วันเสาร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Middle East and Imperialism II

           คายสมุทรอาหรับ หรือ คาบสมุทรในภูมิาคเอเชียตะวันตกเแียงใต้ และอยู่ระหว่างทวีปเอเชียกับทวีป
แอฟริกา พื้นที่ส่วนมากเป็นทะเลทราย พื้นที่ส่วนนี้เป็นดินแดนสำคัญของตะวันออกกลาง เนืองจากเต็มไปด้วยทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ชายฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรอาหรับติดกับะเลแดง (ส่วนหนึ่งของมหาสุทรอินเดีย) ทาตะวันออกเฉียงเหนือติดอ่าวโอมาและอ่าวเปอร์เซีย 

            นอกจากนี้คาบสมุทรอาหรับยังเป็นถ่ินกำเนิดศาสนาอิสลาม และสิ้นสุดการเป็นเวทีสำคัญของอิสลามในสมัยของกาหลับองค์ที่ 4 คือ อาลี เมือเมืองหลวงของจักวรรดิอาหรับอิสลามย้ายจาก เมดินะในคาบสมุทรไปสู่เมืงคูฟะ (ปัจจุบันอยุ่ในอิรัก) นอกคาบสมุทร แต่คาบสมุทรอาหรับที่มีเมืองสำคัญคือเมกกะก็ยังป็นจุดมุ่หมายของนักแสวงบุญ และเมืองเมดินะซึ่งเป็นรัฐอิสลามแห่งแรกก็ยังคงมีความสำคัญต่อความรุ้สึกทางด้านศาสนาของชาวมุสลิม

             ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เป็นทะเลทรายไม่มีแม่น้ำไหลผ่านมหาอำนาจต่างๆ จึงมีมีความตั้งใจจะครองดินแดนนี้อย่างจริงจัง อังกฤษสนใจคาบสมุทรนี้เพียงวต้องการให้บุคคลที่อังกฤษสนับสนุนคือ ชารีฟแห่งเมกกะ เพื่อว่าชาวอาหรับจะทำสงครามกับพวกเติร์กได้ทั้งในดินแอนเฮจัช ทางทิสตะวันตกของคาบสมุทร ในจอร์แดนและในซีเรียได้ นอกจากนั้น อังกฤษยังได้เซ็นสัญญาตกลงสนับสนุนให้อิบน์ ซาอุด เป็นสุลต่านของแควเ้นเนจด์ ในคาบสมุทรและยัมอบเงินให้พระองค์ จำนวน 5000 ปอนด์ต่อเดือนอีกด้วย

              คาบสมุทรอาหรับภายใต้อิทธิพลอังกฤษ

              ในเวลาเีดยวกันอังกฤษก็กำลังเจรจากับชารีพ ฮุนเซน แห่งจอร์แดน เพื่ออนุญาตให้ชาวอาหรับของระองค์เข้าร่วมสงคราม จากจดหมายโต้ตอบระหว่างฮุสเซนและแมคมาฮอน หรือ ฮุสเซน-แมคมาาฮอน เคอรเรสปอนเดนซ์ อังกฤษทำเช่นนี้เพราะต้องการจำกัดการทำงานของพระองค์จการเข้าแทรกแซงเจ้าอาหรับอื่นๆ ที่มีสัญญากับอังกฤษ ด้วยเหตุนี้เองอังกฤษจึงปฏิเสธที่จะพิจารณายอมรับการเรียกร้องชองอูสเซนที่จะเป็นกณัตริย์ของอาหรับ ขณะเดียวกัน กองทัพอาหรับภายใต้การนำของโอรสของฮุสเซน นามไฟซาล ก็ยึดได้ ดามัสกัส และซ๊เรีย อย่างไรก็ตามในคาบสมุทรอาหรับ อิบน์ ซาอุด แห่งแคว้นเนจด์ได้รับชัยชนะเหนือเดินแดนเฮจัช ทั้งหมด ในปี 1925 และยึดได้ทั้งเมืองตาอีฟ และเมกกะ และยังได้จิดดาห์อีกด้วย มีผลบทำใ้พระเจ้าอาลี แห่งเฮจัช ซึ่งเป็นโอรสองค์โตของฮุสเซนถูกขับไล่ในปี 1927 อังกฤษทำสัญญาจดดาห์ กับ อิบน์ ซาอุด โดยยอมรับว่า อิบน์ ซาอุค เป็นกษัตริยืแห่งเฮจัช และในการตอบแทนอิบน์ ซาอุด จึงยอมรับวา ไฟซาล โอรสอีกองค์ของฮุสเซนเป็นกษัตริย์ของอิรัก อับดูลลาห์เป็นกษัตริย์แห่งทรานส์จอร์แดน และอังกฤษมีฐานะพิเศษคือเป็นผู้ให้ความคุ้มครองอาณาจักรต่างๆ ของหัวหน้าเผ่าในอ่าวเปอร์เซีย

           โดยทั่วไปคาบสทุรอาหรับจะอยู่อย่างสันติ ระหว่รงปี 1927-1961 นอกจาการสงครมาเล็กๆ ระหว่างซาอุดิอาระเบียกับเยเมนในปี 1936 เท่านั้น แต่ในปี 1961 เกิดรัฐประหารในเยเมนเป้นครั้แรกและนำไปสู่สงครามกลางเมือง และในที่สุดกำไปสู่"สครามกลางเมืองพร้อมกับการแทรกแซงจากภายนอก" นั้นคือ กองทัพอียิปต์ขึ้นฝั่งที่เยเมนและชาวซาอุดิอาระเบียไก็ได้ให้คใวามช่วยเหลือขาวเยเมนผุ้จงรักภักดี

            มีเพียงอังกฤษและออตโตมันเท่านั้นที่ีเข้าำปเกี่ยวข้องกับคาบสุมุทรกระทั้งสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 1 เมือผลประโยชน์ในน้ำมันทำให้อเมริกาเข้ามา ด้วยความสนใจเดิมอังกฤษต้องการใช้ภูมิภาคนี้เป็นเส้นทางไปสู่อินเดีย แต่เมืองมีการขุดพบน้ำมสันทำให้ความสนใจของอังกฤษมีมากขึ้น โดยเฎาะบริเวณอ่าเปอร์เซีย ถือว่าเป็นการเชื่อมเส้ทางยูเฟรติสเมดิเตอรเรเนียน และการคมนาคมที่สะด้วยรวดเร็ว

            "เชค"หรือหัวหน้าเผ่าผู้ปกครองอาณจักรตื่างๆ ของคาบสมุทรก็ล้วนอยุ่ภายใต้ความคุ้มครองและอิทธิพลอังกฤษ โดยเฉพาะถอาณาจักรบริเวณอ่าวเปรอ์เซีย อาณาจักรต่างๆ ต่างทำสัญาที่จะไม่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต่างชาติใดนอกจากผ่านอังกฤษก่อน โดยเฉพาะคูเวตนั้นนับจากกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ก็กลายเป็นท่าเรือที่สำคัญในอ่าวเปอร์เซีย ดิ

              พฤศติกายน 1914 เจ้าผุ้ตรองคูเวตได้รับการพิจารรายอมรับจากอังกฤษวาเป็นอิสระดดยอุยุภายใต้การค้ัุมครองของอังกฤษ และใน เมษายน 1915  เจ้าผุ้ครองแห่งแคว้นอาซีร์ ก็ได้รับการยอมรับเช่นเดียวกัน ดินแดนต่างๆ ซึ่งถูกรวมอยุ่ในคาบสทุทรอาหรับฝั่งตะวันตกในนแคว้นเฮจัช ที่ซ฿่ง ชารีฟ ฮุสเซน เร่ิมการปฏิวัติอาหรับแต่ดินแดนเหล่านี้มีความเกี่ยวข้องกับรัฐบาลอินเดีย และเนืองจากฐานะที่สำคัญของดินแดนเหล่านี้ดังกล่าวจึงทำให้อังกฤษมีข้อผุกมันตนเองต่อฮุสเซนผุ้เร่ิมการปฏิวัติอาหรับในดินแดนดังกล่าว

             คาบสมทุรอาหรับภาคตะวันตกเฉพียงใต้ 

             มีความแตกต่างทั้งทางด้านภูมิศาสตร์ละวัฒนะรรมากส่วนอื่นๆ ของคาบสมทุร เป็นดินแดนปกคลุมด้วยภูเขาที่ขยายไปทางทิศตะวันตก ซึ่งได้รับอิทธิพลด้านวัฒนะรรมอย่างลึกซึ้งจากทั้งเอธิโอเปีย อิหร่าน และอินเดีย ซึ่งการเดินทางจากทั้งสามประเทศนี้สามารถไปถภึงดินแดนภาคนี้ได้ดดยทางทะเลในสมัยโบราษณ คาบสมุทรอาหรับทิศศตะวันตกฉียงใต้นี้สนับสนุนประชาชนที่ไม่ใช่อหรับหรืออย่างน้อยก็ไม่ได้รับอารยธรรมอาหรับจากภาคเหนือ ประชาชนพวกไมเนียน และเซเบียน ในดินแดนนี้ได้สร้างอารยธรรมด้านเกษตรกรรม ี่ทันสมัยและการค้าซึ่งขึ้นอยุ่กับการส่งสินค้าออกจำพวกกำยาน ซึ่งได้ทิ้งร่องรอยที่สำคัญสำหรับนักโบราณคดีแม้จะเลือนลางแต่ก็ยังอยุ่ในความทรงจำ ประเทศสำคัญแห่งหนึ่งในดินแดนนี้คอืเยเมนซึ่งได้รับอิทธิพลจากยิวมาก่อนการขึ้นจมาม่ีอำนาจของอาหรับอิสลาม กระทั้งปี 1948-1949 ที่เกิดสงครามระหว่างอาหรับ-อิสราเอล เยเมนก็ได้กลายเป้นสภานที่ที่สำคัญของการเจริยเติบดตของชุมชนที่ยังล้าหลัง..การที่เยเมนรักษาความเป็นตัวเองได้เป็นเพราะเยเมนมีปรการธรรมชาิตคือภูเขาเป็นปกป้องนั้นเอง และที่สำคัญเมืองเอเดน ซึงเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญที่จะเดินทางไปอินเดีย และเป็นจุดเติมน้ำมัน เรอื จึงมีหลายประเทศต้องการจะยึดครอง อย่างไรก็ตามเอเดนเป็นเมืองในอารักขาของอังกฤษ  เยเมนเป็นรัฐที่ใหญ่อันดับ 2 ของคาบสมุทรอาหรับรองจากซาอุดิอาระเบีย 

       


   ผลกระทบที่แท้จริงที่ตะวันตกน้ำมาสู่คาบสทุรอาหรับด้วยจุดประสงค์เพียงอย่างเดียวคือ น้ำมัน ในการตอบแทนที่อนุญาตให้บริษัทยุดรปขุดน้ำมันในทะเลทรายได้นั้นคาบสมทุรก็อาจกลายเป็นอาหรับที่มีวัฒนะรรมตะวันตกกลายเป็นเมืองที่มีเครื่องปรับอากาศ ทางรถไฟ โรงเรียน และโรงพยาบาล ประชาชนยังมันงงกับความร้ำรวยที่มาอย่างรวดเร็วแต่ถึงอย่างไรดินแดนนี้ก็เสียมากว่าได้ เพราะการขาดสความรุ้ความสามารถที่จัดการเกีี่ยวกับรายได้จากความร้ำรวย คุเวต กเองก็มิได้เรียรู้ที่จะลงทุนผลิตน้ำทั้งในและต่างประเทศ ถึงกระนั้นคูเวตก็เป็นประเทศที่ข่วยสร้างเงินทุนเพื่อการพัฒนาภูิมภาคตะวันออกกลางทังหมด


              ที่มา : วิกิพีเดีย

                        http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-3.pdf

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

“rural resentment.”

         บางส่วนจากบทสัมภาษณ์  Jon K. Lauck  ศาสตราจารย์ด้านประวัติศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งมหา วิทยาลัยเซาท์ดาโกตา ซึ่งได้คิดค้นสาขาการศึกษาเก...