วันอังคารที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Religion and Society

          

              ศาสนาในสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับสังคมนั้น ขึ้นอยู่กับแกนกลางของสังคม คือตัว
บุคคลหรือสมาชิกของสังคนั้นเอง ซึ่งถือว่าทำหน้ราที่เป็นตัวเชื่ีอมโยงให้สังคมและศาสนาสัมพันธ์กัน บุคคลอยู่ใต้อิทธิพลของศาสนาในด้ารการประพฤติปฏิบัติตามหลักศาสนา ซึ่งแสดงออกมาให้เป็นปรากฎในรูปพฤติกรรมทางศาสนา และในทำนองเดียวกัน บุคคลนั้นๆ ก็เป็นหน่วยหนึ่งของสังคม ซึ่งอาจจะเร่ิมจากตัวบุคคลในครอบครัว จนถึงรวมกันเป็นกลุ่มก้อนอันจัดเป็นสังคมก็ได้ ฉะนั้นศาสนาและสังคม จะสัมพันธ์กันมากน้อยเพีนงไรนั้น จึงขึ้นอยู่กับบุคลลอันเถือเป็นหน่วยหนึ่งทั้งของศาสนาและสังคม ฉะนั้น ศาสนาและสังคมจึงมีความสัมพันะืกัน โดยมีแก่กลางคือตัวบุคคลเป็นสำคัญ 

            อิทธิพลของศาสนาต่อสังคม เป็นที่ทราบแล้วว่าสังคมนัน เป้นเรื่องของการอยุ่ร่วมกัน ทั้งดดยทางะรรมชาติ และโดยการสมัครใจอันขึ้นอยู่กับวิธีการ อันเรื่องของการอยู่ร่วมกันนั้น ก็ต้องมีหลักอันถือเป็นกฎเกณฑ์สำหรับกำกับสังคมให้เป้นไปด้วยความเป้นระเบียบเรียบร้อย และสงบสุของสังคมและหมุ่คณะ เร่ิมตั้งแต่อาศัยกฎธรรมชาติซึ่งได้แก่ขนบธรรมเนียม จารีต แระเพณีต่างๆ ที่มีดดยะรรมชาติ รวมทั้งความสัมพันธ์กับระบบะรรมชาติด้วย อันเป็นเคตรื่องควบคุม กำกับความเป้นไปของสังคม  กระทังสังคาสมได้วิวัฒนาการขึ้นมา ความสัมพันะ์ได้ขยายกว้างออกไปจากเดิม ควมขัดแย้งและความไม่เป็นระเบียบในสังคมก็ได้มีขึ้น จึงจำเป้นอยู่เองที่จะต้งอมีกฎออกมาเพื่อใช้ควบคุม สังคมให้รัดกุมยิ่งขึ้นเพียงใดก็ตาม ความเป็นระเบียบเรยบร้อยและความเป็นไปต่างๆ ของสังคม ก็ยังมีการขันกันภายในสังอยุ่ 

            แม้สังคมจะได้วิวัฒนกรไปมากเพียไร และได้มกฎออกมาสำหรับควบคุมสังคมให้รัดกุมย่ิงขึ้นเพียงได็ตาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความเป็นไปต่างๆ ของสังคม ท็ยังมีการขัดกันภายในสังคมอยุ่  กฎต่างๆ ที่ออกมานั้นสามารถบังคับสังคมโดยเฉาพมทางกายหรือภายนอกเท่านั้น ยังไม่สามารถควบคุมได้เท่าศาสนา และจากการไม่เป็นระเบียบของสังคมนี้เอง เป็นเหตุในศาสนาเข้ามามีอทธิพลในังคม และสังคมเป้นไปด้วยความเรียบร้อย ดดยยอมรับอิทธิพลของศาสนานั้นๆ 

           อิทํพลของศาสราต่อสังคมนั้น จะปราฏำออกมาโดยสังคมได้รับอิทธิพลจากศาสนาวิธีใดวิธีหนึ่ง ทั้งโดยทรง อาทิได้รับอิทธพลจากสษสนาจากการศึกษาอบรมและโดยอ้อม เช่น ทำตัวให้เข้ากับสภาวะของศาสนา เป็นต้น 

             มีคำกล่าวของนักนิติศาสตร์และนักะรรมศาสตร์ชาวตะวันตกท่านหนึ่งว่า "ไม่มีแผ่นดินแอสระในประเทศใดที่กฎหมายไม่มีอำนาจสูงสุด แต่ถึงกระนั้นก็ดี กฎหมาย็เป็นเครื่องปกครองคนได้ไม่สนิทเท่าศาสนา เพราะกฎหมายเป็นเครื่องป้องกันคนมิให้ผิดได้เฉพาะแต่ทางกายกับวาจาเท่านั้น แต่ศาสราย่อมเป็นเครื่องรักษาคนไว้ไม่ให้ทำชั่วได้ทั้งกายวาจา และทางใจ ด้วยที่เีดยว ฉะนั้น ปวงชนที่ยึดมั่นอยู่ในศานาเมื่อจะยึดถือเอาศาสนาเป้นเครื่องปกครองคนดดยเคร่งครัดแล้ว จะต้องไม่กระทความชั่วอันเป็นการล่วงละเมิดกฎหมาย และผิดศีละรรมต่อศาสนาของคนในที่ทั้งปวง" ข้อนี้ แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของศศาสนาที่มีต่อสังคม อันสามรถช่วยให้สังคมดำเนินไปด้วยความเป็นระเบียบเรยบร้อย ซึ่งจะก่อให้เกิดความสงบในสังคม 


            ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนาและสังคม ตามแนว Joachim Wach  ได้กำหนดไว้ อธิบายดังนี้

            ศาสนาในสังคม

            1 โดยการให้นิยามคำว่า ไสังคมวิทยาศาสนาไ น้น เป็นการสึกษาถึงอัตรสัมพันธ์ของศาสนาและสังคาม ทีมีอยู่ต่อกัน จะเป็นในรูปใดก็ตาม เราถื่อว่าสิ่งเล้าหรือแรงกระตุ้นต่างๆ ก็ดี แนวความคิดก็ดี และสถาบันต่างๆ ทางศาสนาก็ดี ถือว่าต่างมีอิทธิพลต่อศาสนาและในทางกลับกันสังคมก็ได้รับอิทธิพลจากสาสนาด้วย ไม่ว่่าจะเป็นอำนาจทางสังคมกระบวนการทางสังคม และการกระจายทางสังคม อันมีรายละเอียดตามความสัมพันธ์ตามลำดับดังนี้

            ศาสนา มีความสัมพันธ์กับบุคคล ตั้งแต่บุคคลแต่ละคน ซึ่งอาจจะเริ่มต้นจากครอบครัวขยายออกสู่ชุมชน และประเทศชาติเป็นต้น เพราะถือว่าความสัมพันธ์นั้นเร่ิมจากสิ่งที่อยุ่ใกล้ตัวเองก่อน แล้วค่อยๆ ขยายออกมาจากครอบครัว 

             ในการจัดระบบทางสังคม ได้รับอทิธพลจากทางศาสนาเป็นส่วนมาก เช่น การจัดรูปแบบการปกครอง รูปแบบสังคม เป็นต้น

              ศาสนามีอิทธิพลสามารถขจัดปัญหาเรื่องชนชั้นได้ ตามความเชื่อถือทางศาสนในทุกสังคม ซึ่งสมาชิกแต่ละคนที่มาร่วมอยุ่ในสังคมเดียวกันนั้น แม้จะมาจากบุคคลที่มีฐานะและชาติชั้นวรรณะต่างกันอยางก็ตาม สามารถรวมกนได้ เพราะอาศัยศาสนาเป็นศุนย์กลาง

               หลักอันหนึ่งของศาสนาที่เป็นศูนย์รวมของสังคม ก้คือการมีพิธีกรรม ในการประกอบพฺะีกรรมประจำสังคมนั้น ต้องอาศัยศาสนาตามที่สังคมนั้นยึดถือปฏิวัติกันมาทั้งนี้เืพ่อช่วยให้เกิดความศักดิ์สิทธิในพิธีกรรมนั้นๆ 

               อิทธิพลอันยั่งยืนอีกอย่างหนึ่งของศาสนาในสังคมก็คือ ช่วยควบคุมสังคมให้เป็นไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย อันเป็นเหตุให้สังคมมีความเป้นอยู่อย่างปกติสุข

               2 ศาสนากับความสัมพันะ์ทางด้สนสภาบันทาสังคมอื่นๆ 

               ศาสนากับการปกครอง ความสัมพันธ์ในข้อนี้ถือเป็นการค้ำจุนค่านิยมของสัคมให้ดำเนินไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย เช่น การออกพระราชบัญญัติควบคุมสังคม เป็นต้น จำเป็นต้องใช้หลักธรรมทางศาสนา หรือหลักจริยะรรมในการบริหารราชการ มาช่วยค้ำจุนในสถาบันทางสังคมนั้นๆ  นอกจากนี้ยังมีศาสนากับการศึกษา ซึ่งทั้งสองอย่างเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม การบวนการเรียนรู้ทางสังคมวิทยา ศาสนากับเศรษฐกิจ เช่นการดำรงชีพตามหลักศาสนา การพอดีในการใช้จ่ายเป็นต้น ศาสนกับครอบครัว เช่นคำสอนเกี่ยวกับการครองเรือนต่างๆ 


              สังคมในศาสนา

              เป้นการจัดรูปแบบของสังคมอยางหนึ่งในด้านการบริหารและปฏิบัติตามพิธีการทางศาสนา อันจัดชนกลุ่มหนั่งที่สังกัดในศาสนา เหรือป็นสาสนิกของศาสนาที่ทำเน้าที่เพื่อสังคม

             ในการจัดรูปแบบของสังคมในศาสนานั้น เพื่อความสะดววกในการบริหารศาสนาและการประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อถือ จึงมีการจัดแดบ่งออกเป็นนิกายต่างๆ ตามความเชื่อถือขงอแต่ละบุคคลในสงคม ตามนิกายที่ตนสังกัด

              การจัดแบ่งโครงสร้างของาสนาออกเป็นนิกายต่างๆ ตามลักษณะความเชื่อถือในศษสนาของสังคมนั้นๆ ซึ่งมีหลายประการด้วยกัน แต่เมือสรุปแล้วทุกนิกายในแต่ละศาสนาจะมีโครงสร้างของศาสนาอันประกอบดวบ กิจกรรมทั้งในทุกระบบของศาสนาน ซ่ึ่งรวมถึงตัวศาสนา นิกาย และสถานที่ประกอบพิธกรรมทางศาสนาด้วย ดดยถือการประกอบพิํธีร่วมกัน ในโบสถ์ อาทิ ในคริสต์สาสนานิยกายต่างๆ การประกอบศาสนกิจนั้นสอดคล้องกับความเป็นระเบียบของสังคมและภาวะเศรษฐกิจด้วย การนำคำสอนของศาสนาไปสู่ชุมชน หรือไปสุ่สังคมภายนอก อันเป็นการประสานประโยชน์ระหว่างศาสนากับรัฐ ระบบนัี้ได้แก่พวกพระ. การแบ่งออกเป็นนิกาย เพื่อค่านิยมของหมู่คณะ เป็นการนำระบบต่างๆ มาดัดแปลงแก้ไขให้ดีขึ้น ให้เหมาะสมกับสังคม  เพื่อแยกกิจการของศาสนาออกจากิจการของบ้านเมืองโดยเด็ดขาดเพื่อให้เป็นอิสระ. ระบบที่ยึดถือคำสังสอนของพระผุ้เป็นเจ้ายิ่งกว่านิกายอื่น และไม่ยอมดดแปลงแก้ไข, และรูปแบบที่เชื่อในหลักปรัญาไม่สนใจว่าใครจะเข้าจะออกจากศาสนา

                                                    แหล่งที่มา http://old-book.ru.ac.th/e-book/s/SO376(54)/SO376-7.pdf


              

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

“rural resentment.”

         บางส่วนจากบทสัมภาษณ์  Jon K. Lauck  ศาสตราจารย์ด้านประวัติศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งมหา วิทยาลัยเซาท์ดาโกตา ซึ่งได้คิดค้นสาขาการศึกษาเก...