ดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติ เป็นสภานะทางกฎหมายของดินแดนที่ถ่ายโอนจากการควบคุมของประเทศหนึ่งสนุ่ประเทศหนึ่งในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 หรือเป็นข้อตกลงระหวา่งประเทศในการบริหารดินแดนหนึ่งในฐานะตัวแทนของสันนบาตชาติ
รายชื่อดินแดนในอาณัติ ปาเลสไตน์(สหราชอาณาจักร 29 กันยายน 1932 -15 พฤษภาคม 1948. ซีเรีย(ฝรั่งเศส, มโสโปเตเมีย(สหราชอาณาจักร), รวันดา-บุรุนดี(เบลเยี่ยม), แทนกันยีกา(สหรัชอาณาจักร), แคมเมอรูน, โคโกแลนด์, อดีตมนิวกีนีของเยอรมัน กลายป็นเขตการปกครองนิวกีนี(ออสเตรเลีย/สหราชอาณาจักร), บาอุรู ในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของนิวกีนีของเยอรมัน(ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักรและนิวซีแลนด์), อดีตเยอมันซามัว (นิวซีแลนด์/สหราชอาณาจักร), แปวิฟิกใต้ในอาณัติ(ญี่ปุ่น) เซาท์เวสด์แอฟริกา(แอฟริกา/สหราชอาณาจักร)
สันนิบาติโลก เป็นองค์การระหวางรัฐบลทั่วโลกแห่งแรกที่มีการกิจหลักในการปกป้องสันติภาพของโลก ก่อตั้งขึ้นเมือวันที่ 10 มกราคม 1920 ภายหลังจากการประชุมสันติภาพปารีส ซึ่งสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้ยุติลง ในปี 1919 วูโรว์ วิลสัน ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพจากบทบาทของเขาในฐานะผุ้ก่อตั้งสันนิบาต..
ด้วยองค์กานี้ได้เติบโตขยายมากขึ้น ตั้งปี ปี 1934 - 1935 ได้มีสมาชิกถึง 58 สมาชิก ภายหลังจากการประสบความสำเร็จอยางโดดเด่นและบางส่วนก็ล้มเหลวในปี 1920 ในท้ายที่สุด สนันิบาตไม่สามารถขัดขวางความก้าวร้าวของ่ายอักษะ ความน่าเชื่อถือของค์กรลดลง สหรัฐเมริกาไม่เคยเข้าร่วมสันนิบาตและสหภาพโซเวียต ได้เขาร่วในช่วงปลายปีและไม่นานก็ถูกขับหลังจากการรุกรานฟินแลนด์ เยอรมนีได้ถอนตัวออกจากสันนิบาตเช่นกับ ญี่ปุ่น อิตราลี สเปน และอื่นๆ การเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 2 แสดงให้เห็นถึงความล้มเหลวในเป้าหมายกลักของสันนิบาต สันนิบาติได้ดำรงอยู่ 26 ปี สหประชาชาติ (UN)
(https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/1498290396191451449 )ได้เข้ามาแทนที่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง และได้สืบทอดหน่วยงานและองค์กาต่งๆ ที่ก่อตั้งขึ้นโดยสันนิบาติ
การวิเคราะห์การบริหารและการจัดการดินแดนในอาณัติของอังกฤษแปละฝรั่งเสส รวมทั้งผลกระทบของนดยบายรัฐบาลที่มีต่อประชาชนชาวอาหรับในแง่ของเศรษฐกิจ สัง และวัฒนธรรม จะทำให้เกิดควาเข้าใจในการจัดตั้งรัฐสมัยใหม่สในตะวันออกกลางในยุคอาณานิคม และประเด็นปัญหาทางการเมืองและการจัดการโครงสร้างทางสังคมที่เร่ิมปรากฎในยุคเดียวกันแต่ยืดเยื้อยาวนานกระทั้งปัจจุบัน เจมส์ เกลวิน นักประวัติศาสตร์ตะวันออกกลาง ชาวอเมริกา จากมหาวัทยาลัยแคลิฟอร์เนีย อธิบายว่า พรมแดนต่างๆ ใสนแถบเเลอเวน์ เมโสโปเตเมีย และ อะนาโตเลีย เกิดขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ด้วยปัจจัย 2 ประการ กลาวคือ
ระบบดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติ ที่มอบอำนาจให้จักรวรรดิอังกฤษและฝรังเศสแบ่งแยกดินแดนในตะวันออกกลาง กำหนดอาณาเขตและขีดเส้นพรมแอนในรูปแบบเมืองก่อนรัฐ เพื่อปกครองได้อย่างอิสระ โดยมิได้คำนึงถึงความแตกต่างหลากหลายทางชนชาติ และศาสนาของประชากร การก่อตั้งรัฐมัยใหม่ในอีกรุปแบบหนึ่งคือการทำการปฏิวัติระบอบการปกครอง การต่อต้านระบบจักรวรรดินิยม และการพิชิตดินแดน ดังจะเห็นได้จากดินแดนอะนาโตเลียที่ยังคงเป็นปึคกแผ่นเดียวกันเนืองจากรัฐบาลขาตินิยมตุรกี นำโดยมุสตาฟา เคมาล อตร์เกติร์ก ประกาศสงครามประกาศอิสรภาพตุรกี และสู้รบกับตัวแทน่ายสัมพันะมิตร คือ กรีซบนแนวรบด้านตะวันตก และอาร์มีเนียบนแนวรบด้านตะวันออก ตั้งแต่ปี 1919-1922 จนสามารถตั้งเป็นรัฐอิสระ ได้อีกครั้ง
ก่อนที่จะเกิดการตั้งรัฐอิสราเอล ดินแดนปาเลสไตน์ได้เป็นประเด็นที่ขาติมหาอำนาจถกเถียงกันในเรื่องของกรรมสิทธิครบอครองดินแดน โดยที่เาียงส่วนใหญ่ของชาวอาหรับไม่ได้รับการเเหบี่ยวแล
แรงสนับสนุนสิทธิในกาปกครองตนเอง ในขณะที่อังกฤษและฝรั่งเศสต้องการักาาอำนาจอิทธพลทางการเมืองและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจด้วยการรักาาดินแดนอาณานิคมของตน แต่สหรัฐฐอเมริกา ซึ่งเดร่ิมเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี 1917 ได้สนับสนุนให้ดินแดาณารนิคมมีสิทธิในการกำนหดชะตาชีวิตตนเอง ตามหลักการสิบสีข้อของประธานาะิบดีสหรัฐอเมริกา นายวูดโรล์ วิลสัน
การจัดตั้งระบอาณัติ แนวคิดที่ขัดแยงของบรรดามหารอำนาจคลีคลายลงหลังการประชุมสันติภาพที่ปารีส ในปี 191 รัฐบาลต่างๆ ลงนามบริหารดินแดนแห่งนี้ในระบบที่เรียกวา ไดินแดนใต้อาณัต" โดยมีคณะกรรมการจัดการดินแดนใต้อาณัติเป็นผู้ดูแล
มาตรา 22 ของกติกาสันนิชาติชาติ มีส่วนเกี่ยวข้องดดยตรงต่อการจัดตั้งระบบรัฐสมัยใหม่ในตะวันออกกลาง เนื่องจาก่อให้เกิดระบบดินแดนใต้อาณัติที่ตอบสนองความต้องการของอังกฤษและฝรั่งเศสในการรักษาผลประดยชน์ทืางการเมืองและเศรษฐกิจในดินแดนตะวันออกกลาง ซึ่ง สหรัฐอมเริกาก้็ยังสามารถอ้างอิงหลังการ "กำหนดชะตาชีวิตตนเอง" ด้วยการสนัยสนุนให้ประชากรภายใต้ดินแดนอาณัติมีความพร้อมและศักยภาพที่จะปกครองตนเองในอนาคตข้างหน้าหากมีความพร้อม
ชาติมหาอำนาจยุโรปมีอำนาจเด็ดขาดในการจัดการกับภูมิภาคตะวันออกลางดดยแบ่งแยกและรวมดินแดนในภูมิภาคภายใต้อาณัติของตน ซึ่งกำหนดดดยสนธิสัญญาที่ชาวอาหรับไม่มีส่วนรุ้เห็น และไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็นหรือความต้องการปกครองตนเอง ด้วยเหตุนี้ ระบบดินแดนในอาณัติจึงขัดต่อคำแถลงการณื 14 ประการประธานาธิบดีวูดดรล์ วิลสัน คำสัญญาต่างๆ ที่อังกฤษทำไว้กับผุ้นำอาหรับจึงไม่ได้รับการตอบสนอง ขณะที่ข้อเรียกร้องของชาวอาหรับก็ไมได้รับความสนใจ การถ่วงดุลอำนาจของชาติมหาอำนาจยุโรปจึงปิดกั้นโอาสในการพัฒนาการบริหารจัดการและการปกครองตนเองของชาวอาหรับในตะวันออกกลางภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1
รูปแบบการปกครองของชาติมหาอำนาจส่วนใหญ่จะใช้วิธี ไแบ่งแยกและปกคอรง" ซึ่งเป็นการตอกย้ำความแตกต่างระหว่างเชื้อชาติและศาสนา ด้วยเหตุนี้ ถึงแม้แอังกฤษและฝรั่งเศษจะได้รับสิทธิในการปกครองอินแดนตะวันออกกลางอย่าางเด็ดขาด การบริหารจัดการก็ประสบปัญาและอุปสรรคในทุกถื้นที่ เนื่องจากจากการต่อต้านเจ้าอาณานิคมของผุ้นำขบวนการชาิตนิยมอาหรับที่ได้รับอิทธิพลจากแนวคิดการกำนหดชะตาชีวิตตนเองของประธานาธิบดีสหรัฐ..
การปกครองในระบบอาณัติไม่เพียงแต่ปลี่ยนระบบการเมือง เศษฐกิจและสัคมของดินแดนในตะวันออกกลางอย่างลึกซึ้ง แต่ยังทำให้ชาวอาหรับเคียดแค้นและไม่พอใจอำนาจและอิทธิพลของตางชาติที่รุกราน ประวัติศาตร์อันยานานของการรุกรานขากต่างชาติในตะวันออกกลางได้กลายเป็นสาเหตุของการจัดตั้งต่อต้านมหาอำนาจ เช่น ขบวนการชาตินิยม และอิสลามนิยม ซึ่งแต่ละขบวนการล้วนสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมทางการเมืองของโลกอาหรับที่มองว่าตนเองถูกครอบงำโดยชาติมหาอำนาจตะวันตก
ที่มา : https://deepsouthwatch.org/node/11720
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น