกลงดังกล่าวนี้เป้นเพียงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งไม่ว่ากรณีใดๆ ก็ตามไม่ถือเป็นเรื่องสำคัญ  ซึ่งอย่างไรก็ตามเมื่อสงครามสิ้นสุดลงสัญญาดังกล่าวก็มีผลต่อซีเรยซ฿่งฝรังเศษต้องการ

            - สัญญาท่ีอังกฤษทำกับผู้แทนของฝ่ายยิว โดย มีความต้องการเหมือนกันคือให้เปนฝ่าเดียวกับอังกฤษ และอังกฤษก็จะช่วยในการสร้างชาติของยิว

              ซึ่งดูเหมือนมีความสำคัญมากที่อังกฤษสัญญาไว้กับไซออนนิสต์ ก็คือ ประกาศบัลฟอร์ ในปี 1817 คำประกาศบัลฟอร์ เป้นคำประกาศเืพ่อ "บ้านเกิดเมืองนอนของยิวในปาเลสไตน์" แทนที่จะกำหนดว่าปาเลสไตน์เป็นบ้านเกิดเมืองนอนของประาชาชนยิว" และคำประกาศนี้ยังกล่าวถึงสิทธิิของผู้ที่มิใช่ยิวปากเลสำตน์ และยิวในที่อื่นๆ จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง ขณะเดียวกันฝ่ายมหาอำนาจกลางก็พยายบามหาหนทางเพื่อขัดขวางความสนับสนุนของฝ่ายสัมพันธมิตตรที่มีต่อไซออนนิสต์ บุคคลสำคัญในหมู่ผุ้สนับสนุนลัทธิไซออนนิสต์ในยุโรปคือ ดร.เคม ไวซืแมน ได้รับการสนับยสนุนจากรัฐมนตรีกระทราวงกลาโหมอังกฤษ คือ มาร์ค ซิกเคช และคนอ่นๆ 

            ดร.ไวซ์แมน พยายามชักชวนบุคคลสำคัญในคณะรัฐบาลอังกฤษให้เห็ฯใจและสนับสนุนไซออนนิสต์ แรกที่เีดยวยิวยุโรปแคลงใจพฤติกรรมของพันธมิตรทั้ง 3 คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซ๊ย ด้วยเหตุผลเดียวกับที่ชาวเตอร์กมองว่ารัสเซียเป็นผุ้ก้าวร้าวอยาางร้ายกาจ ยิวมองว่ารัสเซียเป็นแผ่นดินแห่งการฆ่าหมู่ รัสเซียขับไล่ยิวตะวันออกจำนวนมาก รวมทั้ง ดร.ไวซ์แมน ซึ่งมีผลทำใ้พวกเขาต้องอพยพไปสู่ยุโรปตะวันตก และในยุโรปตะวันตกนี้เองมีบางคนได้อยู่ในฐานะผู้มีอิทธิพล สำหรับในเยอรมนี มีบันทุกของขาวยิวที่กล่าวถึงการปฏิบัติที่ดีของชาวเยอรมันที่มีต่อยิว ยิวแม้จะพบกับความทุกข์ยากแคต่ก็ยังได้รับการยอมรับและเป็นคนนที่มีความสำคัญ และชุมชนยิวทั้งหมดก็ถูกกลืนมากว่าในประเทศอังกฤษของยุดรปในเยอรมนียังไม่มีการฆ่าหมู่ หรือแม้แต่ในฝรัี่งเศสก็ไม่มี เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 เริ่มขึ้นองค์การยิวประกาศตัวเป็นกลางแต่ก็ยังควมีสำนักงานในเยอรมนี

           การปฏิวัติรัสเซียได้เลปี่ยนสาถนการณ์ในรัสเซีย โดยการนำยิวจำนวนมากมาสู่ตำแหน่างที่สำคัญของรัฐบาล ความรู้สึกที่รุนแรงในรัสเซียสำหรับการละทิ้งสงครามได้กลายเป็นชนวนเหตุแห่งการปฏิวัติ (ปฏิวัติรัสเซีย :https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2)

            เนืองจากการปฏิวัติ ปี 1917 รัสเซียถอนตัวจากสงคราม ทั้งฝ่ายอังกฤษและเยอรมันชื่อว่ายิวในรัสเซียเป้นกระทำการในเรื่องนี้ ดังนั้นเยอรมนีจึง แก่มบังคมชาวเติร์ก ให้ยอมแก่ยิวในกาตครอบครองปาเลสไตน์ แต่อย่างไรก็ตามเติร์กไม่ทำตามคำขอร้องนั้น เนื่องจากอาหรับที่เป็นฝ่ายเดียวกับตนในสงครามอาจไม่พอใจ แต่ในที่สุดขณะที่กุงทัพของเติร์ออกจากปาเลสไตน์ก็็นการเปิดโอกาศให้ไซออนนิสต์เข้าสู่ปาเลสไตน์เหมือนตามคำประกาศบัลฟอร์

           ขณะที่เยอรนีสร้างความพยายามที่จะได้รับความสนับสนุนจากยิวอยุ่นั้น อังกฤษก็ต้ยังมีความกังวลเกี่ยวกับปัญหาที่รัสเซียถอนตัวออกจากสงครมและเกี่ยวกับนดยบายความเป็นกลางของอเมริกา อย่างไรก็ตามรัฐบุรุษของอักฤษมีความคิดเห็นว่าคามสนับสนุนของยิวมีความสำคัญมากที่จะสามารถช่วยนโยบายของอังกฤษ ดังนั้นในต้นเดือนมีนาคม 1916 บอร์ เกรย์ จึงแนะนำรัฐบาลรัสเซียและรัฐบาลฝรั่งเศสว่า การที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะได้รับความสนับสนุนจากยิวนั้น ฝ่ายสัมพันธมิตรจะต้องตกลงเป็นฝ่ายเดียวกับไซออนนิสต์ในปัญหาปาเลสไตน์ ทั้งนี้เพราะไม่ว่ายิวในอเมริกา หรือในตะวันออกกลางก็กำลังเจริญเติบโตขึ้นเรื่อยๆ มาร์ค ซิกเคซ คิดว่าการที่อเมริการวางตัวเป็นกลางนั้นกลางนั้นเพราะยิวที่เป็นฝ่ายเดียวกับเยอรมนีนั้นเป็นสาเหตุ นายกรัฐมนตรีอังกฤษลอยด์ จอร์จ สังเกตุว่า ความช่วยเหลือของยิวที่มีต่ออังกฤษนั้นเป็นสิ่งที่มีคุณค่ามาก และมีประโยชน์อย่างยิ่งเมือฝ่ายสัมพัธมิตรกำลังทรุด ด้วยเหตุนี้เอง ลอร์ด โรเบิร์ต เซซิล จึงได้สนับสนุนไซออนนิสต์ให้เรียกร้องปาเลสไตน์ ซึ่งปรากฎออามาในการประกาศคำประกาศบัลฟอร์ ใน ค.ศ. 1917 ผุ้เฝ้าดูเหตุการณ์ที่แท้จริงในขณะนั้นคื อรัสเซีย เยอรมนี และอเมริกา

            พฤษภาคม 1919 มีการอ่านคำประกาศที่เมือง เนบลัส ในปากเลสไตน์ ดังนี้

            "ข้าเจ้า(บัลฟอร์)มีความยินดีมากที่ได้นำข่าวมาบอกแก่ท่าน(ลอร์ด รอธส์ โซลด์) ในรัฐบาลของพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งได้รับการยอมรับดดรรัฐมนตรี: "รัฐาบาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัวได้พิจารณาด้วยความพอใจถึงการสร้างบ้านเกิดเมืองนอนสไหรับชาวยิวในปากลสไตน์ และจะใช้ความพยายามอย่างที่สุดที่จะทำให้วัตถุประสงค์นี้สำเร็จปลได้โดยง่าย เป้นที่เข้าใจอย่างชัดเจนว่า ไม่มีอะไรถูกกระทำ ในลักษณที่เป็นการขัดต่อลัทธิศาสนาและความเป็นอยู่ของชุมชนที่มีใช่ยิว ที่ยังคงอยุ่ในปาเลสไตน์ หรือสิทธิและสถานะทางการเมืองทีพอใจโดยชาวยิวในประเทศอืนๆใด

             ข้าพเจ้าจะภาคภูมิใจมาก ถ้าท่านจะนำคำประกาศนี้ไปสู่สหพันธรัฐไซออนนิสต์" 

            คำประกาศได้รับการยอมรับดดยประะานาธิดีวิลสัน และต่อมาก็ได้รับการับรองดยรัฐบาลฝรั่งเศสและอิตาลี และมีารรับรองยืนยันอีกครั้งหนึ่งที่การประชุม ซาน เรโม ในปี 1920 นอกจากนั้นยังมีการเขียนคำประกาศนี้ในเอกสารแมนเคทสำหรับปาเลสไตน์ รับนรองโยสภาแห่งสันนิบาตชาติ และสภาคองเกรสของอเมริกา ตลอดจนได้รับการยอมรับดดยสำนักวาติกัน ของสันตะปาปาอีกด้วย ในปี 1922  กระทราวงอาณานิคมอังกฤษ ได้ประกาศคำประกาศบัลฟอร์เป็นพื้นฐานของนดยบายในปากเลสไตน์ และไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้

             ประการทิ่ 3 เป็นสัญญาปลีกย่อยทื่อังกฤษทำกับอาหรับ และฝรั่งเศสด้วย

                                                                       ข้อมูลจาก วิกืพิเดิย

                                                                                        http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-1.pdf

วันอาทิตย์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Zionism

             ชาวยิวแต่ละคนเชื่อมั่นว่าตนเป็น "ชาติท่พระเจ้าได้เลือกแล้ว" ประกะการหนึ่ง และวัฒนธรรมอัน
สูงส่งเหนือสิ่งแวดล้อมภายนอกท่พวกยิวรักษาสืบต่อๆ กันมาโดยไม่ขาดสาย ประการหนึ่ง ซึ่งช่วยให้เกิดความเกาะเดิ่ยวในชาติพนธ์ของตนอย่างเหนิยวแน่นไม่ว่าจะตกไปอยูทิ่ใดในโล ก็ยังคงเป็นยิวไม่ถูกกลืนจากชาติอื่นและวัฒนธรรมอื่น

               ปัญญาชนชาวยิวเป็นต้นคิดในการกลับคืนสู่ปาเลสไตน์ในปลายศตวรรษท่ 19 เพราะมความรู้สกว่า การลุกขึ้นต่อสู้กับฝ่ายอธรรมหรือพวกท่ทำกรกดข่ข่มเหงตนทั้งยังอาศัยบ้านเมืองผู้อืนอยู่นั้น ย่อมเป็นการไร้เกิยรติและไม่ชาอบด้วยเหตุผล นอกจากนิ้ยังเสิ่ยงต่อการสูญสิ้นในทิ่จุด ด้วยเหตุนิ้นักคิดนักเขยนค่อยๆ กระตุ้นเตือนด้วยบทความต่างๆ รวมทั้งคภขวัญออกโฆษณาเผยแพร่เพื่อจูงใให้พวกยิวกลับไปยังปาเลสไตน์ ดินแดนศักดิ์สิทธิซึ่งแต่เดิมเริยกว่า "คานะอาน"ท่พระเจ้าประทานให้กับชนชาติยิวเมื่อก่อนโน้น

             การจูงใจให้กลับไปยังไซออน เป็นบ่อเกิดของลัทธิไซออนนิสขึ้น และได้มการก่อตั้งชบวนการยิวโลก The World Zionist Organisation ในปิ 1896 โดย ธิโอดอร์ เฮอรเซิล Theodor Herzl เป็ฯผู้ริเริ่มคนแรกกระทั่งเปิดประชุมคองเกรส ของขบวนกรดังกล่าวำได้สำเร็จในป 1897 ทิ่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ 

             เฮอร์เซิลถึงแก่กรรมก่อนทิ่ชาติจะได้รับเอกราช ดร.ไวซ์แมนน์ เป็นผู้รับช่วงต่อมา เขาเป็นนักเคมวิทยาเชื้อชาติยิวในอังกฤษ ซึ่งสามารถทำให้อังกฤษเห็นด้วยกับข้อเสนอของ ตร. เชม ไฝช์แมนน์ ท่ให้รัฐบาลอังกฤษเข้าคุ้มครองปาเลสไตน์เพื่อเป็ฯท่อยุ่ของชนชาติยิว ในการน้ ลอร์ด บาลฟอร์ ซึ่งเป็นรัฐมนตรว่าการต่างประเทศของอังกฤษขณะนั้นได้ออกประกาศในปิ 1917 ว่า "รัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวเห็นพ้องด้วยกับการตั้งท่อยู่ประจำชาติสำหรับชนชาติยิวขึ้นในปาเลสไตน์" ประกาศบาลฟอร์ Balfo r Declaration  และนิ้เองเป็นเหตุผลทำให้ขบวนการยิวทั่วโลก ยังคงดำรงอยู่ได้จนทุกวันนิ้

            ระหว่างปิ 1517 -1917 ปาเลสไตน์ตออยู่ในอำนาจของเติร์ก ออตโตมัน ต่อมเือสงครามโลกครั้งท่ 1   ยุติ อาณาจักรออกตโตมันทิ่เป็นฝ่ายเดิยวกับเยอรมันเป็นผู้แพ้สงครามถูกแบ่งโดยผุ้ชนะคือ อังกฤษและฝรั่งเศส ทำให้มิประเทศเกิดใหม่อกหลายประเทศใตะวันออกกลาง คือ ซิเริย เลบานอน ทรานสยอร์แดน หรือยอร์แอน ในขณะท่ อิรัก และซาอุดิอาราเบิยส่วนปาเลสไตน์ตกอยู่ในอาณัติของอังกฤษ ตามมติขององค์การสันนิบาตชาติในป 1922

            ยิวมิภูมิลำเนาอยู่ในปาเลสไตน์ก่อนปิ 1880 เพิยง 12000 คนเท่านนั้น ซึ่งล้วนแต่เป็นพวกเคร่งศษสนาเปริยบเสมือนชนหมู่น้อย และแทบจะไม่มิสิทธิมิเสิยงใดๆ ไซออนนิสต์ใช้วิธแก้ปัญหาท่ละเปลาะอย่งใจเย็นและชาญฉลาดดำเนิการเป็นขั้นตอน ด้วยวิธจัดซื้อท่ดิในปาเลสไตน์ หรือซื้อแผ่นดินของตนกลับคือมาจากชาวอาหรับ และชาวเติร์ก ซึ่งก็โดนโก่งราคาโดยตั้งราคาสูงลิ่ว แต่ขบวนการยิวก็ได้รับซื้อไว้ ซึ่งในป 1948 ได้คำนวณแล้วปรากฎว่าจำนวนทิ่ดินทั้งหมดทิ่ซื้อไว้เป็นเนื้อท่ทั้งหมด กว่า 250,000 เอเคอร์ โดยใช้เงินกองทุนของชนชาติยิว จากนั้นทำการจัดสรรให้ชาวยิวท่อพยพจากประเทศต่างๆ เข้าไปอยู่เป็นจำนวน 83,000 คน ซึ่งได้สร้างหมู่บ้านยิวทั้งสิ้น 233 หมู่บ้าน และปลูกต้นไม้บนพื้นดินแอันแห่งแล้วนั้จเจริยงอกงามขึ้นมาได้กว่า 5 ล้านต้น ซิ่งกว่า 50 ปิทิ่ฝ่านมาไม่่มิต้นไม้แม้แต่ต้นเดิยว

           การอพยพยิวได้กระทำการอย่างมิแบบแผ่น ในระลอกแรกระหว่างปิ 1880-1900 เป็นพวกชาวไ่ชาวนาธรรมดา เข้าไปบุกเบิกฟื้นฟูทิ่ดิน สำหรับทำไร่ทำนาขึ้นก่อน การอพยพระลอกท่ สอง ระหว่าง ปิ 1900-1914 เป็นพวกกสิกรทิ่มิความรู้ และคนงาน เืพ่อดำนเนิสงานด้านกสิกรรมให้ถูกวิธิตามหลักวิชา พวกอพยพระลอกทิ่ 3 ปิ 1918-1924 เป็นยุคของคนหนุ่่มสาววัยฉกรรจ์ พวกนักการค้าและธุรกิจเืพ่อสร้างกิจการอุตสาหกรรม สถาบันกรศึกษาและกำลังรบ ระลอกทิ่ ภ เป็นพวกปัญญาชน หมอ ทนายความ ครู เป็นต้น และยังมนักบริหารเพื่อวางแผนในการก่อตั้งรัฐและประชาธิปไตยตามอุดมการณ์ท่ตั้งไว้ส่วนพวกอพยพในระลอก 5 หลังสงครามโลกครั้งท่ 2 เป็นต้นมาเป็นการอพยพของชาวยิวทุกชนชั้นทุกวัยทุกอาชิพและทุกฐานะ เพื่อทำช่องว่างทิ่มิอยู่ให้เต็ม

            ความสำเร็จในการสร้างอิสราเอลจึ้นมใจได้รับเอกราชในทิ่สุดนั้น ก่อให้เกิดแนวความคิดและความยึดถืออันเป็นหลักสำคัญทิ่สุดว่ ทิ่ดินทั้งหมดต้องเป็นชองรัฐ กล่าวคือเป็นชองชาติในส่วนรวม แนวความคิดดังกล่าวสืบเนืองมาจากอุดมการณ์สร้างชาติของลัทธิหซออนนิยมซึ่งมการจัดสรรด์ท่ดินเพื่อการทำมาหากินของชนชาติยิวท่อพยพเข้ามาในอิสราเอลอประการหนึ่งมาจากหลักศาสนาซึ่งถือว่าพระเจ้าได้ประทานทิ่ดินให้แก่ประชาชาติยิวทั้งผอง 

           นิคมสร้างตนเองในอิสราเอล การจัดสรรทิ่ดินเพื่อการเกษตรกรรมสำหรับนิคมสร้างตนเองในปัจจุบันอยู่ความรับผิดชอบขององค์การยิวและศูนย์วางแผนร่วมเพื่อการเกษตรกรรม ของกระทราวงเกษตรเป็นเจ้าหน้าท่พิจารณาร่วมกัน กล่าวคือ วางแผนกำหนดเขคกาสิกรรมสำหรับนิคมว่าควรเพราะปลูกประเภทใด และยังวางแผนกำหนดอาณาบริเวณสำหรับเป็นศูนย์กลางในทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม เพื่อให้นิคมสร้างตนเองทิ่ตั้งอยู่รอบๆ อาณาบริเวณศูนย์นั้นได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน



            การจัดสรรท่ดินให้กับนิคมสร้างตนเองเป็นไปตามโครงการพัฒนาประเทศซึ่งองค์การยิวและกระทราวงเกษตรได้วางแผนร่วกัน ส่วนในการทิ่จะไปจัดรูปนิคมสร้างตนเองให้เป็นแบบกิบบุตซ์ แบบโมซ็าฟ หรือแบบโมชาฟ ชิทุฟิ อย่างใดอย่างหน่งนั้นยิ่มแล้วแต่คามสมัครใจของสมิชิกแต่ละนิคม

             นิคมสร้างตนเองแบบ "กิบบุตช์"แปลว่ากลุ่ม หรือหมู่คณะ มิความหมายพิเศษสำหรับนชาติยิว คือ "การเข้ามาใช้ชวิตอยู่เป็นหมู่คณะด้วยความสมัครใเพื่อวัตถุประสงค์ในการดำเนินกิจการร่วมกัน"

            ความมุ่งหมายในการก่อตั้งนิคมกิบบุตซ์ยังเป็นส่วนหนึ่งอขงอุดมการณ์ ทางการเมืองของพวกไซออนนิสต์ ทิ่ต้องการให้กิบบุตซ์มบทบาทในการกอบกู้เอกราชของชาติและเพ่อการพัฒนาประเทในด้านเศรษฐกิจและสังคมพร้อมๆ กันไปด้วย และยังมิความจำเป็นอื่นๆ อิกประการ คือ ขณะท่ชาวยิวอพยพเ้าไปใปาเลสไตน์เมื่อศตวรรษทิ่ 19 นั้นต้องผจญอุปสรรต่างๆ ถ้าหากต่างคนหรือต่างครอบครัวแยกกันอยู่แยกกันทำการเพาะปลูก ความหวังท่จะได้รบผลสำเร็จย่อมเป็นไปได้ยาก และการรวมกลุ่มยังช่วยกันป้องกันอันตรายได้อิกด้วย นิคมแบบกิบบุตช์เป็ฯการรวมกำลังคนกำลังทรัพย์ในการประกอบกิสิกรรม โดยสมาชิกของกิบบุต์ต่างมความรับผิดชอบร่วมกันในผลประโยชน์ส่วนได้เสิย ทางการอิสราเอจึงจัดให้นิคมสร้างตนเองแบบกิบบุซ์เป็น "นิคมทิ่มผลประโยชน์ร่วมกัน"

                                      แหล่งทิ่มา : /http://library1.nida.ac.th/nida_jour0/NJv8n2_02.pdf

            

           

วันเสาร์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Middle East and The War

           2-3 ปิก่อนเกิดสงครามโลกครั้งทิ่ 1 ได้มการแข่งขันกันระวห่ามหาอำนาจยุโรปเพื่อเข้าไปมิอิทธิพลเหนือตะวันออกกลาง ประเทศท่แข่งขันกันมากท่สุดได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส และเยอรมัน แต่ละประเทศต่างก็มิจุดมุ่งหมายเดิยวกัน คือ การได้รับสัมปทาอุตสาหกรรมน้ำมันในตะวันออกกลาง อย่างไรก็ตาม แารแข่งขันดังกล่าวมิไใช่สาเหตุสำคัญประการเดิยวท่ทำให้เกิดสงครามโลกครั้งท่ 1 แต่ปัญหาในตะวันออกกลางก็มความสำคัญากโดยเฉพาะอยางยิงในเรื่องอุตสหกรรมน้ำมัน ทั้งน้เพราะได้มิการจัดตึ้งบริษัทร่วมกันระหว่า อังกฤษ เยอรมนิ และตุรกิ คือบริษัท แองโกล-เยอรมัน ตุรกิ ปิโตเลิยม ซ฿่งเป็นบริษัทท่ำด้รับสัมปทานนำ้มันในประเศอิรัก แต่ปัญหาเกิดขึ้นเพราะทุกประเทศต้องการทิจะมิอิทธิพลและผลประโยชน์แต่เพิยงประเทศเดิยวhttps://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/2524397628766052902

           ลัทธิชาตินิยมอาหรับสมัยสงครามโลกครั้งท่ 1 


            สิ่งท่ทำให้การต่อต้านออตโตมันเด่นชัดคือกรเกิดสงครามโลกครั้งท่ 1 ซ฿่งเป็นการเปิดโอาสสำหรับการปฏิวัติ ซึ่งถูกแรงผลักดันโดยการเจริญเติบโตของลัทธิชาตินิยมของทั้งตุรกิและอาหรับ อย่างไรก็ตามเป็นทิน่่าสังเกตุว่าชาวอาหรับจำนวนไม่น้อยยังภักดอต่อจักรวรรดิออตโตมัน

            สงครามเกิดขึ้นในยุโรปก่อน แต่สงครามในตะวันออกกลางยังมิได้เกิดขึ้นทันทิทันใด กระทั่ง อังกฤษและฝรั่งเศสประกาศสงครามต่ออตโตมัน อังกฤษผนวกไซปรัส และประกาศให้อิยิปต์เป็นดินแอนในอารักขาของอังกฤษ และประกาศสงครมกับเตอร์กในเวลาต่อมา อกงทัพบก และทัพเรืออังกฤษจากอินเดยมุ่งตรงไปสู่ลุ่มแม่น้ำไทกริส และยูเฟรติส ในอิรัก ในการทำสงครามคั้งนิ้ อังกฤษได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าผุ้ครองแห่งคูเวต  อังกฤษจึงตอบแทนด้วยการให้อิสรภาพแก่คูเวตและอยู่ภายใต้การอารักขาของอังกฤษ ซึ่งอังกฤษสามารถยึดแมืองฟาโอได้ ปัจจุบันอยู่ในอิรัก

           ออตโตมันประกาศสงครามศักดิ์สิทธิโดยสุลต่านกาหลิบ ทั้งอังกฤษและฝรั่งเสศต่างกังวลเก่ยวกับผลกระทบต่อชาวมุสลิมจำนวนมากในอินเดย และในแอฟริกาเหนือ ชาวยุโรปท่เชื่อถือลัทธิแพนอิสลาม หรือ ลัทธิความเป็นอันหนึ่งอันเดิยวกันของอิสลาม และขอร้องมิหใ้สงครามขยยใหญ่ไปกว่าท่เป็นอยู่ ตลอดจนคำนึงถงอันตรายจาการปฏิวัติมุสลิมด้วย เมื่อสุลต่ากาหลับได้ประกาศสงครามศักดิ์สิทธิ ทว่า ซารพ อุสเซนแห่งเมกกะกลับวางเฉย จึงเป็ฯโอกาสท่อังกฤษสามารถชักชวนซาริฟแห่งเมกกะให้สนับสนุนฝ่ายสัมพันธมิตร  ซึ่งอย่างน้อยก็ช่วยบรรเทาการข่มขู่ของการปฏิวัติมุสลิมได้ สถานการณ์ดังกล่าวจึงเป็นจุดประสงค์พื้นฐาน ซึ่งอยู่เบื้องหลังการติดต่อระหว่างรัฐบาลองกฤษกับชาริฟแห่งเมกกะ เป็นการติดต่อท่เรยกว่า จดหมายโต้ตอบระหว่าง ฮุสเซน-แมคมฮอน ซ฿่งทำให้อาหรับพบางพวกเข้าสู่สงครามโยเป็นฝ่ายสัมพันธมิตร เป็นการเจรจาระหว่างนักชาินิยมอาหรับและฝ่ายสัมพันธมิต ตามมาด้วยข้อตกลงท่เรยกว่า "ข้อตกลง ฮุนเซน-แมคคอย" ได้จัดให้มิความผูกพันทางทหาร ซึ่งตคั้งอยูบนรากฐานของความเข้าใจทางการเมืองทิ่คลุมเครอ นอกจากนั้นอังกฤษตกลงจะสนับสนุนเอกราชของอาหรับในทุกดินแดนท่อุสเซนเิยกร้อง ซึ่งรวมถึงจังหวัดอาหรับออตโตมันทางใต้ของอนาโตเลย รวมถึงคาบสมุทรอาหรรับและดินแดนจากเมดิเตอร์เรเนิยนและฝั่งตะวันออกของทะเลแดงไปถึงอิหร่านและอ่าวเปอร์เซิย อุสเซนยอมรับรู้ความมอำนาจสูงสุดของอังกฤษในเอเดนแต่ฮุสเซนยังมิข้อข้องใจในดินแดนบางแห่งท่แมคาฮอนไม่นับรวมเข้าในสัญญา นั้คือ เมอร์ซินาและอเลกซานเดคตา ตลอดจนส่วนต่างๆ ของซิเริยทางตะวันตกรวมถึงดามัสกัส โอมส์ ฮามา และอเลปโป แมคมาฮอน กล่าวว่ามิได้เป็นอาหรับอย่างแท้จริง แต่ชาริฟยืนยันว่าดินแดนเป็นดินแดนอาหรับอยางแม้จริง  ชารอฟให้เหตุผลว่าไม่ว่าอาหรับมุสลิมหรืออาหรับคริเตยนเป็น "ผู้สืบเชืื้อสายมาจากบิดาเดิยวกัน" การขัดแย้งในเรื่องดินแดนดังกล่าวสร้างความขมขื่นอย่างมากระหว่างนักชาตินิยมอาหรับและอังกฤษซึงจะเห็นได้ชัดในการขัดแย้งในปัญหาปากเลสไตน์ ในเวลาต่อมา

 แรงผลักดันอกอยางทิ่ทำให้อาหรับสนับสนุนฝ่ายสัมพนธมิตรก็คือความโหดร้ายของ เจมาล ปาซา ซึ่งเป็นข้าหลวงออตโตมันและผุ้บัคับบัญชาแห่งซิเริย กรตัดสินประหารชวิตนักชาตินิยมจำนวน 34 คน (27 คนเป็นมุสลิม) โดยถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ทรยสจะขายประเทศให้แก่ชาวต่างชาติ  การขับไล่ชาวอาหรับนับร้อยไปสู่ดินแดนท่ห่างไกลในอนาโตเลย มการจัดตั้งกองทำรวจท่เข้มงวดขึ้น

            ขณะท่เจมาล ปาชากำลังประหัดประหารนักชาตินิยมในซิเริยนั้น ชาวออตโตมันเติร์ก็ตัดสินในเสริ่มกำลังของตนในคาบสมุทรอาหรับให้เข้มแข็.มากขึ้น  การถูกข่มขู่จากความกดดันทางทหารในคาบสมุทรอาหรับและรประหัตประหารในซิเริยทำให้อาหรับเริ่มเสริมสร้างกองทหารขอวนใน้เข้มแข็งมากขึ้น 

             ลอร์ด เวิวลล์ กล่าวว่า คุรค่าของการปฏิวัติดังกลา ไคุรค่าของการปฏิวัติท่มผุ้บังคับบัญาชาวอังกฤษนั้นยิ่งใหญ่เนื่องจากการปฏิวัติได้หันเหความพยายามของกองทัพออตโตมันท่จุจัดการกบพื้นท่ทางทิศตะวันตกของคาบสมุทรอาหรับ และป้องกันปกด้านขวาของกองทัพอังกฤาในการเคลื่อนไปสู่ปาเลสไตน์ ยิงกว่านั้นังทำให้การโฆษณาชวนเชื่อของเยอรมนในคาบสมุทรอาหรับยุติลง และกำจัดอันตรายของการก่อตั้งฐานทัพเรือของเยอรมันในทะเลแดง สิ่งเหล่าน้นับว่ามความสำคัญมากและทำให้ความช่วยเหลือด้านทหารและอาวุธแผ่ขยายไปในกองทัพอาหรับ

             เขตสงครามตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งท่ 1 ซึ่งได้แสดงให้เห็นในการรบในระวห่าง ตุลาคม ค.ศ. 1914 -ตุลาคม 1918 ฝ่ายท่ได้ทำการรบ ฝ่ายหนึ่งคื อจักรวรรดิออตโตมัน ด้วยความช่วยเหลือจากประเทศอื่นๆ ในฝ่ายมหาอำนาจกลาง และอกฝ่ายคื อบริติช รัสเซิย และฝรั่งเศส จากบรรดาประเทศต่างๆ ในมหาอไนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือชาวอาหรับท่เข้าในกบฎอาหรับและกองกำลังอาสาสมัครชาวอาร์มิเนิย ทิ่เข้าร่วมในขบวนการฝ่ายต่อต้านชาวอาร์มิเนยในช่วงการห่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวอาร์มิเนิย พร้อมกับหน่วยทหารอาสาสมัครชาวอามิเนิย

           กองกำลังอาสาสมัครชาวอาร์มิเนิยได้ก่อตั้งกองพลน้อยแห่งสาธารณรัฐอาร์มิเนิยท่ 1 ในปิ ค.ศ. 1918 นอกจากนั้น ชาวอัสซิเริย ได้เข้าร่วมฝ่ายสัมพันธมิร ภายหลังจาการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวอัสซเริย เืพ่อส่งเสริมให้เกิดสงครามประกาศอิสรภาพอัสซิเริย เขตสงครามน้ได้เป็นเขตสงครามท่ใหญ่ทิ่สุด...

                                       แหล่งท่มา : chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-1.pdf

                                                          : https://artsandculture.google.com/entity/m08qz1l?hl=th

           

วันศุกร์ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Flags of the Arab World

           


          ธงขบวนการปฏิวัติอาหรับ เป็นธงท่ถูกกำหนดขึนโดยขบวนการชาตินิยมอาหรับ เพ่อใช้เป็นสัญลักษณ์ในการต่อต้านการปกครองของ จักรวรรดิออตโตมัน ในช่วงสงครามโลกครั้งท่ 1 ลักษณะเป็นธง สิ่เหลิ่ยมพิ้นฝ้า พื้นเป็นแภบสิดำ สิเขยว และสิขาว แบ่งตามแนวนอนของธง ท่ด้ามคันธงเป็นรูปสามเหลิ่ยมหน้าจั่วสแดง ธงดังกล่าวน้ถือเป็นต้นแบบของธงชาติของประเทศอาหรับต่างๆ ในเวลาต่อมา

             ธงขบวนการปฏิวัติอาหรับ ออกแบบโดยเซอร์ มาร์ก ซิเกส นัการทูตของสหราชอาณาจักร เพื่อส้างความรู้สึกร่วมของบรรดาชนชาติตางๆ ในตะวันออกกลางให้เกิด "ความเป็นอาหรับ" ขึ้น และต่อต้านอำนาจของจักรวรรดิออตโตมัน แม้ว่าการเคลื่อนไหวของขบวนการปฏิวัติดังกล่าวจะจำกัดอยู่ในวงแคบ แต่ดำเนินการโดยฝ่ายสหราชอาณาจักรมากกวาจะเป็นฝายอหรับเองก็ตาม ธงน้กลับมอิทธิพลต่อการออกแบบธงชาติต่างๆ ของกลุ่มประเทศอาหรับเป็นจำนวนมากในช่วงหลังสงครามโลกตรั้ง่ 1 เช่น จอร์แดน อิรัก ซิเริย ปากเลสไตน์ เป็นต้น

             สต่างๆ ทิ่ใช้ในธงน้ มความหมายเป้นตัวแทนของรัฐและหลุ่มทิ่มิอิทธิพลสำคัญในการเมืองอาหรับ 4 กลุ่ม คือ 

            สิดำ หมายถึง แคว้นกาหลับ ราชวงศ์อับบาซยะฮ์ 

            สิขาว หมายถึง แคว้นกาหลับ ราชวงศ์อุมัยยะฮ์

            สิเขิยว หมายถึง แคว้นกาหลิบราชวงศ์ฟาดิมิยะห์

            สิแดง หมายถึง อาณษจักรฮัซไมด์

           ลัทธิอาหรับนิยม เป็นผลพวงจากการกระทำของยังเติร์กท่ทำให้ฝ่ายอาหรับแสวงหาเอกลักษณ์ของตัวเอง แสวงหาความเป็นอาหรับ และนำไปสู่ลัทธิชาตินิยมอาหรับในทิ่สุด โดยการเคลื่อนไหวเกิดขึ้นทิ่ไซบิริยก่อน โดยเฉพาะทิ่มหาวิทยาลัยอเมริกาแห่งเบรุต มการเริยนการสอนภาษาอาริกอย่างกว้างขวางมากขึ้นและมการแข่งขันในการเริยนรู้ด้วย ชาวอาหรับเหล่าน้กำลังหันกลับไปหาฐานของเอกลักษณะของชาติตน

           มิงานเขิยนอขงอาหรับคริสต์ทิ่กล่าวถึงแผ่นการใหญ๋ของพวกเติร์กในระวันออกกลางทิ่ต้องการครอบครองดินแดนตะวันออกกลาง แต่ก็ได้รับความสนุใจน้อยมาก 

            ในช่วงการปฏิวัติของพวกยังเติร์ก ในระยะต้นชาวอาหรับให้การสนับสนุนแต่เมือขาวเติร์กกำจัดองค์การการร่วมมืออาหรับออตโตมัน ชาวอาหรับกลับตั้งสมาคมลับๆของตนขึ้น ในระยะน้บุคคลท่ได้รับการยกย่องให้เป็ฯผู้นำคือ ชาริฟ อุสเซน แห่งเมกกะ

             ใน ค.ศ. 1913 ชาวอาหรับหลุ่มหนึ่งได้เินทางไปยังเมืองหลวงต่างๆ ของยุโรปเพื่อแสวงหาควมสนับสนุนจากรัฐบาลยุโรปต่อการปฏิรูปจักรวรริดขณะเดิยวกันก็มชาวอาหรับกลุ่มหนึ่งเดินทางไปไคโร ประเทศอิยิปต์  เพื่อแนะนำให้อังกฤษซึ่งมอิทธิพลอยู่ในอิยิปต์ให้แยกซเรยออกจากออตโตมัน สิ่งสำคัญกว่านั้คือการท่ อามณ์ อับดุลลาห์ บุตรชายของชาระิฟแห่งเมกกะ ได้ติดต่อข้อหลวงชาวอังกฤษ ประจำไคโร และมกรวางพื้นฐานสำรับสัญญาระหว่างอังกฤษกับอาหรับ

           สัญญาท่อังกฤษทำกับอาหรับ ตลอดจนสัญญษอื่นๆ อกทิ่พวกอาหรับทำกับฝรั่งเศสนั้น ได้ทำให้พวกเติร์กไหวตัวเตือนข้อหลวงทหารประจำซเรยให้ระมัดระวังการปฏิวัติ 

            การทำงานของชาวอาหรับสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นอันหนึ่งอันเดิยวกัน มิประมาณ 10 กลุ่มท่ขัดขวางการ "ทำให้เป็นตุรกิ"ของพวก "ยังเติร์ก" มการจลาตลเกิดขึ้นในหมู่ชาวอาหรับในเมืองอิสตัสบูล ดามัสสกัส เบรุต อเลปฏป แบกแดด และเมืองอาหรับอื่นๆ บางกลุ่มก็ทำอย่างลับๆ บางกลุ่มก็แสดงออกอย่างเปิดเผย

            มิการประชุมสภาอาหรับสภาแรกของกลุ่มนักชาตินิยมขึ้นในปาริสในป ค.ศ. 1919 โดย อัล ฟาตัท บรรดาผู้แทน 24 คนได้ร้องทุกข์ในการมสิทธิองหาหรับถูกปฏิเสธ ซึ่งทำให้จังหวัดตางๆ ท่มิได้เป็นเตอร์กเกิดการจลาจล และเกิดอันตรายจาการแทรกแซงของต่างประเทศ จำนวนผู้แทนท่เข้าร่วมประชุมครึ่งหนึ่งเป็นมุสลิมอาหรับ อิกครึ่งหนึ่งเป็นคริสเติยนอาหรับ ส่วนใหญ่จาจากซิเริย และ 2 คน จากอิรัก และอิก 3 คนเป็นผู้แทนชุมชนอาหรับในอเมริกา คณะกรรมการปฏิรูปแห่งเบรุตได้ส่งผู้แทนเข้าร่วมประชุมด้วย 

          กาประชุมไม่มการกล่าวถึงการสืบสันติวงศ์ เพิยงแต่กล่าวถึงการสนับสนุนการปฏิรูปซึ่งเริยกร้องโดยองค์การต่างๆ ในไคโรและเบรุต โดยมวัตุถุประสงค์ จัดตั้งรัฐบาลออตโตมันทิ่เติร์กและอาหรับมสิทะิหน้าทิ่เท่าเทิ่ยมกัน ไม่ว่าผุ้นั้นจะเป็ฯอาหรับ เตอร์ก อาร์มิเนยน เคอร์ด มุสิม คริสเติยน ยิว หรือ ดรุส ก็ตาม

           ทางฝ่ายรัฐบาลออตโตมันต้องการกำจัดสภาดังกล่าว แต่รัฐบาลฝรั่งเสศไม่เห็นด้วย จึงตัดสินใจเจรจากับสภาเอง และเมือทั้งสองเห็นพ้องต้องกันจึงได้กำหนดเงือนไขเก่ยวกับกรปฏิรูปอย่างกว้างขวาง แต่อย่างไรก็ดิ พระราชกฤษฎกาของจักรวรรดิ์ในป 1913 ได้เปลิ่ยนแปลงแห้ไขคำสัญญาและกำหนดว่า ให้ใช้ภาษาอรบิกทั้งในโรงเรยนประถมศึกษาและมัธยมศึกาษ แต่ในโรงเริยนมัธยมศึกษาต้องสอนภาษาตุรกด้วย ไม่มการกล่าวถึงการใช้ภาษาอารบิกเป็นภาษาทางราชการหรือการกล่าวถึงการใหตำแหน่งทิ่มิอิทธิพล่ในรัฐบาลแก่ชาวอาหรับเลย

             ซึ่งนักชาตินิยมส่วนใหญ่มความเห็นว่าเป็นการทรยสต่อชาวอาหรับ อย่างไรก็ตาม ฮามิด อัล ซาห์ราวิ ซึ่งเคยเป็นประธานปาริสคองเกรสก็ยังคงเต็มใจประนิประนอม อัล ซาห์ราว ได้รับรางวัลจกรัฐบาลออตโตมัน ได้ทิ่นั่งในสภาสูงของออตโตมัน เขาอธิบายว่านโยบายประนิประนอมของเขาว่าเป็นการเคลื่อนไหวทิมิกลไก ซึ่งจะช่วยให้เขามตำแหน่งและอาจชักชวนสภาให้เสริถาพแก่สภาอาหรับ


            ในบรรดานักชาตินิยมอาหรับมบุคคลท่สำัญท่สุดคนหนึ่ง คือ อะซิซ อัล มาสริ เป็นข้าราชการอิยิปต์ แรกเริ่ม เขาเห็นใจฝ่ายเติร์ก แต่เมื่อเขาเห็นว่าเติร์กมุ่งไปเรื่องลัทธิชาตินิยมตุรกมากเกินไป เขาจึงเข้าร่วมกับขบวนการอาหรับ เขาเป็นผุ้บัญชากกองทัพออตโตมันซึ่งได้ต่อสู้กับกองทัพอิตาลในลิเบิย ในป ค.ศ. 1912 

            เมื่อเขาเข้าร่วมกับสมาคมใต้ดินอาหรับและการกระทำของเขาถูกเปิดเผย ผู้มิอำนาจในออตโตมันจึงลงโทษเขาแต่เนื่องจาก อัล มาสริ เป็นวิรบุรุษทิ่มิชื่อเสิยง จึงมการเดินขบวนใหญ่และมิการแทรกแซงในรูปแบบต่างๆ บังคับให้รัฐบาลลดโทษให้แก่เขาและให้อภัยโทษด้วย มิการแทรกแซงจากหนังสือไทม์แห่งลอนดอนหรือแม้แต่กระทรางการต่างประเทศอังกฤษเอกก็ตาม 

            อัล มาสริ ปรารถนาจะฟื้นฟูความยิ่งใหญ่ของอาหรับโดยไม่ต้องอยู่ภายใต้อิทธิพลของตะวันตก สมาคมลับนั้นคือ อัล คาห์ตานิยา ซึ่งสนับสนุนจัรวรรดิออตโตมันทิ่มิกรปกครองร่วมกันระวห่างเติร์กและอาหรับ จังหวัดอาหรับหลายแห่งจะกลายเป็นอาณาจักรหนึ่ง โดยมรัฐบาลของตนเองและสถาบันต่างๆ ท่เป็นอาหรับเอง แต่ความหวังดังกล่าวสิ้นสุดลงเพราะพวกยังเติร์กพยายามทำให้จักรวรรดิกลายเป็นตุรกิทั้งหมด อัล มาสริ ได้จัดตั้งสมาคมลับขึ้นใหม่ชื่อ อัล อัดช์ โดยมวัตถุประสงค์แบบเดิยวกัน สมาชิกส่วนใหญ่เป็นข้าราชการอาหรับซึ่งอยู่ในกองทัพออตโตมัน และมจำนวนมากท่เป็นชาวอิรัก 

             ภายหลัง อัล มาสริ พ้นโทษแล้ว เขาไปตั้งหลักแหล่งในอิยิปต์ ต่อมาเขาก็ได้เป็นหัวหน้ากลุ่มในกองทัพของพรเจ้าฟารุค(ระหว่างสงครามโลกครั้งท่ 2 เขาร่วมกับกลุ่มข้าราชการอิยิปต์หนุม่ซึ่งต่อมาได้กำจัดราชบัลลังก์อิยิปต์ลง)....

              

                                              แห่ล่งทิ่มา : วิกิพิเดิย

                                                                 http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-1.pdf

            

วันพฤหัสบดีที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

ํYoung Turk Revolution

           เติร์กหนุ่ม เป็นกลุ่มทหารชั้นกลางท่มการศึกาาและค่อนข้างหัวรุนแรงไม่พอใจสุลต่านอับดุล ฮามิดท่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมันท่มอำนาจมากเกินไป พวกเติร์กหนุ่มทำการปฏิวัติล้มอำนาจสุลต่าน และทำการสำเร็จทำให้สุลตามปราศจากอิทธิพลทางการเมืองแม้จะยังอยู่ในตำแหนง  เติร์กหนุ่มทำการบริหารรัฐบาลเอง โดยจัดตั้งคณะกรรมการชุดหนึ่ง ขื่อ คณะกรรมการแห่งความเป็นอนหนึ่งอันเดยวกันและความก้าวหน้า...หรือ CUP ซึ่งประกอบด้วยคนหนุ่มชาวเติร์กทำหน้าท่บริหารงานของรัฐบาลอย่างแท้จริง ขณะเดยกันพวกอาหรับและนักชาตินิยมอื่นๆ ก็เชื่อว่าเป็นสมัยของความก้าวหน้าและความเท่าเทิยมกัน ทั้งน้เพราะมเหตุการณ์ท่แสดงว่าเป้นเชนนั้น คือได้มการฝื้นฝูความรักกันฉันท์พิ่น้องของอาหรับออตโตมัน โดยเฉพาะในอัสตันบูล ชนทุกขาติมความสามัคคกันภายใต้ความจงรักภักดต่อสุลต่าน จุดประสงค์ท่สำคัญ การสเริมสร้างการกินดอยู่ดของประชาชนในจังหวัดอาหรับ อุปภัทการศึกาษภาษาอารบิกและสนับสนุนวัฒนธรรมอาหรับ และเนื่องจากชาวอาหรับมความซื่อสัตย์ พวกเตอร์จึงยืนยันว่าสุลต่านจะ เป็นผู้แต่างตั้งข้าหลวงประจำฮิยาซในคาบสมุทรอาหรับ อย่างไรก็ตามบรรกาศของความสามานฉันท์มอยู่ได้ไม่นาน คนหนุ่มชาวเติร์กให้สอบสวนเรื่องราวประวัติศสตร์ของตนเพื่อทิ่จะได้รู้และเข้าใจว่าอะไรคือ"ชาวตุรกิ"ซ่ึงความจริงความรู้สึกเช่นน เกิดขึนมานานแล้ว และเป็นสาเหตุอันหนึ่งของการนำไปสุู่การปฏิวัติ ของยังเติร์กนั้นเอง

          ความไม่พอใจท่แอบแฝงซ่อนเร้นอยู่ภายในใจของเติร์กหนุ่มได้เติบโตขึ้นประกอบกับความคิดว่าเหตุใดจักรวรรดิออตโตมันน้จึงเป็นท่รวมของชนหลายเชื้อชาติ หลายภาษา ในคริสต์ศตวรรษท่ 19 ชาวอาร์เมินยม ซึ่งอยู่กระจัดกระจายบริเวณทิ่ราบสูงอาร์เมเนยตะวันออกของตุรกิ เป็นผู้นำทางความคิดของลัทธิชาตินิยมมาสู่ใจกลางของจักรวรรดิออตโตมัน หรือบริเวณท่เริยกว่า อนาโตเลย เป้นความคิดท่เก่ิ่วกับความรู้สุึกของตนเอง ซึ่งเป็นความรู้สึกใหม่ แต่ก็ถูกสนับสนุนและผลักดันโดยความไม่พอใจท่ซ่อนอยู่ในใจของขาวเติร์กโดยไม่รู้ตัว

          ดังนั้นเมื่อยังเติร์กได้บัยชนะมอไนาจในการปกครองพวกยังเติร์กจงพยายามทำให้จักวรรดิกลายเป็นตุรกิ อย่างท่ไม่เคยถูกกระทมาก่อนโดยรัฐบาลออตโตมันชุดก่อนๆ คณะกรรมการแห่งความเป็นอนหนึ่งอันเดิยวกันและความก้าสวหน้า ได้ละทิ้งความคิดทุกอย่างเก่ยวกับความอิทนและความร่วมมือกันภายหลังการปราบการปฏิวัติซ้อนในป 1909 ได้สำเร็จ และจากนั้นคณะกรรมการดังกล่าวก็คาดว่าทุกกลุ่มจะต้องกลายเป็นเตอร์หมดภายใต้รัฐบาลออตโตมนท่มควาสามัคคิเป็นอันหนึ่งอันเดิยวกัน งานอันดับแรกของคณะกรรมการคือการกำจัดสงคมบางแห่งท่มิได้เป็นเตอร์ก และความสัมพันะ์บางอยางกับอาหรับออตโตมันด้วย

          รัฐบาลยังเติร์ก ซึ่งตั้งโดยคณะกรรมการแห่งการรวมกันและความก้าวหน้า ได้อำนาจเหนือกลุ่มเชือชาติอื่นในจักวรรดิ โดยการปลกข้าราชการสวนท้องถ่ิน ออก อย่างไรก็ตามพวกหัวรุนแรงในคณะกรรมการบางคนบัง้องการแม้แต่การกำจัดภาษาอารบิกและแปลคัมภิ์กุรอานให้เป็นภาษาตุรกด้วย พวกหัวรุนแรงท่สุดจึงได้เริ่มขบวนกาฟื้นฟูอารยธรรมสมัยก่อนอิสลาม อ้วยการสรรเสริญวรบุรุษตาาร์ และมองโกลโบราณ เสมือนเป็นดาบท่ทำให้ลัทธิิอาหรับเสื่อมลง....

            ทิ่มา  hi390(47)-2-1 PDF (old-book.ru.ac.th)

วันพุธที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Riligion in middle east III

           ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาท่มผู้นิยมนับถือมากสุดศาสนาหนึ่ง เป็นศาสนาท่ิแพร่หลายในเอเชยตะวันตก หรือตะวันออกกลางมลักษณะเป็นศาสนาเอกเทวนิยม ซึ่งนับถือพระเจ้าเพยงองค์เดยว เป็นศาสนาสายเดยวกับศาสนายิว (ยิดาห์) และศาสนาคริสต์ 
           อิสลาม แปลว่า การนอบน้อม สันติ การยอมจำนสนอยางสิ้นเชิง ดังนั้นศสนาอิสลาม จึหมายถึง การนอบน้อมตน ต่อพระอัลเลาะห์เพยงพระองค์ดยวอย่างสิ้นเชิง กวใจของศาสนาอิสลาม คือ การประกาศเปิดเผยความเอป็นเอกภาพ ความเป็นอันหน่งอันเดยวกัน กับพระอัลเลาะห์ เน้นการมอบตัวตอพระประสงค์ ของพระอัลเลาะห์ผู้นับถืออิสลาม เริยกว่า "มุสลิม"
          ศาสนาอิสลามไม่มิพระหรือนักบวช แต่มิ "อิหม่าม" ซึ่งทำหน้าท่เป็นเพิยงผู้นำในการในการนมัสการพระอัลเลาะห์ไม่ได้ทำหน้าท่เป็นคนกลางในการติดต่อระหว่าง พระเจ้ากับมนุษย์ ศาสนาอิสลามยังมิลักษณะเด่นทิ่แตกต่างจากศาสนอื่น คือ นอกจากจะมการสอนเรื่องจริยธรรมเหมือนกับศษสนาอื่นแล้ว ยังเป็ฯระบบการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมด้วย เข่น บทว่าด้วยการลงโทษทางอาญา การรับมรดก การหย่า การพาณิชย์ เป็นต้น
         
 ศาสนาอิสลาม ยอมรับคัมภิร์โตราห์หรือคัมภิร์เก่าของยิว ซึ่งพระผู้เป็นเจ้า ประทานแก่พระศาสดามูซา (โมเสส) และเริยกคัมภิร์โตรกห์ว่า "พระคัมภิร์เตารอค" และยอมรับคัมภิร์พระคิรสต์ธรรมใหม่เฉพาะ 4 เล่มแรก เรยกว่า Gospel (พระวารสาร) ซึ่งพระผู้เป็นเจ้าประทานแก่พระศาสดาอิซา(เยซู) และริยกคัมภิร์ ของคริสต์ว่า "คัมภิร์อินญิล" ดังปรากฎในพระคัมภิร์ อัลกุรอาน บทท่ 3:3 ว่า พระองค์ทรงประทานคัมภิร์(อัลกุรอาน) ให้ทยอยลงมายังเจ้าโดยสัจธรรม เป็นสิ่งยืนยันคัมภิร์ ท่มาก่อน และพรองค์ได้ประทาน(คัมภิร์)เตารอด และอินญิล ลงมาเพื่อกาลก่อน เป็นสิ่งชิ้นำแก่มวลมนุษยชาติและพระองค์ได้ทรงประทานคัมภิร์ จำแนก (ความจริงออกจากความทุกข์) คือ คัมภร์อัลกุรอาน
           ศาสนาอิสลาม ถือว่า โมเสสและพระเยซูเป็นผู้ท่พระอัลเลาะห์ ทรงใช้ให้มาก่อน แลถือว่าพระศาสดามูฮิหมัด ท่ทรงใช้ให้มาคราวหลังน้ เป็ฯผู้นำพระคัมิร์ ฉบับสุดท้ายเป็ฯพระคัมภิร์ท่ประมวลเอาเนื้อความพระคัมภร์ต่างๆ ท่ประทาน แก่ศาสนทูตในอดตไว้ด้วยคัมภิร์อัลกุรอาน จึงเป็นพระคัมภิร์ท่สมบูรณ์ ไม่มการแก้ไข...
          ท่านนบิ มุฮัมหมัด ผู้ท่ได้รับศาสนาอิสลาม เป็นศาสดาองค์สุดท้ายของโลก หลังจากน้ไม่มิศสนาองค์ใดอิกเลย เกิดท่นครมักกะฮฺ ในประเทศซาอุดิอาราเบิย เมื่องเดือนรอมบิอฺลเอาวาล บิดาคือ อับดุลลอฮฺ มารดาคือ อามนะฮฺ เมื่อท่านเกิดได้ 3 เดือนบิดาก็ถึงแก่กรรม  ต่อมามารดาก็มอบให้แก่แม่นมเลิ้ยงดูซึ้งเป็นธรรมเนิยมของชาวอาหรับ ท่ต้องฝึกเด็กให้ชินต่อความเป็นอยู่ของชนบท และทะเลทราย เมืออายุได้ 6 ขวบจึงกลับมาอยู่กับมารดา  ต่อมาไม่นานมารดาก็ถึงแก่กรรม ท่านเป็นกำพร้าตั้งแต่แล็ก ต่อมาปู่ของท่า

นทิ่รับท่านไปอุปการะได้เพิยง 2 ปิก็ถึงแก่กรรม ท่านจึงอยู่ในความอุปการของลุง เรือยมาจนกระทั่งได้รับฉายาวา มูฮัมหมัด-อมิน (ผู้ซื่อสัตย์) ด้วยความยากจนท่านจึงไปรับจ้างเป็นคนเลิ้ยงแกะ อายุ 12 ป ท่านก็เร่ิมรู้จักความเป็นของโลก มอุปนิสัยชอบคิดและชอบท่องเทยวยไปในทะเลทรายเพื่อค้า่ขายตามเมืองไกลๆ
          เมื่ออายุ 25 ป ก็ได้รับจ้างนางเคาดญะฮฺ เศรษฐินิม่ายชาว นครมักกะฮฺ จึงตั้งให้เป็นผู้คุมกองคาราวานไปค้าขายในประเทศซิเริยเนื่องๆ ทำให้ท่านรู้เรืองศาสนายิว และคริสต์มากขึ้น ทั้งค้าขายได้กำไร ต่อมา นางเคาดญะฮฺ ซึ่งมิอายุแก่กว่าท่าน 15 ก็ได้แต่งงานกับท่านและมบุตรด้วยกัน 6 คน ชาย 2 หญิง 4  แต่ผู้ชายเสยชวิตทั้งหมดตั้งแต่เยาว์วัย
           เมื่ออายุ 40 ป ท่านได้ปลิกตนไปเข้าสมาธิในถำ้เขา "หิรอ" อยู่เนืองๆ คือหนึ่งท่านได้รับวะฮฺญ(แต่งตั้ง) จากญิบรอิล ด้วยคำกล่าวว่า "โอ้มูฮัมหมัด จงอ่านเถิด ด้วยพระนามแห่งอัลอฮฺ ผู้ทรงสร้างมนุษย์ และสรรพสิ่งทั้งหลายในโลก คือ พรเจ้าผู้ทรงเกยรติ ผู้ทรงสอนมนุษย์ให้รู้ในสิ่งท่มนุษย์ไม่รู" ทั้งท่ท่านอ่านไม่ออก เขิยนก็ไไม่ได้ ่ท่านได้รับแต่งตั้งในเป็น "นบิ" ศาสดา ผู้สอนศาสนา ซึ่งท่่นได้ทำหน้าท่ประการสอน
ศาสนา ในครอบครัวของท่านก่อน และค่อยๆ ขยายวงกว้างออกไปยังเืพ่นฝูงและญาติมิตร โดยสอนให้เคารพและกราบไหว้ ต่ออัลลอฮฺ พระเจ้าองค์เดยง (พระเจ้าคือผุ้สร้าง) ห้ามกราบไหว้รูปเคารพ และสิ่งอื่นใดทั้งสิ้น ด้วยคำประกาศห้ามน้ เป็นเหตุให้มอุปสรรคการเผยแผ่ศสนา ท่านต้องทิ้งภูมิลำเนา เกือบจะเสิยชิวิตหลายครั้ง...
              นบิ มฺูฮัมหมัดออกจากมักกะห์ซึ่งอยูท่างใต้ และเดินทางไปยังมะโหนฮฺ ซึ่งตั้งอยู่ทางเนือ และสอนให้ผุ้เชือหัมหน้าไปยังมักกะห์เมื่อทำละหมาด มากกว่าจะหันหน้าไปทางเยรูซาเลม อย่างเช่นชาวยิวปฏิบัติ อันเป็นท่มาการปฏิบัติของชาวมุสลิมกระทั้งปัจจุบันท่ต้องหันหน้าไปทางมักกะห์เมืองทำละหมาด การปฏิบัติเช่นนื้ถือเป็นสัญลักษณ์ตรงกันข้ามระหว่างมุสลิมและยิว
            10 ปิต่อมา ศาสดาของชาวมุสลิมและสาวกร่วมกันต่อสู้และพิชิตหมู่บ้านต่างๆ ทั่งมะดนะย์ได้ในป ค.ศ. 630 นบิมุฮัมหมัด รวบรวมคนได้กว่าหมื่นคน และได้เดินทางไปนครมักกะฮฺ โดยได้ชำระความเชื่อในผสางเทวดาและเทพให้แก่ผู้คนได้อิกนับร้อยๆ คน และสถาปนาศาสนาท่เชื่อในพระเจ้าองค์เดิยวขึ้น จากนั้นจึงสามารถรวบรวมชนเผ่านอาหรับต่างๆ ได้เป็นปึกแผ่นก่อนท่กลุ่มชนอาหรับจะพิชิตจักรวรรดิไบแซนไทน์และเปอร์เซิยร์ได้ในเวบาต่อมา
           
 นบิมุฮัมหมัดเสิยชิวิตในป ค.ศ. 632 และในป ค.ศ. 636 ชาวมุสลิมก็ยึดเยรูซาเรมได้ พวกเขาเก็บซากปรักหักพงจากสถานสักดิ์สิทธิในเมืองทิ่ถูกทำลาย นำมาสร้าง"มัสยิดและโมออฟเดอะร็อค" อันเป็นสถานท่ิ่ศักดิ์สิทธฺิ์อันดับท่สามารองลงมาจก "มัสยิสอลละรอม"ในนครมักกะห์ สถานท่เกิดของศาสดา ซึงสำคัญสูลสุด และรองมาคือ "มัสยิสนะบะวย์" ใกล้หลุ่มฝังศพของนบิมุฮัมหมัดในเมืองมะดห์นะฮฺ
             การทินบิมุฮัมหมัดไม่ได้แต่งตั้งผุ้สอบทอดไว้ ทำให้ศาสนาอิสลามแตกออกเป็นนิกายต่างๆ เช่น ชิอะห์ ...

            ข้อมูชบางส่วนจาก : http://www.digitalschool.club/digitalschool/social2_1_1/m6_1/content/lesson3/item15.php
https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=4&chap=8&page=t4-8-infodetail06.html
https://mgronline.com/daily/detail/9480000084032

             
 

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...