ปาเลสไตน์ระหว่างสงครามโลกครั้งีที่ 2
ขณะเดียวกัน สถานการณ์ในยุโรปแสงสว่างกำลังริหรี่ ท้งนี้เพราะในวันที่ 1 กันยายน 1939 สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เกิดขึ้นการเดินทัพของเยอรมันเข้าสู่โปแลนด์ขณะที่สมาชิกขงชุมชนทั้ง 2 กลุ่มสับสนุนรัฐบาลอังกฤต่อต้านเยอรมนี ชาวยิวกว่า 21,000 คน และอาหรับกว่า 8,000 คนได้ให้ความช่วยเหลือกองทัพอังกฤษ แต่ขณะเดียวกันทั้งยิวและอาหรับก็ยังคงเป็นศัตรูกับรัฐบาลท้องถ่ินขงออังกฤษ การเดินขบวนโจมตีรัฐบาลอย่างรุนแรงไม่เคยหยุดหย่อนตลอดเวลาที่เกิดสงคราม
(WWII: https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/3275470437818583157)
ปี 1942 อังกฤษได้ชัยชนะหนอเยอรมัน ในการรบที่ เอล อะลาเมน แต่ส่งที่เกิดขึ้นในปาเลสไตน์คือ การแสดงความเป็นศัตรูของประชาชนเพิ่มขึ้นมาก สมาชุกกลุ่ม สเติร์น แก๊ง Stem Gana ของชาวยิวได้แะทะกับตำรวจ ในปี 1944 ชุมชนยิวพยายามฆ่าข้าหลวงใหญ่ สิ่งก่อสร้างต่างๆ ของรับบาลถูกโจมตี ผุ้บังคับบัญชาการในกองทัพอังกฤษในตะวันออกลางได้กล่าวตำหนิชุมชนเหล่านั้นว่า "พวกหัวรุนแรงกำลังขัดขวางต่อความพยายามของอังกฤษและกำลังช่วยเหลือศัตรู" พฤศจิกายน 1944 รัฐมนตรีต่างประเทศอังกฤษ ถูกสมาชิก 2 คนของกลุ่มสเติร์น แก๊งฆ่าขณะพำนักอยู่ในไคโร ปี 1945 การโจมตีรัฐบาลแะดจมตีกองทัพอังกฤษเป็นอย่างรุนแรง รวมทั้งสิ่งอำนวนความสะดวกในด้านการคมนาคมก็ถูกทำลายด้วย ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าขณะที่ยุโรปหลุดอกมาจากสงครามโลก ปาเลสไตน์ก็เร่ิามทำสงครามอย่างตั้งใจจริง
ความน่ากลัวของสงครามในยุดรปและการฆ่าหมู่ชาวยิวโดยนาซีเยรมัน ทำให้สถานการณืเลวร้ายอยางมากดดยเฉฑาะในปาเลสไตน์ ความโกรธของประชาชนลุกเป็นไฟรัฐบาลอังกฤษถูกตำหนิพราะได้จำกัดการอพยพของยิวตามบันทึกสีขาว และเพราะการตายของชาวยิวนับแสนคน ผุ้ไม่สามมทรถหลบหนีออกจากยุโรปไทันhttps://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/8017788461867951282
https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/410601110201438265
อังกฤษล้มหลวสนการยุตปัญหาปาเลสไตน์ จึงได้รองขอไปยังสหรัฐอเมริกาให้เข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยแก้ปัญหา ทั้งอังกฤษและอเมริกาได้จัดตั้งคณะกรรมการสอบสวนร่วมกันชือ แองโกล-อเมริัน คอมมิตตี สอบสวนความต้องการของชุมชนยิวยุโรป แต่นาซีเยรมันก็ยังทำการเข่นฆ่าต่อไป กรคณะกรรมการนี้ทำงานไม่ได้ รายงานกล่าวว่่า "การตายของมนุษย์ที่มีควาททุกข์ทรมานที่นัี่นยังคงมีอยุ่ต่อไป"
ส่วนในปาเลสลไตน์ คณะกรรมการีร่วมพบว่าการทำงานของคณะกรรมการชุดก่อนของอังกฤษ น่าเชื่อถือได้ กล่าวคือรายงานความเป็นศัตรูของอาหรับที่มีต่อไซออนนิสต์นั้นเป็นจริง อย่างไรก็ตามมีความแตกต่างที่สำคัญขงอสภานกาณ์ในปีทั้ง 2 คือ 1936และ1946 ก็คือฝ่ายยิวมีพลังใหม่เพื่อมากขึ้นอย่างเข้มแข็งและมั่นคง องค์การยิวมีกองทัพที่ไม่เป็นทางการชือ ฮากานาฮ์ ซึ่งคาดว่ามีกำลังกสว่า 60,000 คน คณะกรรมการร่วมรายงานว่า "ยิวมีกองทัพใหญ่โต มีค่าย เต็นท์มากมาย จนมองไม่เห็นพื้นน้ำของทะเลแกลิลร บ้านเรือนถุกครอบครองโยทหาร รถถังเต็มท้องถนน ประชาชนผู้ถูกสงสัยจะถูกจั มีการขว้างระเบิดและยิงกันในเวลากลางคืน"
ในขณะเดียวกันรัฐบาลปาเลสไตน์ ขณะกำลังรอคอยรายงานของคณะกรรมการร่วมก็ได้จัดโควต้าผุ้อพยพพันห้าร้อยคนต่อเดือน และกวดขันลงโทษผุ้โจมตีด้วยอาวุธผู้มีปืนในครอบครองและสมาชิกของกลุ่มหัวรุนแรง
ปี 1946 สภานกรณืในปาเลสไตน์ตึงเครียดอย่างเลวร้ายเป็นการกระทำของยิวคือ กลุ่มคอมมารนโดของฮากานาฮ์ ที่ชื่อ พัลมัช ได้ทำลายสะพาน 9 แห่งในที่ต่างของประทเศ กลุ่มสเติร์นแก๊งของยิวได้โจมตีทางรถไฟในไฮฟา และในคือวันที่ 16 กลุ่มอิร์กัน ของยิวเช่นกันได้ลักพาตัวข้าราชกรกองทัพดอังกฤษจำนวน 6 คน และกักขัะงไว้ รัฐบาลอังกฤษชีว่่าองคึ์การยิวที่ชื่อ ฮากานาฮ์ ใ ในมิถูนายน ปีเดียวกัน รัฐบาลจับกุมสมาชิกคนหนึ่งขององค์การยิวและยึดสำนนักงานใหญ่ตลอดจนทำการค้นและยึดเอกสารได้จำนวนหนึ่ง ประชาชนกว่า สองพันเจ็ดร้อยคนถูกจับ กว่า เจ็ดร้อยคนถูกขังหลังการสอบสวน คาดว่าส่วนใหญ่เป็นสมาชิกของพัลมาช กองทัพอังกฤษพบอาวุธจำนวนมากและยึดมาได้ ในการตอบโต้ อิรฺ์กันจึงได้เผาดรงแรม คิงเดวิด ซึ่งเป็นที่พักอาศัยของตณะทำงานอาวสุโสของรัฐบาลแห่งปาเลสไตน์ขณะเดียวกันในลอดดอน ข้าราชการอังกฤษและอเมริกา ถกเถียงกันถึงความเป็นไปได้ของการแก้ปัญหาปาเลสไตน์ คนเหล่านั้นเห็นด้วยกับการแบ่งปาเลสไตน์ออกเป็นเขตยิวและเขตอาหรับ และให้แต่ละเขตกลายเป็นรัฐรัฐหนึ่ง ซึ่งต่างก็มีอธิปไตย แผนการณืตามความคิดนี้ได้เคยมีความพยายามทำาแล้วเมื่อ สองสามปีที่ผ่านมาโดยข้าราชการอาณานิคมเสมือนป็นหนทางสุดท้าย ดังที่ได้ห็นแล้วว่าได้มีการพิจารณาผนการณ์ในลอนดอน ซึ่งผู้แทนของประเทศอาหรับทั้งหลายพากันคัดค้าน ไม่ว่าจะเป็นยิวในปาเลสไตน์ หรืออาหรับปาเลสไตน์ก็ไม่ยอมรับแผนการณ์ดังกล่าว เป็นที่รู้กันแล้วว่าความต้องการของอาหรับยังคงเหมือนเดิมคือปาเลสไตน์จะต้องเป็นประเทศเอกราชปกครองโดยประชาชนเพื้นเมืองกลุ่มใหญ่(อาหรับ) ขณะเดียวกันชนกลุ่มน้อย(ยิว) ก็จะมีสิทธิของตนด้วย ความต้องการของไซออนนิสต์ก็เช่นกัน คือ ปาเลสไตน์จะต้องเป็นรัฐยิว โดยเปิดโอกาสให้แก่การอพยพของยิวซึ่งควบคุมดยองค์็การยิว
อยางไรก็ตาม อังกฤษมีความพยายามที่จะประนีประนอม ดังนั้นในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 1947 อังกฤษจึงเสนอว่า ปาเลสไตน์ควรถูกปกครองในฐานะดินแดนในภาวะทรัสตีเป็นเวลา 5 ปี โดยให้รัฐบาลท้องถ่ิน มีอำนาจอธิไตย ในพื้นที่ที่มียิวและอาหรับเป็นชนกลุ่มใหญ่ข้อาหลวงใหญ่อังกฤษจะต้องรับผิดชอบในการให้ความคีุ้มครองชนกลุ่มน้อยพร้อมกับผุ้ลี้ภัยอีกประมาณ แสนคน โดยให้เข้าสุ่ปรเทศได้ ในป 2 ปีแรก แต่ปรากฎว่าข้อเสนอนี้ถุกคัดค้านจากฝ่ายอาหรับโดยคณะกรรมการชั้นสูงของอาอาหรับและจากองค์การยิว
ที่มา : /http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-4.pdf