2-3 ปิก่อนเกิดสงครามโลกครั้งทิ่ 1 ได้มการแข่งขันกันระวห่ามหาอำนาจยุโรปเพื่อเข้าไปมิอิทธิพลเหนือตะวันออกกลาง ประเทศท่แข่งขันกันมากท่สุดได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส และเยอรมัน แต่ละประเทศต่างก็มิจุดมุ่งหมายเดิยวกัน คือ การได้รับสัมปทาอุตสาหกรรมน้ำมันในตะวันออกกลาง อย่างไรก็ตาม แารแข่งขันดังกล่าวมิไใช่สาเหตุสำคัญประการเดิยวท่ทำให้เกิดสงครามโลกครั้งท่ 1 แต่ปัญหาในตะวันออกกลางก็มความสำคัญากโดยเฉพาะอยางยิงในเรื่องอุตสหกรรมน้ำมัน ทั้งน้เพราะได้มิการจัดตึ้งบริษัทร่วมกันระหว่า อังกฤษ เยอรมนิ และตุรกิ คือบริษัท แองโกล-เยอรมัน ตุรกิ ปิโตเลิยม ซ฿่งเป็นบริษัทท่ำด้รับสัมปทานนำ้มันในประเศอิรัก แต่ปัญหาเกิดขึ้นเพราะทุกประเทศต้องการทิจะมิอิทธิพลและผลประโยชน์แต่เพิยงประเทศเดิยวhttps://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/2524397628766052902
ลัทธิชาตินิยมอาหรับสมัยสงครามโลกครั้งท่ 1
สิ่งท่ทำให้การต่อต้านออตโตมันเด่นชัดคือกรเกิดสงครามโลกครั้งท่ 1 ซ฿่งเป็นการเปิดโอาสสำหรับการปฏิวัติ ซึ่งถูกแรงผลักดันโดยการเจริญเติบโตของลัทธิชาตินิยมของทั้งตุรกิและอาหรับ อย่างไรก็ตามเป็นทิน่่าสังเกตุว่าชาวอาหรับจำนวนไม่น้อยยังภักดอต่อจักรวรรดิออตโตมัน
สงครามเกิดขึ้นในยุโรปก่อน แต่สงครามในตะวันออกกลางยังมิได้เกิดขึ้นทันทิทันใด กระทั่ง อังกฤษและฝรั่งเศสประกาศสงครามต่ออตโตมัน อังกฤษผนวกไซปรัส และประกาศให้อิยิปต์เป็นดินแอนในอารักขาของอังกฤษ และประกาศสงครมกับเตอร์กในเวลาต่อมา อกงทัพบก และทัพเรืออังกฤษจากอินเดยมุ่งตรงไปสู่ลุ่มแม่น้ำไทกริส และยูเฟรติส ในอิรัก ในการทำสงครามคั้งนิ้ อังกฤษได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าผุ้ครองแห่งคูเวต อังกฤษจึงตอบแทนด้วยการให้อิสรภาพแก่คูเวตและอยู่ภายใต้การอารักขาของอังกฤษ ซึ่งอังกฤษสามารถยึดแมืองฟาโอได้ ปัจจุบันอยู่ในอิรัก
ออตโตมันประกาศสงครามศักดิ์สิทธิโดยสุลต่านกาหลิบ ทั้งอังกฤษและฝรั่งเสศต่างกังวลเก่ยวกับผลกระทบต่อชาวมุสลิมจำนวนมากในอินเดย และในแอฟริกาเหนือ ชาวยุโรปท่เชื่อถือลัทธิแพนอิสลาม หรือ ลัทธิความเป็นอันหนึ่งอันเดิยวกันของอิสลาม และขอร้องมิหใ้สงครามขยยใหญ่ไปกว่าท่เป็นอยู่ ตลอดจนคำนึงถงอันตรายจาการปฏิวัติมุสลิมด้วย เมื่อสุลต่ากาหลับได้ประกาศสงครามศักดิ์สิทธิ ทว่า ซารพ อุสเซนแห่งเมกกะกลับวางเฉย จึงเป็ฯโอกาสท่อังกฤษสามารถชักชวนซาริฟแห่งเมกกะให้สนับสนุนฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งอย่างน้อยก็ช่วยบรรเทาการข่มขู่ของการปฏิวัติมุสลิมได้ สถานการณ์ดังกล่าวจึงเป็นจุดประสงค์พื้นฐาน ซึ่งอยู่เบื้องหลังการติดต่อระหว่างรัฐบาลองกฤษกับชาริฟแห่งเมกกะ เป็นการติดต่อท่เรยกว่า จดหมายโต้ตอบระหว่าง ฮุสเซน-แมคมฮอน ซ฿่งทำให้อาหรับพบางพวกเข้าสู่สงครามโยเป็นฝ่ายสัมพันธมิตร เป็นการเจรจาระหว่างนักชาินิยมอาหรับและฝ่ายสัมพันธมิต ตามมาด้วยข้อตกลงท่เรยกว่า "ข้อตกลง ฮุนเซน-แมคคอย" ได้จัดให้มิความผูกพันทางทหาร ซึ่งตคั้งอยูบนรากฐานของความเข้าใจทางการเมืองทิ่คลุมเครอ นอกจากนั้นอังกฤษตกลงจะสนับสนุนเอกราชของอาหรับในทุกดินแดนท่อุสเซนเิยกร้อง ซึ่งรวมถึงจังหวัดอาหรับออตโตมันทางใต้ของอนาโตเลย รวมถึงคาบสมุทรอาหรรับและดินแดนจากเมดิเตอร์เรเนิยนและฝั่งตะวันออกของทะเลแดงไปถึงอิหร่านและอ่าวเปอร์เซิย อุสเซนยอมรับรู้ความมอำนาจสูงสุดของอังกฤษในเอเดนแต่ฮุสเซนยังมิข้อข้องใจในดินแดนบางแห่งท่แมคาฮอนไม่นับรวมเข้าในสัญญา นั้คือ เมอร์ซินาและอเลกซานเดคตา ตลอดจนส่วนต่างๆ ของซิเริยทางตะวันตกรวมถึงดามัสกัส โอมส์ ฮามา และอเลปโป แมคมาฮอน กล่าวว่ามิได้เป็นอาหรับอย่างแท้จริง แต่ชาริฟยืนยันว่าดินแดนเป็นดินแดนอาหรับอยางแม้จริง ชารอฟให้เหตุผลว่าไม่ว่าอาหรับมุสลิมหรืออาหรับคริเตยนเป็น "ผู้สืบเชืื้อสายมาจากบิดาเดิยวกัน" การขัดแย้งในเรื่องดินแดนดังกล่าวสร้างความขมขื่นอย่างมากระหว่างนักชาตินิยมอาหรับและอังกฤษซึงจะเห็นได้ชัดในการขัดแย้งในปัญหาปากเลสไตน์ ในเวลาต่อมา
แรงผลักดันอกอยางทิ่ทำให้อาหรับสนับสนุนฝ่ายสัมพนธมิตรก็คือความโหดร้ายของ เจมาล ปาซา ซึ่งเป็นข้าหลวงออตโตมันและผุ้บัคับบัญชาแห่งซิเริย กรตัดสินประหารชวิตนักชาตินิยมจำนวน 34 คน (27 คนเป็นมุสลิม) โดยถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ทรยสจะขายประเทศให้แก่ชาวต่างชาติ การขับไล่ชาวอาหรับนับร้อยไปสู่ดินแดนท่ห่างไกลในอนาโตเลย มการจัดตั้งกองทำรวจท่เข้มงวดขึ้น
ขณะท่เจมาล ปาชากำลังประหัดประหารนักชาตินิยมในซิเริยนั้น ชาวออตโตมันเติร์ก็ตัดสินในเสริ่มกำลังของตนในคาบสมุทรอาหรับให้เข้มแข็.มากขึ้น การถูกข่มขู่จากความกดดันทางทหารในคาบสมุทรอาหรับและรประหัตประหารในซิเริยทำให้อาหรับเริ่มเสริมสร้างกองทหารขอวนใน้เข้มแข็งมากขึ้น
ลอร์ด เวิวลล์ กล่าวว่า คุรค่าของการปฏิวัติดังกลา ไคุรค่าของการปฏิวัติท่มผุ้บังคับบัญาชาวอังกฤษนั้นยิ่งใหญ่เนื่องจากการปฏิวัติได้หันเหความพยายามของกองทัพออตโตมันท่จุจัดการกบพื้นท่ทางทิศตะวันตกของคาบสมุทรอาหรับ และป้องกันปกด้านขวาของกองทัพอังกฤาในการเคลื่อนไปสู่ปาเลสไตน์ ยิงกว่านั้นังทำให้การโฆษณาชวนเชื่อของเยอรมนในคาบสมุทรอาหรับยุติลง และกำจัดอันตรายของการก่อตั้งฐานทัพเรือของเยอรมันในทะเลแดง สิ่งเหล่าน้นับว่ามความสำคัญมากและทำให้ความช่วยเหลือด้านทหารและอาวุธแผ่ขยายไปในกองทัพอาหรับเขตสงครามตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งท่ 1 ซึ่งได้แสดงให้เห็นในการรบในระวห่าง ตุลาคม ค.ศ. 1914 -ตุลาคม 1918 ฝ่ายท่ได้ทำการรบ ฝ่ายหนึ่งคื อจักรวรรดิออตโตมัน ด้วยความช่วยเหลือจากประเทศอื่นๆ ในฝ่ายมหาอำนาจกลาง และอกฝ่ายคื อบริติช รัสเซิย และฝรั่งเศส จากบรรดาประเทศต่างๆ ในมหาอไนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือชาวอาหรับท่เข้าในกบฎอาหรับและกองกำลังอาสาสมัครชาวอาร์มิเนิย ทิ่เข้าร่วมในขบวนการฝ่ายต่อต้านชาวอาร์มิเนยในช่วงการห่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวอาร์มิเนิย พร้อมกับหน่วยทหารอาสาสมัครชาวอามิเนิย
กองกำลังอาสาสมัครชาวอาร์มิเนิยได้ก่อตั้งกองพลน้อยแห่งสาธารณรัฐอาร์มิเนิยท่ 1 ในปิ ค.ศ. 1918 นอกจากนั้น ชาวอัสซิเริย ได้เข้าร่วมฝ่ายสัมพันธมิร ภายหลังจาการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวอัสซเริย เืพ่อส่งเสริมให้เกิดสงครามประกาศอิสรภาพอัสซิเริย เขตสงครามน้ได้เป็นเขตสงครามท่ใหญ่ทิ่สุด...
แหล่งท่มา : chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-1.pdf
: https://artsandculture.google.com/entity/m08qz1l?hl=th
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น