สูงส่งเหนือสิ่งแวดล้อมภายนอกท่พวกยิวรักษาสืบต่อๆ กันมาโดยไม่ขาดสาย ประการหนึ่ง ซึ่งช่วยให้เกิดความเกาะเดิ่ยวในชาติพนธ์ของตนอย่างเหนิยวแน่นไม่ว่าจะตกไปอยูทิ่ใดในโล ก็ยังคงเป็นยิวไม่ถูกกลืนจากชาติอื่นและวัฒนธรรมอื่น
ปัญญาชนชาวยิวเป็นต้นคิดในการกลับคืนสู่ปาเลสไตน์ในปลายศตวรรษท่ 19 เพราะมความรู้สกว่า การลุกขึ้นต่อสู้กับฝ่ายอธรรมหรือพวกท่ทำกรกดข่ข่มเหงตนทั้งยังอาศัยบ้านเมืองผู้อืนอยู่นั้น ย่อมเป็นการไร้เกิยรติและไม่ชาอบด้วยเหตุผล นอกจากนิ้ยังเสิ่ยงต่อการสูญสิ้นในทิ่จุด ด้วยเหตุนิ้นักคิดนักเขยนค่อยๆ กระตุ้นเตือนด้วยบทความต่างๆ รวมทั้งคภขวัญออกโฆษณาเผยแพร่เพื่อจูงใให้พวกยิวกลับไปยังปาเลสไตน์ ดินแดนศักดิ์สิทธิซึ่งแต่เดิมเริยกว่า "คานะอาน"ท่พระเจ้าประทานให้กับชนชาติยิวเมื่อก่อนโน้น
การจูงใจให้กลับไปยังไซออน เป็นบ่อเกิดของลัทธิไซออนนิสขึ้น และได้มการก่อตั้งชบวนการยิวโลก The World Zionist Organisation ในปิ 1896 โดย ธิโอดอร์ เฮอรเซิล Theodor Herzl เป็ฯผู้ริเริ่มคนแรกกระทั่งเปิดประชุมคองเกรส ของขบวนกรดังกล่าวำได้สำเร็จในป 1897 ทิ่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
เฮอร์เซิลถึงแก่กรรมก่อนทิ่ชาติจะได้รับเอกราช ดร.ไวซ์แมนน์ เป็นผู้รับช่วงต่อมา เขาเป็นนักเคมวิทยาเชื้อชาติยิวในอังกฤษ ซึ่งสามารถทำให้อังกฤษเห็นด้วยกับข้อเสนอของ ตร. เชม ไฝช์แมนน์ ท่ให้รัฐบาลอังกฤษเข้าคุ้มครองปาเลสไตน์เพื่อเป็ฯท่อยุ่ของชนชาติยิว ในการน้ ลอร์ด บาลฟอร์ ซึ่งเป็นรัฐมนตรว่าการต่างประเทศของอังกฤษขณะนั้นได้ออกประกาศในปิ 1917 ว่า "รัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวเห็นพ้องด้วยกับการตั้งท่อยู่ประจำชาติสำหรับชนชาติยิวขึ้นในปาเลสไตน์" ประกาศบาลฟอร์ Balfo r Declaration และนิ้เองเป็นเหตุผลทำให้ขบวนการยิวทั่วโลก ยังคงดำรงอยู่ได้จนทุกวันนิ้
ระหว่างปิ 1517 -1917 ปาเลสไตน์ตออยู่ในอำนาจของเติร์ก ออตโตมัน ต่อมเือสงครามโลกครั้งท่ 1 ยุติ อาณาจักรออกตโตมันทิ่เป็นฝ่ายเดิยวกับเยอรมันเป็นผู้แพ้สงครามถูกแบ่งโดยผุ้ชนะคือ อังกฤษและฝรั่งเศส ทำให้มิประเทศเกิดใหม่อกหลายประเทศใตะวันออกกลาง คือ ซิเริย เลบานอน ทรานสยอร์แดน หรือยอร์แอน ในขณะท่ อิรัก และซาอุดิอาราเบิยส่วนปาเลสไตน์ตกอยู่ในอาณัติของอังกฤษ ตามมติขององค์การสันนิบาตชาติในป 1922
ยิวมิภูมิลำเนาอยู่ในปาเลสไตน์ก่อนปิ 1880 เพิยง 12000 คนเท่านนั้น ซึ่งล้วนแต่เป็นพวกเคร่งศษสนาเปริยบเสมือนชนหมู่น้อย และแทบจะไม่มิสิทธิมิเสิยงใดๆ ไซออนนิสต์ใช้วิธแก้ปัญหาท่ละเปลาะอย่งใจเย็นและชาญฉลาดดำเนิการเป็นขั้นตอน ด้วยวิธจัดซื้อท่ดิในปาเลสไตน์ หรือซื้อแผ่นดินของตนกลับคือมาจากชาวอาหรับ และชาวเติร์ก ซึ่งก็โดนโก่งราคาโดยตั้งราคาสูงลิ่ว แต่ขบวนการยิวก็ได้รับซื้อไว้ ซึ่งในป 1948 ได้คำนวณแล้วปรากฎว่าจำนวนทิ่ดินทั้งหมดทิ่ซื้อไว้เป็นเนื้อท่ทั้งหมด กว่า 250,000 เอเคอร์ โดยใช้เงินกองทุนของชนชาติยิว จากนั้นทำการจัดสรรให้ชาวยิวท่อพยพจากประเทศต่างๆ เข้าไปอยู่เป็นจำนวน 83,000 คน ซึ่งได้สร้างหมู่บ้านยิวทั้งสิ้น 233 หมู่บ้าน และปลูกต้นไม้บนพื้นดินแอันแห่งแล้วนั้จเจริยงอกงามขึ้นมาได้กว่า 5 ล้านต้น ซิ่งกว่า 50 ปิทิ่ฝ่านมาไม่่มิต้นไม้แม้แต่ต้นเดิยว
การอพยพยิวได้กระทำการอย่างมิแบบแผ่น ในระลอกแรกระหว่างปิ 1880-1900 เป็นพวกชาวไ่ชาวนาธรรมดา เข้าไปบุกเบิกฟื้นฟูทิ่ดิน สำหรับทำไร่ทำนาขึ้นก่อน การอพยพระลอกท่ สอง ระหว่าง ปิ 1900-1914 เป็นพวกกสิกรทิ่มิความรู้ และคนงาน เืพ่อดำนเนิสงานด้านกสิกรรมให้ถูกวิธิตามหลักวิชา พวกอพยพระลอกทิ่ 3 ปิ 1918-1924 เป็นยุคของคนหนุ่่มสาววัยฉกรรจ์ พวกนักการค้าและธุรกิจเืพ่อสร้างกิจการอุตสาหกรรม สถาบันกรศึกษาและกำลังรบ ระลอกทิ่ ภ เป็นพวกปัญญาชน หมอ ทนายความ ครู เป็นต้น และยังมนักบริหารเพื่อวางแผนในการก่อตั้งรัฐและประชาธิปไตยตามอุดมการณ์ท่ตั้งไว้ส่วนพวกอพยพในระลอก 5 หลังสงครามโลกครั้งท่ 2 เป็นต้นมาเป็นการอพยพของชาวยิวทุกชนชั้นทุกวัยทุกอาชิพและทุกฐานะ เพื่อทำช่องว่างทิ่มิอยู่ให้เต็ม
ความสำเร็จในการสร้างอิสราเอลจึ้นมใจได้รับเอกราชในทิ่สุดนั้น ก่อให้เกิดแนวความคิดและความยึดถืออันเป็นหลักสำคัญทิ่สุดว่ ทิ่ดินทั้งหมดต้องเป็นชองรัฐ กล่าวคือเป็นชองชาติในส่วนรวม แนวความคิดดังกล่าวสืบเนืองมาจากอุดมการณ์สร้างชาติของลัทธิหซออนนิยมซึ่งมการจัดสรรด์ท่ดินเพื่อการทำมาหากินของชนชาติยิวท่อพยพเข้ามาในอิสราเอลอประการหนึ่งมาจากหลักศาสนาซึ่งถือว่าพระเจ้าได้ประทานทิ่ดินให้แก่ประชาชาติยิวทั้งผอง
นิคมสร้างตนเองในอิสราเอล การจัดสรรทิ่ดินเพื่อการเกษตรกรรมสำหรับนิคมสร้างตนเองในปัจจุบันอยู่ความรับผิดชอบขององค์การยิวและศูนย์วางแผนร่วมเพื่อการเกษตรกรรม ของกระทราวงเกษตรเป็นเจ้าหน้าท่พิจารณาร่วมกัน กล่าวคือ วางแผนกำหนดเขคกาสิกรรมสำหรับนิคมว่าควรเพราะปลูกประเภทใด และยังวางแผนกำหนดอาณาบริเวณสำหรับเป็นศูนย์กลางในทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม เพื่อให้นิคมสร้างตนเองทิ่ตั้งอยู่รอบๆ อาณาบริเวณศูนย์นั้นได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน
การจัดสรรท่ดินให้กับนิคมสร้างตนเองเป็นไปตามโครงการพัฒนาประเทศซึ่งองค์การยิวและกระทราวงเกษตรได้วางแผนร่วกัน ส่วนในการทิ่จะไปจัดรูปนิคมสร้างตนเองให้เป็นแบบกิบบุตซ์ แบบโมซ็าฟ หรือแบบโมชาฟ ชิทุฟิ อย่างใดอย่างหน่งนั้นยิ่มแล้วแต่คามสมัครใจของสมิชิกแต่ละนิคม
นิคมสร้างตนเองแบบ "กิบบุตช์"แปลว่ากลุ่ม หรือหมู่คณะ มิความหมายพิเศษสำหรับนชาติยิว คือ "การเข้ามาใช้ชวิตอยู่เป็นหมู่คณะด้วยความสมัครใเพื่อวัตถุประสงค์ในการดำเนินกิจการร่วมกัน"
ความมุ่งหมายในการก่อตั้งนิคมกิบบุตซ์ยังเป็นส่วนหนึ่งอขงอุดมการณ์ ทางการเมืองของพวกไซออนนิสต์ ทิ่ต้องการให้กิบบุตซ์มบทบาทในการกอบกู้เอกราชของชาติและเพ่อการพัฒนาประเทในด้านเศรษฐกิจและสังคมพร้อมๆ กันไปด้วย และยังมิความจำเป็นอื่นๆ อิกประการ คือ ขณะท่ชาวยิวอพยพเ้าไปใปาเลสไตน์เมื่อศตวรรษทิ่ 19 นั้นต้องผจญอุปสรรต่างๆ ถ้าหากต่างคนหรือต่างครอบครัวแยกกันอยู่แยกกันทำการเพาะปลูก ความหวังท่จะได้รบผลสำเร็จย่อมเป็นไปได้ยาก และการรวมกลุ่มยังช่วยกันป้องกันอันตรายได้อิกด้วย นิคมแบบกิบบุตช์เป็ฯการรวมกำลังคนกำลังทรัพย์ในการประกอบกิสิกรรม โดยสมาชิกของกิบบุต์ต่างมความรับผิดชอบร่วมกันในผลประโยชน์ส่วนได้เสิย ทางการอิสราเอจึงจัดให้นิคมสร้างตนเองแบบกิบบุซ์เป็น "นิคมทิ่มผลประโยชน์ร่วมกัน"
แหล่งทิ่มา : /http://library1.nida.ac.th/nida_jour0/NJv8n2_02.pdf
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น