วันจันทร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Midle East and Allied Power

           Allied Power หรือฝ่ายสัมพันธ์มิตร คือกรรวมกลุุ่มของประเทศททำการรบต่อต้านกลุ่มหมาอไนกลาง Cental Powers ฝ่ายสัมพันธมิตรหรือฝ่ายภาคในสงครามโลกคร้งท่ 1 เป็นประเทศท่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนากลาง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคิ ได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซย ต่อมา อิตาล เข้าสู่สงครามโดยอยุ่ฝ่ายไตรภาคในป 1915  ญ่่ปุ่นและเบลเยิ่ยม เชอร์เบย กริซ บอนเตเนโกร และหน่วยทหารเชโกสโลวาเกิย เป้นสมาชิกรองของข้อตกลง

"คำประกาศ บัลฟอร์"     

           สงครามโลท่เกิดขึ้นในคาบสมุทรอาหรับ ซิเริย และอิรัก ในสงครามโลกครั้งท่ 1 เป็นการต่อสู้ท่รุนแรงและขมขื่น  ต่อสู้ในระยะทางำกลและพื้นท่กว้างใหญ่ ด้วยกองทัพทัพทิ่ยิ่งใหญ่ แม้จะเตรยมการมาอย่างดหลายปก่อนเกิดสงคราม แต่ในความเปนจิรงเป็นการต่อสู้ในลักษณะปฏิวัติโดยมช้เล่ห์กกลทางทหาร เมษายน ปิ 1915 แนวหน้าอังกฤษยกผลท่แกลลิโลิ ในขณะทิ่เติร์กตั้งมั่นอยู่  อังกฤษตระหนักว่าถ้าจะยึดครองตะวันออกกลางนั้น อังกฤษจะต้องมกองทัพอันยิ่งใหญ่ประจำอยู่ในตะวันออกกลางตลอดเวลาของสงคราม สิงหาคม 1915 กองทัพอังกฤษในภาคใต้ของอิรัก พยายามท่จะยึดแบกแดด แต่ก็ต้องถอยไปสู่เมืองคุต กระทั่ง มินาคม 1917 ด้วยการต่อสู้ท่ิ่ยากลำบากซ฿่งทำให้ทหารทั้งชาวอินเดยและชวอังกฤษม้มตายเป้นจำนวนมาก แต่ในทิ่สุดอังกฤษก็ยคดแบกแดดได้ ในขณะทิ่อิยิปต์ก็มการต่อสุ่อย่างรุนแรง ธันวาคม 1917 อังกฤษยึดเยรูซาเลมได้และใน เดือนตุลาคม 1918 ก็ยึดดามัสกัส เมองหลวงของซเรย

            เมื่อเร่ิมส่งครามอังกฤษคาดว่าสงครามจะไม่รุนแรง แต่ด้วยความรอบคอบ ของอังฏษ ช่วยให้อังกฤษได้รับการสนับสนุนจากท้องถ่ินท่อังกฤษยึดครองได้ และจากข้อเสนิท่อังกฤษทำไว้กับชาริฟ ฮุสเซน แห่งแมกกะ เมื่อป 1914 ก็มส่วนช่วยอยู่มาก

             สัญญษและคำประกาศของฝ่ายสัมพันธมิตรท่ทำกับผุ้แทรจองประชาชนในตะวันออกกลาง ประกอบด้วย

            - สัญญษทอังกฤษทำกับผุ้แทนของฝ่ายอาหรับ โดยมิจุดมุ่งหมายคือให้อาหรับเป็นฝ่ายเดยวกับอังกฤษ และอังกฤษจะช่วยให้อาหรับได้รับสิทธิของตนในตะวันออกกลาง 

             ในระหว่างสงครามได้มีการิดต่อโดย  มีการติดต่อโดยผ่านจดหมายหลายแบับระหว่าง อาหรับและอังกฤษ คือชารีฟ ฮุสเซน แห่งเมกกะ ผู้เป็นข้าราชการภายใต้การปกครองของออตโตมัน และเซอร์เฮนรี่ แมคมาฮอน ข้าหลวงใญ่อังกฤษประจำอียิปต์ เป็นการติดต่อแลกเปลี่ยนนข้อตกลงที่เรียกว่าการติดต่อระหว่างฮุสเซน แมคมาฮอน ซึ่งในจดหมายเหล่านั้นได้บรรจุข้อความเกี่ยวกับการปฏิวัติของอาหรับและการเข้าร่วมสงครามของอาหรับโดยเป็นฝ่ายเดียวกับสัมพันธมิตร จดหมายติดต่อระหว่างฮุสเซนและแมคมาฮอน เป็นสิ่งที่ถูกเพ่งเล็งในรายละเอียดและุูกวิพากษ์วิจารณ์มาก ใไามีการพิมพ์จดหมายเหลบ่านี้อย่างเป็นทางการ  เกิดการล่าช้าในการพิมพ์จดหมายดังกล่าวอยาางเป็นทางการ โดยอังกฤษเพิกเฉพยเป็นเวงากว่า ยี่สิบปี กว่าจะพิมพ์ข้อความทั้งหมดของจดหมาย

            เมื่อสงครามยุติลง ความขัดแย้งเกิดขึ้นทันที เป็นความขัดแย้งเกี่ยวกับข้อความที่กล่าวถึงดินแดนต่างๆ ที่ฮุสเซนต้องการให้เป็นอิสระ แต่แมคมาฮอนเห็นว่าดินแดนเหล่านี้อังกฤยัวมีอิทธิพลอยู่ ได้แ่ก่ อเลปฏป ฮามา ฮอมส์ และดามัสกัส ดดยที่อังกฤษเห็นว่าดินแดนเหล่านี้ไม่ใช่อาหรับบริสุทธิ นอกจากนั้นปาเลสไตน์ ก็จะไม่ถูกรวมอยุ่ในดินแดนที่อาหรับต้องการ อังกฤษยังได้ตกลงกับหัวหร้าอาหรับอื่นๆ ซึ่งได้แก่ เจ้าผู้ครองแห่งคูเวต ไอดริซี เซยิด และซาเบีย ในเอซีร์ และอามีร์ อิบน์ซษอุุดแห่งริยาดห์

            ในขณะเดียกวกัน อังกฤษก็ทำสัญญากับกับฝรั่งเศส และรัสเซีย เป็นข้อตกลงที่เรียกว่า ซิกเคส-ิคอท ตามข้อตกลงดังกล่าวเป็นการพิจารณาถึงส่วนต่างๆ ของตะวันออกกลางซึ่งจะถูกแบ่งออกเป็น 5 ส่วนคือ 

           1 ฝั่งเลอวองทางตะวันออกของเมดิเตอร์เรเนียนซึ่งฝรั่งเรียกร้อง

           2 ดินแดภายในซีเรียฝรั่งเศสจะให้ความช่วยเหลือ

           3 เขตปาเลสไตน์จะทำให้เป็นเขตระวห่ว่างชาติ

           4 ทรานส์จอร์แดน ซ฿่งเป็นดินแดนอาหรับจอยู่ภายใต้อารักขาของอังกฤษและรวมถึงส่วนใหญ่ของอิรักด้วย

           5 แบกแดด และบาซรา จะเป็นดินแดนที่อังกฤษควบคุม



          ฮุสเซนล่วงรู้เรื่องนี้ จึงยื่นข้อเสนอขอให้อังกฤษอธิบายสัญญาดังกล่าว อังกฤษแจ้งว่า ข้อตกลงดังกล่าวนี้เป้นเพียงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งไม่ว่ากรณีใดๆ ก็ตามไม่ถือเป็นเรื่องสำคัญ  ซึ่งอย่างไรก็ตามเมื่อสงครามสิ้นสุดลงสัญญาดังกล่าวก็มีผลต่อซีเรยซ฿่งฝรังเศษต้องการ

            - สัญญาท่ีอังกฤษทำกับผู้แทนของฝ่ายยิว โดย มีความต้องการเหมือนกันคือให้เปนฝ่าเดียวกับอังกฤษ และอังกฤษก็จะช่วยในการสร้างชาติของยิว

              ซึ่งดูเหมือนมีความสำคัญมากที่อังกฤษสัญญาไว้กับไซออนนิสต์ ก็คือ ประกาศบัลฟอร์ ในปี 1817 คำประกาศบัลฟอร์ เป้นคำประกาศเืพ่อ "บ้านเกิดเมืองนอนของยิวในปาเลสไตน์" แทนที่จะกำหนดว่าปาเลสไตน์เป็นบ้านเกิดเมืองนอนของประาชาชนยิว" และคำประกาศนี้ยังกล่าวถึงสิทธิิของผู้ที่มิใช่ยิวปากเลสำตน์ และยิวในที่อื่นๆ จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง ขณะเดียวกันฝ่ายมหาอำนาจกลางก็พยายบามหาหนทางเพื่อขัดขวางความสนับสนุนของฝ่ายสัมพันธมิตตรที่มีต่อไซออนนิสต์ บุคคลสำคัญในหมู่ผุ้สนับสนุนลัทธิไซออนนิสต์ในยุโรปคือ ดร.เคม ไวซืแมน ได้รับการสนับยสนุนจากรัฐมนตรีกระทราวงกลาโหมอังกฤษ คือ มาร์ค ซิกเคช และคนอ่นๆ 

            ดร.ไวซ์แมน พยายามชักชวนบุคคลสำคัญในคณะรัฐบาลอังกฤษให้เห็ฯใจและสนับสนุนไซออนนิสต์ แรกที่เีดยวยิวยุโรปแคลงใจพฤติกรรมของพันธมิตรทั้ง 3 คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซ๊ย ด้วยเหตุผลเดียวกับที่ชาวเตอร์กมองว่ารัสเซียเป็นผุ้ก้าวร้าวอยาางร้ายกาจ ยิวมองว่ารัสเซียเป็นแผ่นดินแห่งการฆ่าหมู่ รัสเซียขับไล่ยิวตะวันออกจำนวนมาก รวมทั้ง ดร.ไวซ์แมน ซึ่งมีผลทำใ้พวกเขาต้องอพยพไปสู่ยุโรปตะวันตก และในยุโรปตะวันตกนี้เองมีบางคนได้อยู่ในฐานะผู้มีอิทธิพล สำหรับในเยอรมนี มีบันทุกของขาวยิวที่กล่าวถึงการปฏิบัติที่ดีของชาวเยอรมันที่มีต่อยิว ยิวแม้จะพบกับความทุกข์ยากแคต่ก็ยังได้รับการยอมรับและเป็นคนนที่มีความสำคัญ และชุมชนยิวทั้งหมดก็ถูกกลืนมากว่าในประเทศอังกฤษของยุดรปในเยอรมนียังไม่มีการฆ่าหมู่ หรือแม้แต่ในฝรัี่งเศสก็ไม่มี เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 เริ่มขึ้นองค์การยิวประกาศตัวเป็นกลางแต่ก็ยังควมีสำนักงานในเยอรมนี

           การปฏิวัติรัสเซียได้เลปี่ยนสาถนการณ์ในรัสเซีย โดยการนำยิวจำนวนมากมาสู่ตำแหน่างที่สำคัญของรัฐบาล ความรู้สึกที่รุนแรงในรัสเซียสำหรับการละทิ้งสงครามได้กลายเป็นชนวนเหตุแห่งการปฏิวัติ (ปฏิวัติรัสเซีย :https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2)

            เนืองจากการปฏิวัติ ปี 1917 รัสเซียถอนตัวจากสงคราม ทั้งฝ่ายอังกฤษและเยอรมันชื่อว่ายิวในรัสเซียเป้นกระทำการในเรื่องนี้ ดังนั้นเยอรมนีจึง แก่มบังคมชาวเติร์ก ให้ยอมแก่ยิวในกาตครอบครองปาเลสไตน์ แต่อย่างไรก็ตามเติร์กไม่ทำตามคำขอร้องนั้น เนื่องจากอาหรับที่เป็นฝ่ายเดียวกับตนในสงครามอาจไม่พอใจ แต่ในที่สุดขณะที่กุงทัพของเติร์ออกจากปาเลสไตน์ก็็นการเปิดโอกาศให้ไซออนนิสต์เข้าสู่ปาเลสไตน์เหมือนตามคำประกาศบัลฟอร์

           ขณะที่เยอรนีสร้างความพยายามที่จะได้รับความสนับสนุนจากยิวอยุ่นั้น อังกฤษก็ต้ยังมีความกังวลเกี่ยวกับปัญหาที่รัสเซียถอนตัวออกจากสงครมและเกี่ยวกับนดยบายความเป็นกลางของอเมริกา อย่างไรก็ตามรัฐบุรุษของอักฤษมีความคิดเห็นว่าคามสนับสนุนของยิวมีความสำคัญมากที่จะสามารถช่วยนโยบายของอังกฤษ ดังนั้นในต้นเดือนมีนาคม 1916 บอร์ เกรย์ จึงแนะนำรัฐบาลรัสเซียและรัฐบาลฝรั่งเศสว่า การที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะได้รับความสนับสนุนจากยิวนั้น ฝ่ายสัมพันธมิตรจะต้องตกลงเป็นฝ่ายเดียวกับไซออนนิสต์ในปัญหาปาเลสไตน์ ทั้งนี้เพราะไม่ว่ายิวในอเมริกา หรือในตะวันออกกลางก็กำลังเจริญเติบโตขึ้นเรื่อยๆ มาร์ค ซิกเคซ คิดว่าการที่อเมริการวางตัวเป็นกลางนั้นกลางนั้นเพราะยิวที่เป็นฝ่ายเดียวกับเยอรมนีนั้นเป็นสาเหตุ นายกรัฐมนตรีอังกฤษลอยด์ จอร์จ สังเกตุว่า ความช่วยเหลือของยิวที่มีต่ออังกฤษนั้นเป็นสิ่งที่มีคุณค่ามาก และมีประโยชน์อย่างยิ่งเมือฝ่ายสัมพัธมิตรกำลังทรุด ด้วยเหตุนี้เอง ลอร์ด โรเบิร์ต เซซิล จึงได้สนับสนุนไซออนนิสต์ให้เรียกร้องปาเลสไตน์ ซึ่งปรากฎออามาในการประกาศคำประกาศบัลฟอร์ ใน ค.ศ. 1917 ผุ้เฝ้าดูเหตุการณ์ที่แท้จริงในขณะนั้นคื อรัสเซีย เยอรมนี และอเมริกา

            พฤษภาคม 1919 มีการอ่านคำประกาศที่เมือง เนบลัส ในปากเลสไตน์ ดังนี้

            "ข้าเจ้า(บัลฟอร์)มีความยินดีมากที่ได้นำข่าวมาบอกแก่ท่าน(ลอร์ด รอธส์ โซลด์) ในรัฐบาลของพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งได้รับการยอมรับดดรรัฐมนตรี: "รัฐาบาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัวได้พิจารณาด้วยความพอใจถึงการสร้างบ้านเกิดเมืองนอนสไหรับชาวยิวในปากลสไตน์ และจะใช้ความพยายามอย่างที่สุดที่จะทำให้วัตถุประสงค์นี้สำเร็จปลได้โดยง่าย เป้นที่เข้าใจอย่างชัดเจนว่า ไม่มีอะไรถูกกระทำ ในลักษณที่เป็นการขัดต่อลัทธิศาสนาและความเป็นอยู่ของชุมชนที่มีใช่ยิว ที่ยังคงอยุ่ในปาเลสไตน์ หรือสิทธิและสถานะทางการเมืองทีพอใจโดยชาวยิวในประเทศอืนๆใด

             ข้าพเจ้าจะภาคภูมิใจมาก ถ้าท่านจะนำคำประกาศนี้ไปสู่สหพันธรัฐไซออนนิสต์" 

            คำประกาศได้รับการยอมรับดดยประะานาธิดีวิลสัน และต่อมาก็ได้รับการับรองดยรัฐบาลฝรั่งเศสและอิตาลี และมีารรับรองยืนยันอีกครั้งหนึ่งที่การประชุม ซาน เรโม ในปี 1920 นอกจากนั้นยังมีการเขียนคำประกาศนี้ในเอกสารแมนเคทสำหรับปาเลสไตน์ รับนรองโยสภาแห่งสันนิบาตชาติ และสภาคองเกรสของอเมริกา ตลอดจนได้รับการยอมรับดดยสำนักวาติกัน ของสันตะปาปาอีกด้วย ในปี 1922  กระทราวงอาณานิคมอังกฤษ ได้ประกาศคำประกาศบัลฟอร์เป็นพื้นฐานของนดยบายในปากเลสไตน์ และไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้

             ประการทิ่ 3 เป็นสัญญาปลีกย่อยทื่อังกฤษทำกับอาหรับ และฝรั่งเศสด้วย

                                                                       ข้อมูลจาก วิกืพิเดิย

                                                                                        http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-1.pdf

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

“rural resentment.”

         บางส่วนจากบทสัมภาษณ์  Jon K. Lauck  ศาสตราจารย์ด้านประวัติศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งมหา วิทยาลัยเซาท์ดาโกตา ซึ่งได้คิดค้นสาขาการศึกษาเก...