วันอังคารที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Palestine : British Mandate of Palestine II

             ปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษ 

            - การประหัตประหารยิวโดยนาซี ในปี 1932 เป็นปีทีนาซีเยรมันขึ้นมามีอำนาจและทำการปัรหัตประหารยิงในเยอรมนีจากความเกลียดชัง ส่งผลให้ ระหส่างปี 1932-1933ชาวยิวอพยพเพ่ิมเป็น 3 เท่าโดยซึ่้งความกลัวยิวของชาวอาหรับก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน ท่าทีของผุ้นำอาหรับแสดงความเป็นศัตรูมากขึ้นต่อรัฐบาลและความกดดันรัฐบาลก็รุนแรงขึ้นในฤดูใบไม้ร่วง ปี 1934 อาหรับแจ้งข้าหลวงวใหญ่ว่าผลประโยชน์และความปลอดภัยของอาหรับได้ถูกทำลาย ใน 1936 ผุ้อพยพชาวยิวครั้งนั้นเท่ากับการอพยพทั้งหมดใน 5 ปี 


                 ในปี 1936 ชุมชนอาหรับปาเลสไตน์เริ่มใช้วิธีการที่รุ่นแรงและโหดร้ายกว่าเดิม การโจมตีเกิดขึ้นระหว่างชุมชนอาหรับและชุมชนยิว ฝ่ายอาหรับจัดตั้งคณะกรรมการปาเลสไตน์ ขึ้นเพื่อรเียกร้อฝงรัฐบาลห้ามการขายที่ดินในแก่ขาวยิว และยุติการิอพยพของยิว พวกอาหรับพากันนัดหยุดงานทั่วไปแต่รัฐบาลก็ยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน ในที่สุดการนัดหยุดงานการจลาจลก็กลายเป้นสงครามกลางเมือง รถไฟ 2 ขบวนตกรางพวกอาหรับกองโจรซึ่งรวมทหารจากซีเรียและอิรักเร่ืิมปฏิบัติานในท้องที่ที่เป็นภู๔เขา ผุ้นำอาหรับจำนวนมากถูกจับขังคุก

                ในปีเดียวกันนั้น ผุ้พิพากษาและข้าราชการอาหรับอาวุโส จำนวน 137 คน ซึ่งอยุ่ในรัฐบาลปาเลสไตน์ ได้เสนอบันทึกความทรงจำแก่รัฐบาลอังกฤา ซึงในบันทึกดังกล่าวได้ชี้ให้เห็นถึาเหตุของความยุ่งยากที่เกิดขึ้น 

                "ประชาชนอหาหรับทุกคน ไม่่วาจะต่างกันในความเชื่อ หรืออาชีพล้วนแต่มีความรู้สึกเหมือนกันว่าพวกคนไม่ได้รับความยุติธรรม ได้รับแต่ความทุกข์ทรมาน ถูกขับไล่ไปสู่ความสิ้นหวัง เมือ่รุ้ว่ารัฐบาลเปิดดหนทางให้แก่ไซออนนิสต์ ความเเชชื่อมั่นของพวกเขาที่มีต่อรับบาลต้องสูญสิ้นไป ในปี 1931เมื่อนายกรัฐมนตรีมีจดหมายไปถึง ดร.ไวแมน กล่าวถึงกาตีความของยันทักสีขาวของปี 1930 ว่าความจริงแล้วการอพยพของยิวยังคงดำเนินต่ไปซึ่งตีความเข่นนี้สร้างความผิดหวังให้แก่อาหรับอย่างมาก"

                 หลังจากนั้น คณะกรรมกรรัฐบาละถูกส่งไปสำรวจหาสาเหตุของความุ่นวายอีก ครั้งหนึ่งในปี 1963 กองทัพประกอบอ้วยทหารจำนวน กว่าสองหมื่นคน ถูกส่ไปปาเลไตน์เพื่อสร้างความปลอดภัยให้แก่ประชาชน ในระยะนี้มีการลงโทษที่รุนแรงโดยเฉพาะผุ้ถูกกล่าวหาวากบฎ จำนวนชาวอาหรับผุ้เสียชีวิตเพี่มมากวาพันคน อย่างไรก็ตาม อามีร์ อับดุลลาห์ แห่งทรานส์จอร์แดน และนายกรัฐมนตรีของอิรักได้ขอร้องให้มีการประนีประนอม แต่รับบาลองกฤษไม่สามารถให้ความประนีประนอมได้ ดังนั้นผุ้ปกครองประเทศอาหรับอื่นๆ จึงแนะนำชาวอาหรับปาเลสไตน์ให้ยุติการจลาจลและให้มองอังกฤว่าเป็นรัฐบาลทีีมีความตั้งใจดีและยุติธรรม ในกลางเดือนตุลาคม อาหรับจึงเลิกนัดหยึดงาน และกองกำลังของพวกเขาก็กระจัดกระจายไป



            - คณะกรรมการสอบสวน ปี 1937 คณะกรรมการสำรวจได้รายงานผลของกการสำรวจถึงสาเหตุของความยุงยากซึ่งถูกตีพิมพ์ สในปี 1937 ดังนี้

                " ความขัดแย้งได้เกิดขึ้นระวห่งชุมชยนแห่งชาติ 2 กลุ่ม ภายในพรมแดนแคบๆ ของประเทศเล็กๆ ขาวอาหรับประมาณ ล้านคน อยู่ในความอลหม่านต่อสู้กับชาวยิวจำนวน 4000'000 คน ชุมชนทั้ง 2 กลุ่มมีความแตกต่างกันอยุ่แล้ว อาหรับเป้นเอเซีย ส่วนยิวแม้จะเป็นเซมิติกเมหือนอาหรับแต่ก็ได้รับอิทธิลของวัฒนธรรมยุโรปไว้มาก ทั้ง 2 ต่างกันทั้งในศาสนาและภาษา วิถีชีวิตทาสังคมและวัศนธรรม ตลอดจนแนวความคิดและการปฏิบัติตนก็ต่างกันทั้งหมดนี้เป้็นอุปสรรคอย่างใหญ่หลวงต่อสันติภาพ..สงครามได้ดลใจอาหรับให้มีความหวังในอิสรภาพ ดละการรวมดลกอาหรับทั้งหมดเข้ากับยุคทองของพวกเขา ในความคิดของอาหรับพวกยิวสามารถครอบครองสภานที่แห่งใดแห่งหนึ่งในอาหรับอิยิปต์หรืออาหรับสเปนเท่านั้นบ้านเกิดเมืองนอน..ไม่สามารถถูกทำให้เก็นครึ่งชาติ..การชัดแย้งเช่นนี้สืยเนื่องมาจากสถานการณ์ภายนอกด้วยความหมายของดินแดนในอาณัติมีแนวโน้เมที่จะยืนยันถึงสิทธิของยิวในการสร้างชาติ ทำให้ความขัดแย้งยิ่งขยายมมทากขึนและขมขื่นมากขึ้น ในตอนแรกความเป็นศัตรูของอาหรับที่มีต่อยิว อยู่ในกลุ่มชนชั้น กลางเท่านั้นแต่ย่ิงนานวันก็ได้ขยายออย่างกวเ้ร้างชวางเข้าไปในหมุ่ชาวนาด้วย และจะแผ่ไปเรื่อยๆ ความตึงเครียดอันเนื่องมาจากความขัดแย้งก็จะดำเนิน่อไป ดูเหมือนว่าสถานการณ์ที่เลวร้ายดังที่เป็นอยู่ก็จะยิ่งเลวร้ายมากไปกว่าเกิดมความขัดแย้งจะดำเนินต่ี่อไปทำให้ช่วงว่างระหวางอหารับและยิวจะเปิดกว้างขึ้นหลายเท่า

            - ข้อเสนอของคณะกรรมการให้แ่งปากเลสไตน์

                      คำแนะนำของคณะกรรมการก็คือ ให้แบ่งปาเลสไตน์ออกเป็น 2 สวนตามกลุ่มชนซึ่งเป็นทางเหือเพียงทางเดี่ยว ทั้งนี้เพราะคณะกรรมการพิจารณาเห็นแล้วว่าทั้ง 2 กลุ่มไม่สามารถอยุ่ร่วมกันได้ รัฐบาลอังกฤษยมรับข้อเสนิของคณะกำรรมการ และประกาสว่าการแบ่งดินแดนเป็นนโยบรายของอังกษอยางแน่นอน ทันที่ที่อังกฤษออกประกาศแผนการณ์ได้มีปฏิกริริยาต่อต้านจากเกือบจะทุกฝ่าย ลอร์ด แซมวล ข้าหลวงใหญ่คนแรกได้เตือนว่าเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ ไซออนิสต์ก็ปฏิเสธแผนการณ์แบ่งแยก ส่วนสันนิบาตชาติแม้จะไม่พอใจนักแต่ในที่สุดก็ยอมรับคำแนนำของรัฐบาลอังกฤษ ส่วนอาหรับขัดขวางอยางแข็งขันต่อแผนการณ์และดูเหมือนว่าพวกตนจะต้องสูญเสียประเทศให้ก่ยิวถ้ามีการแบ่งแยก อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการแบ่งแยกก็จะเดินทาไปปาเสไตน์อีกครั้งหนึ่งเพื่อจะพิจารณาดูอีกครั้งหนึ่งถึงพื้นที่ในการแบ่ง

                    คณะเดียวกันในเดือนกันกัยนายน 1937 ข้าหลวงท้องถินชาวอังกฤษประจำเมืองแกลิลี ูกฆ่าโดยชาวอาหรับหัวรุนแรง ทั้งนี้เพราะอาหรับไม่พอไใจทีเมืองแกลิลีอยู่ภายมค้ข้อเสนอของคณะกรรมกา ซึ่งจะถูกรวมให้อยู่ในดินแดนของยิวถ้ามีการแบ่งภายหลังการฆาตรกรรม 1 สัปกาห์ รัฐบาลอังกฤษมีคำสั่งให้คณะกรรมการอาหรับ เป็นคณะกรรมการนอกกฎหมายพร้อมทั้งคณะกรรมการแห่งชาติทั้งหมดของอาหรับก็ถือว่าผิดกฎหมายด้วย รัฐบาลสั่งให้จับและขับไล่ผู้นำอาหรับ 6 คน จำกัดเงินทุนซึ่งได้ช่วยสนับสนุนกิจกรรมทางการเมืองของอาหรับ ประชาชนเกือบพันคน ถูกกักตัว และอีก 438 คนถุกโจมาตีด้วยระเบิดหรือาวุธปืน และรวมทั้งบ้านเรือนขงอทั้งยิวและอาหรับก็ถูกโจมตีด้วย

                    ส่วนคณะกรรมการของการแบ่งแยก เมือเดินทางมาถึงปากเลสไตน์ ในเดือนเมษายน 1938 เป็นเวลาที่ผุ้นำชุมชนอาหรีับกำลบังถูกกักตัว แต่เป็นครั้งแรกที่ชุมชนอาหรับรวมตัวกันได้กดีอย่งไม่เคยเป็นมาก่อน และไม่มีอาหรับแม้แต่คนเดียวที่ร่วมมือกับคณะกรรมการ รัฐบาลต้องเผชิญหน้ากับความเป็นศัตรุของอาหรับ อย่่างไรก็ตรม ยิวเองก็ไม่พอใจในข้อเสนอของคณะกรรมการและได้ก่อความวุ่นวายขขึ้น แม้จะมียิวที่เป็นตำรวจของรัฐบาลถึง ห้าพันคนก็ตารม แต่สมัยแห่งการให้ความร่วมมือของไซออนนิสต์ที่มีต่อรีัฐบาลก็เพียงระยะเวลาสั้น ในเดือนมิถูนายน ปี 1938 ยิวโจมตีที่ทำการของรัฐบาล ยิงรถุเมล์อาหรับ ระเบิดตลาดอาหรับ มีผลอาหรับ 74 คนเสียชีวิต และอีก 129 คนได้รับบาดเจ็บ ในปีนี้ยิวจำนวนมากถูกตัดสินใจแขวนคอ

                     ระหว่าง ปี 1938 ป็นระยะเวลาของ "เหตุกาณ์แห่งความรุนแรง" ประชาชนมากกว่าหมื่นคนโจมตีกองทัพและสิ่งอำนวยควาามสะดวกของรัฐบาล ประชาชน 2'500 จน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นอาหรับจุีงถูกขับ และพวกกบฎอย่างน้อยพันคนถูกฆ่าโดยตำรวจและกองทัพ คณะกรรมการแบ่งแยกได้เสนอแผนการณ์ 3 อย่างสำหรับการแบ่ง แต่ก็ประสบปัญหาความยุ่งยากด้านการเงิน ดังนั้นจึงจึงังไม่สามารถปฆิบัติตามแผนการณ์ได้ 


                  - การประชุม 1939

                        ความเคลื่อนไหวอันต่อมาของรัฐบาลอังกฤษก็คือ การเรียกประชุมผู้นำอาหรับชั้นกลางและผู้นำยิว โดยจัดให้มีการประชุมที่ลอนดอนในเดือน กุมภาพันธ์ 1939 ในที่ประชุม อังกฤษเสนอให้ทบทวนข้อความในจนหมายโต้ตอบระหว่างอุสเซนและแมคมาฮอนในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปาเลสไตน์ แต่ก็ไม่สามารถตกลงกันได้ รัฐบาลอังกฤษยอมรับว่าสถานกาณ์ของฝ่ายอาหรับเลวร้ายมากกว่าเดิม การประชุมไม่สามารถบรรลุถึงข้อตกลงทั้งผุ้เทนยิวและอาหรับขัดขวางถ้ามีข้อจำกัดใดๆ เกี่ยวกับสิทธิของพวกตน การกบฎอาหรับดำเนินต่อไปในภูเขาแ่หงปาเลสไตน์ โดยได้รับความสนับสนุนจากประเทศอาหรับที่อยุ่รายรอบ ในเวลาเดียวกันการอพยพของยิวทั้งที่ถุกกฎหมายและไม่ถูกกฎหมายที่ถูกเร่งให้เร็วขึ้น

                      รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจเสนอโยบายใหม่ นั้นคือแผนกาณ์ 10 ปีกในการจัดให้ปาเลสไตน์ามีสถาบันที่เป็นตัวแทนของประชาชน และให้มีรัฐธรรมนูญ การอพยพของยิวจะสิ้นสุดลงภายใน5 ปี และการขายที่ดินของอาหรับจะได้รับอนุญาตเพียงภายในพื้นที่ที่ถูกเลือกแบ้วเท่านั้นดังนั้นชุมชนยิวจึงโกรธแค้นอังกฤษ สายส่งวิทยุถูกตัด สำนักงานของรัฐบาลถูกเผา ตำรวจถูกขว้างปาและร้านค้าถูกทำลาย รัฐบาลจึงพบว่าตัวเองอูย่ภายใต้การโจมตีจากทังชุมชยิวและชุมชนอาหรับทันทีทันใด


                   ที่มา : http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-4.pdf

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

“rural resentment.”

         บางส่วนจากบทสัมภาษณ์  Jon K. Lauck  ศาสตราจารย์ด้านประวัติศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งมหา วิทยาลัยเซาท์ดาโกตา ซึ่งได้คิดค้นสาขาการศึกษาเก...