วันจันทร์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Palestine : British Mandate of Palestine

           ปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษ

           - รัฐบาลพลเรือน เซอร์ เฮอร์เบิร์ด แซมวบ ข้าหลวงใหญ่คนแรกองรฐบาลอาณัติ ซึ่งเป็นฝ่่ายพลเรือน ได้เปิดให้มีการซื้อขายที่ดินได้ การซื้อที่ดินครั้งแรกกระทโดยมูลนิธิยิวและบริษัทพัฒนาปาเลสไตน์ ที่ดิน ที่ซื้อเป็นพื้นที่รอบหมู่บ้านอาหรับ 7 แห่งในเมืองแกลิลี และท่านเซอร์ยังกลายป็นผู฿้สนับสนุนไซออนนิสต์คนสำคัญในอังกฤษระหว่างเกิดสงครา ได้จดโควต้าการอพยพของชาวยิว กว่าหมื่ือนหกพันคนนปีแรก ซึ่งกอ่นหน้านั้นมีการปะทะกันระหว่างยิวและอาหรัในปาเลสไตน์ ต่อมาปี 1921 ชาวอาหรับขับไล่าวยิวและฝโจมตีหมู่ย้านของชาวยิวการอพยพต้องหยุดชะงัก ชาวอาหรับเกรงว่าเมื่อประชากรยิวเพื่อมขึ้น ในไม่ช้าประเทศยิวจะต้องถุกก่อตั้งขึ้น แต่ในเดื อนต่อมาการอพยพก็ดำเนินต่อไป ปี 1921 ปัญหาปาเลสไตน์ที่เห็นชัดก็คือ รัฐบาลอาณัติของอังกฤษต้องยอมรับถึงความรุนแกรงและยุติการอพยพชัวคราว ในปี 1922 ข้าหลวงใหญ่ขอร้องกระทราวอาณานิคมให้กหนดความหมายที่แน่นอนของคำว่า "เนชั่นแนลโฮม" ซึ่งปรากฎอยุ่ในคำประกาศบัลฟอร์ เซอร์ วินสตัน เชอร์ชิลล์ ซึ่งเป็นรัฐมนตรีกระทรวงอาณานิคมสในขณะนั้นได้ตอบว่าคำประกาศ บัลฟอร์จะยังคงเป็นนโยบายสำคัญของอังกฤษ โดยไม่ได้กำหนดความหมายที่แน่นอนขงคำว่า "เนชั่นแนลโฮม"

         -  ในปี 1922 รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจแยกทรานส์จอร์แดนออกจากปาเลสไตน์โดยถูกต้องตามกฎหมาย โดยให้เหตุผลว่า ทรานส์จอร์แดนไม่อยุู่ในคำประกาศบัลฟอร์ และยิวก็ไม่มสิทธิซื้อที่ดินนี้นด้วย การตัดสินใจของอังกฤษสรางความไม่พอใจแก่ทั้งยิวและอาหรับ ไซออนนิสต์กล่าวว่าทรานส์จอร์แดนมีความสำคัญต่อการก่อตั้งประเท ศบ้านเกิดเมืองนอนขงพวกเขา (ถ้าพิจารณาทางด้านประวัติศาสตร์ ทรานส์จอร์แดนมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อปาเลสไตน์) ฝ่ายอาหรับโต้แย้งว่าการกระทำของอังกฤษมีแนวโน้มที่จะทำให้ฐานะของประชาชนที่อาศัยอยู่ในปาเลสไตน์อ่อนแอลง และกล่าวว่าการกระทำของอังกฤษมีผลทำให้การปกครองตนเองและเอกราชของอังกฤษต้องก้าวหน้าช้ากว่าเดิม

            - การจัดตั้งสภาปาเลสไตน์ ในขณะเดียวกันในปาเลสไตน์ ข้อหลวงใหญ่พยายามจัดจั้งรัฐบาลซึ่งจยะประกอบด้วยทั้งยิวและอาหรับ แต่ก็ล้มเหลว สใน ปี 1923 ข้อหบลวงใหญ่ได้แนะนำให้อาหรับจัดตั้องีค์การอาหรับ เพื่อเป็นตัวแทนของอาหรับและจะได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมของรัฐบาล เหมือนกับฝ่ายยิว แต่อาหรับปฏิเสธ ซึ่งเท่ากับเป็นการปิดโอกาสตัวเองจากการมีส่วนร่วมต่อกิจกรรมต่างๆ ภายในปาเลสไตน์ แม้ในปีต่อๆ มาอาหรับก็ปฏิเสธครั้งแล้วครั้งเล่า โดยอาหรับมีควา คิดว่าถ้าพวกเขายอมรับความในกิจกรรมต่างๆ ของปาเลสไตน์ก็เท่ากับเป็นการยินยอมให้มีการก่อตั้งประเทศยิวได้เร็วขึ้น ดั

            - ความสงบระหว่างปี 1925-1928 อย่างไรก็ตาม ชข่วเวลาดังกล่าวปฏิกิริยาของอาหรับดูจะมองยิวในแง่ดี ทั้งนี้เป็นเพราะปัจจัยหลายประการ อาทิ การเกิดภาวะเศษฐกิจตกต่ำ ประชาชนต่างสนใจกับความเป็นอยุ่ในปัจจุบัน ละเท้ิงความกังวลเกี่ยวกับอนาคต ความไม่พอใจของอาหรับไม่เพิ่มขึ้น มีแนวโน้มที่จะลดลง ในช่วงเวลาดังกล่าวไม่มีการประชุมปาเลสไตน์ อาหรับ คองเกรส และไม่มีการต้อต้านการอพยพของยิว อาหรับสังเกตเห็นว่า แม้ยิวจะแตกออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ยิวที่เป็นไซออนนิสต์ คือ พวกที่ต้องการกลับสู่ปาเลสไตน์ และยิวที่ไม่เป็นไซออนนิสต์ คือ พวกที่ไม่ต้องการกลับสุ่ปาเปลสไตน์ แต่อาหรับก็ทราบดีว่ามีแนวโน้มว่าทั้ง 2 ฝ่ายสามารถสมานรอยร้าวได้ และยังสามารถนำไปสุ่การขขยายตัวขององค์การให้กว้างขวางกว่าเดิมได้อีก

              - การจบาจล 1929 การจลาจลเร่ิมเมืองยิวจำนวนหนึ่งได้เดินขบวนไปที่เวลิง วอลล์ ในเยรูซาเลมพวกเขาชักธงไซออนนิสต์ขึ้น และร้องเพลงชาติไซออนนิสต์ ฝ่ายอาหรับไม่พอใจการกะทำดังกล่าว จึงเกิดการต้อสู้กันขึ้น ความรุนแรงเกิดขึ้นนานถึง 2 สัปกาห์ จำนวนชาวยิวเสียชีวิตกว่า 472 คน อาหรับ 288 คน คณะกรรมการทีไปสำรวจปาเลสไตน์พบว่า "ชาวอาหรับมองดูว่าการอพยพของยิวเป็นการข่มขู่ีวิตพวกเขา ทั้งในปัจจุบันและอนาคต...สินค้ายิวก็แพง แต่การแทรกแซงของยิวก็เป็นสิ่งเลวร้าย..ยิงจะต้องถูกขขับไล่ออกจาแผ่นดินนี้"

                      ในปี 1930 รัฐบาลอังกฤษจได้จัตั้งคณะกรรมการพิเศษภายมต้การนำของ เซอร์ จอห์น โฮบ ซิมสัน เพื่อสำรวจหาสาเหตุสำคัญของความไม่สงบที่ผ่านมา รายงานของคณะกรรมการได้อ้างถึงการอพยพใหญ่ของยิวว่าเป็นสาเหตุสำคัญและเสนอให้มีการจำกัดการอพยพในปีต่อๆ มา




                 -  บันทึกสีขาวของพาสฟิลด์ ค.ศ. 1930 ภายหลังจากที่อังกฤษรับรายงานองคณะกรรมการพิเศษดังกล่าวแล้วำด็ได้ออกบันทึกสีขาว ซึ่งมีสาระสำคัญคือให้จำกัดการอพยพชาวยิวมาสนสู่ปาเลสไตน์ และให้ชาวอาหรับที่ไม่มีที่ดินได้มีโอาสจับจองที่ดินของรัฐบาลมากกวว่ายิวด้วยเหตุึนี้เอง ความรุนแรงจึงเกิดขึ้นดดยปฏิกิริยาโต้ตอบของผุ้นำไซออนนิสต์ทั่วโลกซึ่งประท้วงกระทรวงอาณานิคมของอังกฤษ และนายเชม ไวซ์แมน ประธานขององค์การยิวได้ลาออกจากตำแหน่ง แรมซี่ย์ แมคโดนัลด์ นายักรัฐมนตรีอังกฤษพยายามอธิบายถึงคำจำกัดความของ พาสฟิลด์ ไวท์ เพเพอร์ โดยเขียนจดหมายไปถงไวซ์แมนผ ผู้นำยิว ระหว่างปี 1931 ในจดหมายดังกล่าวนามแมคโดนัลด์ ปฏิเสธการเลิกล้มความตั้งใจที่พัฒนาบ้านเกิดเมืองนนของยิงและยังสัญญาว่าการอพยพของยิวจะยังคงดำเนินต่อไป ส่วนชาวอาหรับ ที่ได้ยอมสละทรัพย์สินของตนให้แก่ชาวยิว จึงจะได้รับที่ดินของรัฐบาล จากคำกล่าวของนายแมคโดนัลด์เท่ากับเป็นการปฏิเสธบันทึกสีขาวฉบับนั้น 

                       ความไม่พอใจเกิดขึ้นทันที่ในหมู่ชาวอาหรับ ฝ่ายอาหรับเรียกบันทึกของพาสฟิลด์ว่าเป็นเอกสารสีดำ นับเป็นครั้งแรกที่อาหรับแสดงความเป็นศัตรู่โดยตรงต่อรับบาลอังกฤษมากว่าต่อยิว ผลที่เกิดขึ้นทั้นทีก็คือ การที่อาหรับคว่ำบาตร ปฏิเสธการทำงานร่วมกับกลุ่มชนยิวในกิจการของจุงหวัด

                       อาหรับเสียเปรียบเพราะไม่มีผุ้แทนที่มีเสียงใรัฐบาล ไม่มีองค์การทางการเมืองที่สสำคัญ ดังที่กล่าวข้างต้น นอกจากนี้อาหรับยังแตกแยกออกเป็นกลุ่มต่างๆ ที่เป็นศัตรูกันอีกด้วย ทำให้การเรียกร้องต่อรัฐบาลประสบปัญหามากมาย ความมุ่งหมายของอาหรับคือเอกรรช การยุติการอพยพ และการจำกัดการขายที่ดิน แต่อาหรับก็ไม่สามารถที่จะกระต้นรัฐบาลการะทำการใดๆ เพิื่อให้จุดมุ่ดมุ่งหมายของตนสำเร็ผลได้ ..


              ที่มา  /http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-4.pdf


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

“rural resentment.”

         บางส่วนจากบทสัมภาษณ์  Jon K. Lauck  ศาสตราจารย์ด้านประวัติศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งมหา วิทยาลัยเซาท์ดาโกตา ซึ่งได้คิดค้นสาขาการศึกษาเก...